ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAnna Turek ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20
2
การแก้ระบบสมการโดยการใช้อินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์
3
1. การแก้ระบบสมการโดยการใช้อินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์
กำหนดระบบสมการเชิงเส้น 𝑎 11 𝑥 1 + 𝑎 12 𝑥 2 ⋯ + 𝑎 1𝑛 𝑥 𝑛 = 𝑏 1 𝑎 21 𝑥 1 + 𝑎 22 𝑥 2 ⋯ + 𝑎 2𝑛 𝑥 𝑛 = 𝑏 2 ⋮ 𝑎 𝑛1 𝑥 1 + 𝑎 𝑛2 𝑥 2 ⋯ + 𝑎 𝑛𝑛 𝑥 𝑛 = 𝑏 𝑛
4
สามารถเขียนระบบสมการในรูปเมทริกซ์ได้เป็น AX = 𝑎 11 𝑎 21 ⋮ 𝑎 12 𝑎 22 ⋮ 𝑎 𝑛1 𝑎 𝑛2 ⋯ ⋯ 𝑎 1𝑛 𝑎 2𝑛 ⋮ ⋯ 𝑎 𝑛𝑛 𝑥 1 𝑥 2 ⋮ 𝑥 𝑛 = 𝑏 1 𝑏 2 ⋮ 𝑏 𝑛 =B …………...(1) โดยที่ A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน (det(A) ≠0) นำ 𝐴 −1 คูณทั้งสองข้างของสมการ (1) จะได้ว่า A −1 (AX) = A −1 B ( A −1 A) = A −1 B I n X = A −1 B X = A −1 B ดังนั้น A −1 Bเป็นคำตอบของระบบสมการเชิงเส้น
5
(*)……..1. การตรวจสอบว่า A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานให้ดูจาก det(A) ≠ 0
สรุปได้ว่า ถ้า AX = B เป็นระบบสมการเชิงเส้นโดยที่ A = [ 𝑎 𝑖𝑗 ] 𝑛×𝑛 เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานแล้วระบบสมการเชิงเส้นนี้จะมีคำตอบเพียงคำตอบคือ x = 𝐴 −1 B (*)……..1. การตรวจสอบว่า A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานให้ดูจาก det(A) ≠ 0 2. การหา 𝐴 −1 ให้หาจากสูตร 𝐴 −1 = 1 det(𝐴) ×adj A
6
ตัวอย่างที่ 1จงแก้สมการเชิงเส้น x + 2y = 4 2x + 3y = 7 วิธีทำAX = B 𝑥 𝑦 = 4 7 𝐴 −1 (AX) = 𝐴 −1 B ( 𝐴 −1 A) = 𝐴 −1 B X = 𝐴 −1 B จะได้เมทริกซ์ คือ AX = B 𝑥 𝑦 = 4 7
7
เนื่องจาก det (A) = -1 ≠ 0 ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน จะได้ 𝐴 −1 = 1 −1 3 −2 −2 1 = − จาก X = 𝐴 −1 B = − = − − 7 = 2 1 ดังนั้น คำตอบของระบบสมการคือ x = 2 และ y = 1 หรือ ( 2,1 )
8
ตัวอย่างที่ 2จงแก้ระบบสมการ x + y + z = 10 3x + z = 13 y + 2x – z – 9 = 0 แปลงค่า x + y + z = 10 3x+ z = 13 2x + y – z = 9 วิธีทำ จะได้เมทริกซ์ คือ AX = B −1 𝑥 𝑦 𝑧 =
9
det (A) = − = ( ) – ( (-3)) = 5 – (-2) = 5+ 2 = 7 ดังนั้น det (A) คือ 7 เนื่องจาก det (A) ≠0 ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน
10
จาก CO-A = −1 − − − − −1 − − CO-A = − − −3 adj A = − − −3
11
หา 𝐴 −1 จาก 𝐴 −1 = 1 det 𝐴 adjA 𝐴 −1 = 1 7 − − −3 = − − −3 7
12
ดังนั้น 𝐴 −1 คือ − − −3 7 หา x ได้จาก X = 𝐴 −1 B = − − −
13
= −1 7 (10) 5 7 (10) 3 7 (10) 2 7 (13) 1 7 (9) −3 7 (13) 2 7 (9) 1 7 (13) −3 7 (9) = − − −27 7
14
ดังนั้น X = 𝐴 −1 B = ดังนั้น คำตอบของระบบสมการคือ x = 25 7 ,y = 29 7 , 𝑧= 16 7 หรือ ( 25 7 , 29 7 , 16 7 )
15
แบบฝึกหัด จงแก้ระบบสมการเชิงเส้นต่อไปนี้ โดยใช้อินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์ 1.จงแก้ระบบสมาการ 3x – 6y = 2 5x + 4y = 1 2. จงแก้ระบบสมาการ x + y - z = -1 4x - 3y + 2z = 16 2x - 2y - 3z = 5
16
เฉลยแบบฝึกหัด 1.จงแก้ระบบสมการ 3x – 6y = 2 5x + 4y = 1 วิธีทำ 3 −6 5 4 𝑥 𝑦 = 2 1 เนื่องจาก det (A) = 12 - (-30) = 42 ซึ่งไม่เท่ากับ 0 ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน
17
จะได้ 𝐴 −1 = −5 3 = − = − ดังนั้น 𝐴 −1 คือ −
18
จาก X = 𝐴 −1 B = − = 2 21 (2) 1 7 (1) −5 42 (2) 1 14 (1) = −
19
= 4 21 + 3 21 −10 42 + 3 42 = 7 21 −7 42 = 1 3 −1 6 ดังนั้น คำตอบของสมการคือ x = 1 3 และ y = −1 6
20
2. จงแก้ระบบสมาการ x + y - z = -1 4x - 3y + 2z = 16 2x - 2y - 3z = 5 วิธีทำ จะได้เมทริกซ์ คือ AX = B 1 1 −1 4 −3 2 2 −2 −3 𝑥 𝑦 𝑧 = −1 16 5 det (A) = −1 4 −3 2 2 −2 − −3 2 −2
21
= ( ) – ( ) = 21 –(-10) = 31 เนื่องจาก det(A) = 31 ซึ่งไม่เท่ากับ 0 ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน หา 𝐴 −1 จาก 𝐴 −1 = 1 det 𝐴 adj A
22
CO-A = −3 2 −2 −3 − −3 4 −3 2 −2 − 1 −1 −2 −3 1 −1 2 −3 − −2 1 −1 −3 2 − 1 − −3 CO-A = −1 −1 −6 −2 4 −7 adj A = −2 −1 4 −1 −6 −7
23
หา 𝐴 −1 จาก 𝐴 −1 = 1 det 𝐴 adj A 𝐴 −1 = −2 −1 4 −1 −6 −7 = −16 31 − −1 31 −1 31 − −7 31
24
ดังนั้น 𝐴 −1 คือ −16 31 − −1 31 −1 31 − −7 31 หา x ได้จาก X = 𝐴 −1 B = −16 31 − −1 31 −1 31 − −7 31 −1 16 5
25
= 13 31 (−1) −16 31 (−1) −2 31 (−1) 5 31 (16) −1 31 (5) −1 31 (16) −6 31 (5) 4 31 (16) −7 31 (5)
= (−13) (−16) (−16) (−30) (−35) 31
26
ดังนั้น X = 𝐴 −1 B = − = 2 −2 1 ดังนั้น คำตอบของระบบสมการคือ x = 2 ,y = -2 , 𝑧= 1 หรือ ( 2 , -2 , 1)
27
THE END
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.