ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ.อ่างทอง ( รอบที่ 2) วันที่ 8 มิถุนายน 2560
2
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
3
ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.การฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ <12 สัปดาห์ ร้อยละ 44.2 2. การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 32.14 3. ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 8.63 (ดีขึ้นกว่ารอบ 1) 1. การให้บริการฝากครรภ์ต่ำกว่า เป้าหมาย สาเหตุเนื่องจาก 1.1หญิงตั้งครรภ์ปกปิดการตั้งครรภ์ 1.2 การบันทึกข้อมูลในโปรแกรมไม่ถูกต้อง 2.ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์สูงกว่าเป้าหมายอาจเนื่องจากการให้บริการฝากครรภ์ (ตามข้อ 1) วิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริงของการมาฝากครรภ์ช้า จัดทำแผนแก้ไขปัญหา การลงข้อมูลการให้บริการให้ Admin ของอำเภอชี้แจงทำความเข้าใจให้ รพ.สต.
4
ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 3. เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ร้อยละ พัฒนาการสมวัยค่อนข้างสูงอาจอาจเนื่องจากคุณภาพและทักษะของการคัดกรอง - พัฒนาการทักษะการตรวจ ค้นหาสงสัยพัฒนาการล่าช้าเพิ่มขึ้นเพื่อเข้าสู่กระบาวนการกระตุ้นพัฒนาการ
5
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น เด็กนักเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ -เด็กสูงดีสมส่วนต่ำกว่าเป้าหมาย สาเหตุ เด็กอ้วนแต่เกิด กินอาหารไม่เหมาะสม ขาดการเคลื่อนไหว ไม่กินนม วิเคราะห์โรงเรียนที่เด็กสูงดีสมส่วน และอ้วนสูงกว่าเกณฑ์ คัดเลือกนักเรียนที่ไม่สมส่วนจัดกิจกรรมที่เหมาะสมให้มีการเคลื่อนไหวออกกำลังกายที่มีการกระโดดให้มากขึ้น 2. การตั้งครรภ์ซ้ำหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ ตั้งครรภ์สูงกว่าเป้าหมาย เนื่องจาก 1.ความต้องการมีบุตร 2. เปลี่ยนคู่ครอง ให้บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวรหญิงที่มาคลอดครรภ์แรกให้ครอบคลุมเพิ่มขึ้น
6
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
3. งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ -อปท. เข้าร่วม LTC จำนวน 7 แห่ง - ทำ Care Plan ร้อยละ 70.3 ตำบลที่ดำเนินงาน LTC จัดทำ care Plan ยังไม่ครบ เนื่องจาก ยังขาดความชำนาญในการเขียน Care Plan แต่มีแผนทำให้เสร็จ มิ.ย. เร่งรัดจัดทำ Care Plan ให้ครบ -ส่ง Care Plan ให้อนุกรรมการกองทุน พิจารณาอนุมัติเงิน -ดำเนินการตาม Care Plan 4.งานสุขภาพจิต อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ต่อปชก.แสนคน อัตราฆ่าตัวตายสูง เป็นอันดับ 1 ของจังหวัดซึ่งอาจมาจากสาเหตุด้านสังคม ครอบครัว และสุขภาพ คัดกรองผู้พยาบาลฆ่าตัวตาม -ดูแลกลุ่มเป้าหมายเน้นหนักในกลุ่มโรคทางจิตเวช โรคเรื้อรับ สารเสพติด เป็นต้น
7
กลุ่มงานควบคุมโรค
8
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1.อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18 : แสนประชากร (ปชก 59,052) ต.ค. 59 – พ.ค. 60 เสียชีวิต 19 ราย คิดเป็น : แสนประชากร กิจกรรม 1.คืนข้อมูลให้ในที่ประชุมหัวหน้าส่วนราชการทุก 2 เดือน 2.มีการประชุมคณะกรรมการ ศปถ. ปีละ 2 ครั้ง เทศกาลปีใหม่ / สงกรานต์ ยังขาดการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดการบาดเจ็บทางถนน ยังขาดการวางแผนแก้ไขแผนมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง 1.นำข้อมูลที่วิเคราะห์ได้เข้าสู่เวที ศปถ. อำเภอเพื่อร่วมวางแผนแก้ไข 2.ประชุมติดตาม ประเมินผลต่อเนื่อง 2. อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.4 -กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 2,022 ราย - ป่วย DM รายใหม่ 38ราย คิดเป็นร้อยละ 1.9 -ปี 2559 กลุ่มเสี่ยง ประมาณ ร้อยละ 8 -ปี 2560 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 3% ขาดการวิเคราะห์ข้อมูลในภาพ CUP มาใช้วางแผน/ติดตาม ทีม NCD Board ระดับอำเภอนำข้อมูลมาวิเคราะห์ วางแผน ควบคุมกำกับต่อเนื่อง 4x4x4
