งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวและการจัดทำรูปแบบ (Model) การท่องเที่ยว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวและการจัดทำรูปแบบ (Model) การท่องเที่ยว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวและการจัดทำรูปแบบ (Model) การท่องเที่ยว
นายกรองศักดิ์ โอยสวัสดิ์ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน

2 ตัวอย่างการพัฒนาสินค้าชุมชน
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี : ต้องมีสินค้า OTOP : มีของที่ระลึก : มีสำรับอาหาร : มีบริการ : มีการเชื่อมโยง ที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะของชุมชน ตัวอย่างการพัฒนาสินค้าชุมชน

3 แผนธุรกิจชุมชนท่องเที่ยว
1.ประวัติโดยย่อของกิจการ 2.การวิเคราะห์สถานการณ์ของกิจการชุมชนท่องเที่ยว 3.วัตถุประสงค์และเป้าหมายของธุรกิจ

4 แผนธุรกิจชุมชนท่องเที่ยว
4.แผนการจัดการและแผนกำลังคน - โครงสร้างการจัดการ การบริหารชุมชน 5.แผนการผลิต - สินค้า บริการ กระบวนการ ขั้นตอน 6.แผนการตลาด ส่วนผสมตลาด 4 P - กลยุทธ์การตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ช่องทางจำหน่าย และส่งเสริมการขาย 7.แผนการเงิน - ประมาณการลงทุน ประมาณการรายได้ ต้นทุน ค่าบริหาร ค่าแรง กำไร ระบบบัญชี 8.แผนการดำเนินงาน 9.แผนฉุกเฉิน/การบริหารความเสี่ยง

5 แผนธุรกิจชุมชนท่องเที่ยว
10.การออกแบบการจัดโปรแกรมการท่องเที่ยว เช่น 1) มาวันเดียว ใช้เวลา 6 – 7 ชั่วโมง - โปรแกรมการให้บริการ ค่าใช้จ่าย ต้นทุน กำไร 2) มาแบบ 1 วัน 1 คืน - โปรแกรมการให้บริการ ค่าใช้จ่าย ต้นทุน กำไร 3) มาแบบ 2 วัน 1 คืน - โปรแกรมการให้บริการ ค่าใช้จ่าย ต้นทุน กำไร

6

7 รูปแบบ (Model) การท่องเที่ยว. 1. การท่องเที่ยวเชิงเกษตร 2

8 การท่องเที่ยวในพื้นที่ธรรมชาติ
การท่องเที่ยวในพื้นที่ธรรมชาติ ********** ต้องตระหนักถึงผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สอดแทรกการให้ข้อมูลความรู้เชิงอนุรักษ์ ตลอดจนการดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อสร้างงานและกระจายเม็ดเงินไปสู่คนท้องถิ่นเป็นสำคัญ

9  3 โมเดลการท่องเที่ยวไทยอย่างยั่งยืน  ของ  3 สตาร์ทอัพไทย (สตาร์ทอัพ : ธุรกิจที่ทำซ้ำได้และเติบโตแบบก้าวกระโดด)  ถูกปักหมุดจากนักท่องเที่ยวไทยและทัวร์ริสต่างชาติ 1.Local alike (โลคอล อะไลค์)  2.HiveSters (ฮีฟ สะเตอร์)  3.Chaingmaimeesuk Tours (เชียงใหม่มีสุขทัวร์)  

10 1.Local alike (โลคอล อะไลค์) กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่นำเสนอการท่องเที่ยววิถีไทยแบบสร้างสรรค์ ดึงผู้คน ชุมชน และทรัพยากรท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดยลักษณะธุรกิจจะเป็นทั้งผู้ประกอบการเพื่อสังคม (Social Enterprise : SE) และสตาร์ทอัพไปในเวลาเดียวกัน

11 แนวคิด การท่องเที่ยวอย่างเข้าใจธรรมชาติ เข้าใจข้อจำกัดของชุมชน และจัดทำโดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อให้ผลประโยชน์ไปถึงชุมชนอย่างแท้จริง

