งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การหาคุณภาพของแบบทดสอบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การหาคุณภาพของแบบทดสอบ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
โดย ดร.ผดุงชัย ภู่พัฒน์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

2 คุณสมบัติของแบบทดสอบที่ดี
1. ความเที่ยงตรงหรือความตรง (Validity) 2. ความเชื่อมั่นหรือความเที่ยง (Reliability) 3. ความเป็นปรนัย (Objectivity) 4. ความมีอำนาจจำแนก (Discrimination)

3 5. ความยากพอเหมาะ (Difficulty)
6. ความยุติธรรม (Fairness) 7. ความลึกซึ้ง (Searching) 8. ยั่วยุ (Exemplary) 9. มีประสิทธิภาพ (Efficiency)

4 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ
การวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำ Test Blueprint เขียนข้อสอบ Logical Review หาคุณภาพก่อนใช้ ทดลองใช้แบบทดสอบ Empirical Review วิเคราะห์ผล Item & Test Analysis คัดเลือกข้อสอบเข้าคลังข้อสอบ

5 2. การหาความตรงเชิงเนื้อหา
ความสอดคล้องระหว่าง ข้อสอบกับจุดประสงค์

6 วิธีการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา
วิธีการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา ใช้ดุลยพินิจของผู้เชี่ยวชาญ(Judged by Specialist) การหาดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับ จุดประสงค์การเรียนรู้ สูตร IOC = SR N

7 ขั้นตอนการวิเคราะห์ 1. นำจุดประสงค์และข้อสอบที่วัด
จุดประสงค์ข้อนั้นๆไปให้ ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา

8 +1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ตรง ตามจุดประสงค์
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ตรง ตามจุดประสงค์ -1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ไม่ตรง ตามจุดประสงค์

9 2. บันทึกผลการพิจารณาลงความคิดเห็นของ
ผู้เชี่ยวชาญแต่ละคน แต่ละข้อ * รวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมดเป็นรายข้อ (SR ) 3. แทนค่าลงในสูตร ได้ค่า IOC เป็นรายข้อ

10 4. แปลความหมายค่าดัชนี IOC IOC มากกว่าหรือเท่ากับ + 0.5
5. เลือกข้อสอบที่มีความตรงเชิงเนื้อหา

11 ระยะของ การพัฒนาข้อสอบ
ระยะของ การพัฒนาข้อสอบ นำผลสอบของผู้เข้าสอบมาวิเคราะห์ เพื่อที่จะหาค่าดัชนี (Index) แสดง คุณภาพของข้อสอบว่าเหมาะสมเพียงใด

12 ความยาก (Difficulty) P ที่เหมาะสม 0.20 - 0.80
เป็นค่าแสดงร้อยละหรือสัดส่วนของผู้ที่ตอบข้อนั้นถูก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์“P” P มีค่าตั้งแต่ หรือ P ที่เหมาะสม

13 สูตร . . . p = ค่าความยาก R= จำนวนคนที่ตอบถูก N = จำนวนคนทั้งหมด

14 ค่า p แปลความหมาย ตีความหมาย
ผู้สอบตอบถูก 100% เป็นข้อที่ง่ายมาก หรือทุกคนตอบถูกหมด ผู้สอบตอบถูก 0% เป็นข้อที่ยากมาก หรือทุกคนตอบผิดหมด ผู้สอบตอบถูก 50%หรือตอบ เป็นข้อที่ยากปานกลาง ถูกครึ่งหนึ่งตอบผิดครึ่งหนึ่ง หรือพอเหมาะ ผู้สอบตอบถูก 80% เป็นข้อที่ค่อนข้างง่าย ผู้สอบตอบถูก 20% เป็นข้อที่ค่อนข้างยาก ค่า p แปลความหมาย ตีความหมาย

15 ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination)
ประสิทธิภาพในการจำแนกผู้ตอบเป็นกลุ่มสูงกับกลุ่มต่ำ เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ “ r ” r มีค่าตั้งแต่ ( ) + - r ที่เหมาะสม r > 0.20

16 สูตร

17 r หมายถึง ค่าอำนาจจำแนก
H หมายถึง จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มสูง L หมายถึง จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มต่ำ N หมายถึง จำนวนคนทั้งหมด

18 ค่า r แปลความหมาย ตีความหมาย
กลุ่มสูงตอบถูกหมดและ จำแนกได้อย่างสมบูรณ์ กลุ่มต่ำตอบผิดหมด กลุ่มต่ำตอบถูกหมด จำแนกตรงกันข้ามได้ และกลุ่มสูงตอบผิดหมด อย่างสมบูรณ์ กลุ่มสูงและกลุ่มต่ำตอบ จำแนกไม่ได้ ถูกเท่ากัน กลุ่มสูงตอบถูกมากกว่า จำแนกได้ค่อนข้างสูง กลุ่มต่ำ กลุ่มสูงตอบถูกมากกว่า จำแนกพอใช้ได้ กลุ่มต่ำเล็กน้อย

19 การหาค่าความเที่ยง (Reliability)
วิธีของคูเดอร์-ริชารด์สัน (Kuder - Richardson) KR - 20

20 สวัสดี วั วั ดี ดี


ดาวน์โหลด ppt การหาคุณภาพของแบบทดสอบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google