ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
ครั้งที่ 10/2555 วันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม 2555 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
2
หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ สรุปผลการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ เพื่อนำเสนอที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ น.
3
หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว เฝ้าติดตามพายุดีเปรสชั่นบริเวณประเทศฟิลิปปินส์ ที่จะทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุหมุนเขตร้อน และอาจเคลื่อนลงสู่ทะเลจีนใต้ตอนบนตามแนวร่องมรสุม ทำให้มีฝนเพิ่มขึ้นในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนในสัปดาห์หน้า เฝ้าติดตามปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนวชิราลงกรณ เนื่องจากมีปริมาณน้ำไหลลงเพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก และในสัปดาห์หน้ามรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะยังคงพัดปกคลุมซึ่งอาจส่งผลให้มีฝนตกต่อเนื่องในพื้นที่เหนือเขื่อน การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ในช่วงที่ผ่านมา (1 ม.ค. ถึง 18 ก.ค. 55) เขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี 1,187 ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 14% เขื่อนสิริกิติ์มีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี 1,589 ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 9% แต่จากการระบายน้ำเพื่อการเกษตรและป้องกันอุกทกภัยตามแผนที่ผ่านมา ทำให้ปัจจุบันเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ยังสามารถรับน้ำได้อีก 7,373 ล้าน ลบ.ม. และ 5,369 ล้าน ลบ.ม. ตามลำดับ ในระยะต่อไปเสนอให้บริหารจัดการน้ำของเขื่อนทั้ง 2 แห่ง ดังนี้
4
หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว ระยะยาว (ปัจจุบัน ถึง 1 พ.ย. 55) คาดการณ์ว่าจะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนภูมิพลในเกณฑ์น้ำปานกลาง และจะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนสิริกิติ์ในเกณฑ์น้ำมาก ระยะสั้น (19-25 ก.ค. 55) เขื่อนภูมิพล เสนอให้ยังคงการระบายอยู่ที่วันละ 10 ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ 22 ก.ค. 55 หลังจากนั้นจะลดการระบายลงเหลือวันละ 5 ล้านลูกบาศก์เมตร เขื่อนสิริกิติ์ เสนอให้ยังคงการระบายอยู่ที่วันละ 12 ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ 22 ก.ค. 55 หลังจากนั้นจะลดการระบายลงเหลือวันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร
5
หัวข้อการประชุม รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม
รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม ได้มีการพิจารณาทบทวนแผนการระบายน้ำที่เขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์น้ำฝน-น้ำท่าปัจจุบันและการคาดการณ์สถานการณ์น้ำที่จะเกิดขึ้น ทางกรมชลประทานจึงเสนอให้ กฟผ. ปรับแผนการระบายน้ำ ระหว่างวันที่ 23 กรกฎาคม-31 ตุลาคม 2555 จากเดิมที่ระบายน้ำวันละ 16 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำรวมทั้งสิ้น 1325 ล้าน ลบ.ม. เพิ่มขึ้นจากเดิม 12 ล้าน ลบ.ม. แบ่งเป็น 3 ช่วง ดังนี้ 23 ก.ค.-12 ส.ค. อัตราเฉลี่ยรวมวันละ 22 ล้าน ลบ.ม. 13 ส.ค.-2 ก.ย. อัตราเฉลี่ยรวมวันละ 13 ล้าน ลบ.ม. 23 ส.ค.-31 ต.ค. อัตราเฉลี่ยรวมวันละ 10 ล้าน ลบ.ม. (ที่ กษ 0327/7500 ลงวันที่ 23 กรกฎาคม 2555)
6
หัวข้อการประชุม รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม
7
หัวข้อการประชุม รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม
รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก มีแนวโน้มน้ำไหลลงอ่างมากขึ้น แต่ยังอยู่ในเกณฑ์น้อย (ข่าวสถานการณ์น้ำกรมชลประทาน 23 ก.ค. 2555)
8
สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน จากการคาดการณ์ในสัปดาห์ที่แล้ว
26 กรกฎาคม 2555
9
พายุ “วีเซนเต(VICENTE)”
ที่มา :
10
แผนภาพฝนสะสมรายวัน (21-24 ก.ค.55)
21 ก.ค. 55 22 ก.ค. 55 23 ก.ค. 55 24 ก.ค. 55
11
เรดาร์สกลนคร (22-25 ก.ค. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 22 ก.ค. 55
23 ก.ค. 55 24 ก.ค. 55 25 ก.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา
12
เรดาร์เชียงราย (22-25 ก.ค. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 22 ก.ค. 55
23 ก.ค. 55 24 ก.ค. 55 25 ก.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา
13
เรดาร์อมก๋อย (22-25 ก.ค. 55) ที่มา : สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร
22 ก.ค. 55 23 ก.ค. 55 24 ก.ค. 55 25 ก.ค. 55 ที่มา : สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร
14
ฝนสะสมย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (24 ก.ค. 55 เวลา 17.00 น.)