12 โมเดลธุรกิจ 1) พัฒนาการท่องเที่ยวร่วมกับชุมชนจนกว่าแต่ละแห่งจะทำได้เองทั้งหมด 2) สร้างแพลตฟอร์มหรือตัวกลางขึ้นมา เพื่อช่วยให้ชุมชนเชื่อมโยงกับนักท่องเที่ยวได้โดยตรง 3) ติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการลงไปทำงานร่วมกับชุมชน 4) จัดตั้งกองทุนส่วนกลาง เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาชุมชนในระยะยาว และ 5) การเผยแพร่วิถีชีวิตและภูมิปัญญาของชุมชนให้เป็นที่รับรู้ทั้งในและต่างประเทศ

13

14 HiveSters แม้ลักษณะธุรกิจจะใกล้เคียงกันกับโลคอล อะไลค์ คือเป็นทั้งผู้ประกอบการเพื่อสังคมและสตาร์ทอัพ แต่สิ่งที่ ฮิปสเตอร์ เสริมเติมเข้ามา นั่นคือ การแต้มแต่งสีสันให้กับแหล่งท่องเที่ยว เพิ่มความสนุกสนานผสมผสานการเรียนรู้ และอนุรักษ์ชุมชนท้องถิ่นควบคู่กันไป

15 แนวคิด ส่งเสริม สนับสนุน และจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวท้องถิ่นไทยแบบยั่งยืน ไม่ก่อผลกระทบต่อชุมชน สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบสร้างสรรค์ สนุกสนาน

16 โมเดลธุรกิจ 1) การสร้างแพลตฟอร์มรวบรวมกิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชน ที่สนุก ตื่นเต้น และยั่งยืนทั่วไทยไว้ในที่เดียว หรือ One Stop 2) การเป็นสะพานเชื่อม โดยทำหน้าที่พัฒนากิจกรรมและทำการตลาดให้โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเพื่อสร้างงานและเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน ผู้ประกอบการท้องถิ่น กิจการเพื่อสังคม และเอสเอ็มอี ที่อยู่ในห่วงโซ่การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน 3) ใช้เครื่องมือโซเชียลมีเดีย Youtube, Facebook และ Instragram เพิ่มการเข้าถึงของนักท่องเที่ยวไทยและต่างชาติ

17

18 Chiangmaimeesuk Tours โฟกัสเฉพาะการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ อู่อารยธรรมทางภาคเหนือเท่านั้น แดนดินที่มีความอุดมสมบูรณ์และหลากหลายด้านการท่องเที่ยวมากสุดแห่งหนึ่งของไทย ภูมิทัศน์สวยงามของป่าเขาลำเนาไพร อัตลักษณ์พื้นถิ่น จารีตประเพณี และอาหารการกิน

19 แนวคิด ส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และยั่งยืน โดยเฉพาะปางช้าง หมู่บ้านกลุ่มชาติพันธุ์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ จารีตประเพณี และโบราณสถานทางพุทธศาสนา ของเมืองเชียงใหม่

20 โมเดลธุรกิจ เน้นให้สัมผัสกลิ่นอายแบบ “สโลว์ไลฟ์” เป็นสำคัญ ด้วยการดึงผู้ประกอบการ ชาวบ้าน และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วม เพื่อมอบประสบการณ์วิถีพื้นถิ่นให้กับนักท่องเที่ยว เช่น ขี่ช้างชมไพร นั่งเกวียนท่องหมู่บ้านกลางเขา ล่องแพในแม่น้ำไหลเอื่อย การประกอบอาหารร่วมกับชาวเขาเผ่าต่างๆ รวมไปถึงการถ่ายทอดเรื่องราวของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น จารีตประเพณีของชาวล้านนาที่สืบต่อกันมายาวนานนับพันปี นอกจากนี้ ยังบรรจุโปรแกรมแนวแอดเวนเจอร์ การปีนเขา และโหนสลิง (Zipling) ไว้สำหรับนักท่องเที่ยวที่ชอบความท้าทายไว้อีกทาง  

21

22


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวและการจัดทำรูปแบบ (Model) การท่องเที่ยว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google