15
สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 45% (25 ก.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 7,381 ล้าน ลบ.ม. 10 ล้าน ลบ.ม./วัน (25 ก.ค.55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
16
สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 44% (25 ก.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 5,311 ล้าน ลบ.ม. 12 ล้าน ลบ.ม. (25 ก.ค55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
17
สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำระบายรายวัน ล้าน ลบ.ม. (20 ก.ค.55) 19-20 ก.ค.55 ระบายวันละ 30 ล้าน ลบ.ม. ปัจจุบันมีปริมาณน้ำกักเก็บ 55% สามารถรับน้ำได้อีก 3,880 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
18
สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 12% (25 ก.ค.55) ปริมาณน้ำไหลเข้าค่อนข้างน้อย 1 ล้าน ลบ.ม. (25 ก.ค.55) ที่มา : กรมชลประทาน
19
ระดับน้ำในแม่น้ำยมที่สถานี YOM001 อ.ปง จ.พะเยา
ม.รทก. (24 ก.ค. 55 : น.) ระดับตลิ่ง ม.รทก. ม.รทก. (26 ก.ค. 55 : น.) - ในวันที่ 24 ก.ค. 55 ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้น 3.4 เมตรในเวลา 11 ชั่วโมง ( น.) - ช่วงเวลา น. ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เฉลี่ยชั่วโมงละ 50 ซม. ปัจจุบันสถานการณ์เข้าสู่สภาวะปกติ
20
ระดับน้ำในแม่น้ำยมที่สถานี Y.1C อ.เมือง จ.แพร่
650 ลบม./วิ (26 ก.ค. 55 ) เฝ้าติดตาม ปริมาณน้ำเพิ่มสูงขึ้นค่อนข้างมากช่วงวันที่ ก.ค. 55 22 ก.ค. 58 ลบ.ม./วิ 23 ก.ค. 54 ลบม./วิ 24 ก.ค. 55 ลบ.ม./วิ 25 ก.ค. 400 ลบ.ม./วิ 26 ก.ค. 650 ลบ.ม./วิ
21
หัวข้อการประชุม การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า
การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า 2.1 สถานการณ์ฝน (กรมอุตุนิยมวิทยา, สสนก.) 2.2 สถานการณ์เขื่อน (กฟฝ., กรมชลประทาน) 2.3 สถานการณ์ลำน้ำ (กรมชลประทาน) 2.4 สถานการณ์น้ำใน กทม (กทม.) 2.5 สถานการณ์น้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กรมทรัพยากรน้ำ) วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 3.1 วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์สมดุลน้ำ 3.2 สรุปข้อเสนอแนะ
22
ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 19 กรกฎาคม 2555
BK 1-11 12-18 ก.ค. 2555 BK 1-11 19-25 ก.ค. 2555
23
สรุป ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป
สรุปสถานการณ์สมดุลน้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปประเด็นสำคัญอื่นๆ สรุปสถานการณ์และข้อเสนอแนะ นำเสนอต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2555 เวลา น. ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป วันพุธที่ 1 สิงหาคม 2555 เวลา น. ที่ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
24
จบการรายงาน
25
25
26
การวิเคราะห์สมดุลน้ำในแต่ละพื้นที่
วิเคราะห์สถานการณ์น้ำความเสี่ยงน้ำท่วมด้วยแบบจำลองน้ำท่วม วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ปริมาณน้ำขาดดุลด้วยแบบจำลองการบริหารจัดการน้ำ
27
การวิเคราะห์สมดุลน้ำ
Block10 Schematic diagram
28
การวิเคราะห์สมดุลน้ำ
Block11 Schematic diagram
30
การวิเคราะห์สมดุลน้ำรายเดือนด้วยแบบจำลอง SWAT
ปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือน พ.ค. มิ.ย. Block3 322.59 101.11 Block4 281.84 84.60
31
BK 3 พ.ค. 2555 BK 4 พ.ค. 2555 BK 3 มิ.ย. 2555 BK 4 มิ.ย. 2555
32
คณะทำงาน คณะทำงานทำหน้าที่รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์น้ำ
ประชุมทุกวันพฤหัส เวลา น. ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงาน ดังต่อไปนี้ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมอุตุนิยมวิทยา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สำนักระบายน้ำ กทม. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) 32
33
แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน
การจำลองสภาพลุ่มน้ำ ผ่านการสร้าง Schematic diagram ข้อมุลนำเข้า เช่น ข้อมูลฝน เขื่อน การใช้น้ำต่างๆ Scenarios analysis & optimization ของเขื่อน เพื่อประโยชน์สูงสุดในการจัดสรรน้ำ ใช้แบบจำลองในการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแล้ง-น้ำท่วม เพื่อนำไปสู่การตรวจสอบใน Mike Flood ต่อไป
34
แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน
สมดุลน้ำนอกเขตพื้นที่ชลประทานจะวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลอง SWAT โดยคำนึงถึงปริมาณฝน สภาพดิน และความต้องการใช้น้ำของพืชตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.