9
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
3.ร้อยละการควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต ( ร้อยละ 40 , ร้อยละ 50) ควบคุม DM 3,752 ราย ตรวจ Hba1c 1,508 ราย คิดเป็น ร้อยละ 40.2 ควบคุมน้ำตาลได้ 621 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.6 ผู้ป่วย HT จำนวน 7,634 ราย ตรวจ BP 5,439 ราย คิดเป็นร้อยละ 71.2 ควบคุม BP ได้ 3,339 ราย ร้อยละ 43.7 กิจกรรม จัดกิจกรรมกลุ่มในคลินิก NCD ในคำแนะนำรายบุคคล - รพท. ธนาคารน้ำตาล ขาดการน้ำข้อมูลมาใช้วิเคราะห์ วางแผน/ติดตาม การใช้ข้อมูล Chronic Link มาใช้ ควบคุม กำกับ รายสถานบริการ และในภาพ CUP
10
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ
11
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ( HA ) HA ขั้นที่ 3 Reaccredit เมื่อวันที่ 30 – 31 พฤษภาคม 60) -การวางระบบการดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงไม่เป็นไปตามมาตรฐาน - การบริหารความเสี่ยงระดับหน่วยงานและระดับ รพ. ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ - ENV ขาดการซ้อมแผนอัคคีภัยในอาคารสูง -ให้มีการทบทวนให้เป็นไปตามมาตรฐาน - การค้นหาความเสี่ยงด้านคลินิกควรทบทวนให้ครบถ้วนทุกระดับโดยเฉพาะระดับความรุนแรง -ทำมาตรการป้องกัน -ให้ทำการซ้อมแผนอัคคีภัยพร้อมทั้งปรับปรุงทางหนีไฟให้เป็นไปตามมาตรฐาน
12
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
13
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. ผลิตภัณฑ์อาหารผลิตภัณฑ์สุขภาพได้มาตรฐาน ผ่าน ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานเป็นผลจากการตรวจด่วย Test kit ของรพ.สต. เท่านั้น รายงานผลการตรวจของ Mobile Unit เขต 4 วิเคราะห์ภาพรวมสถานการณ์ในอำเภอ จะเห็นสถานการณ์ที่ชัดเจนขึ้น จากผลรวมของMobile Unit พบอาหารได้มาตรฐาน ร้อยละ ผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐาน
14
กลุ่มงานประกันสุขภาพ
15
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. เพิ่มรายได้ -ได้ตามเป้าหมาย ทั้ง 3 กิจกรรม(กายภาพและทันตกรรมห้องพิเศษ) -ไม่ได้ตามเป้าหมาย 2กิจกรรม (ฟิตเนส ,แผนไทย , ฟิตเนส 1.ขาดบุคลากรในการให้บริการ เช่นวิทยาศาสตร์การกีฬา 2.สถานที่คับแคบ แผนไทย 1.ขาดบุคลากรแพทย์ไทยและผู้ป่วยแพทย์แผนไทย 2.ขาดการประชาสัมพันธ์ผู้ป่วยนอกทุกสาขา 3. ไม่มีห้องตรวจประจำผู้ป่วยนอก ห้องพิเศษ 1.มีการ Admit น้อย -เปิดรับสมัครนักวิทยาศาสตร์การกีฬาเพิ่ม -อยู่ระหว่างการขยายห้อง -เปิดรับสมัครบุคลากรเพิ่ม -มีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก -ปรับปรุงห้องตรวจผู้ป่วยนอกเปิดให้บริการ 5 วันทำการ
16
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. ลดรายจ่าย - เวชภัณฑ์มิใช่ยา 5 ประเภท -ได้ตามแผน 4 ประเภท -สูงกว่าแผน คือวัสดุวิทยาศาสตร์ ( 710, บาท) -เนื่องจากสั่งเจาะ Lab ผู้ป่วยจำนวนมาก - ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม : การรายงานการจัดซื้อร่วมวัสดุการแพทย์ทั่วไป ทาง Web site (ปัจจุบันยังไม่มีการรายงานทาง Web site )
17
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
3. การจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้ มีอยู่ระหว่างดำเนินการ -
18
กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล
19
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การคีย์ข้อมูล Happionometer - รพ. ร้อยละ 52 สสอ. ร้อยละ 100 - รพ.สต. ร้อยละ 100 รพ. คีย์ข้อมูลไม่ครบ ให้ผู้รับของโรงพยาบาลกำกับติดตามให้เจ้าหน้าที่คีย์ข้อมูลให้ครบ
20
งานการเงินและบัญชี
21
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
1.การจัดทำแผนทางการเงิน (แผนเกินดุล 6,001,540) มีการปรับแผน 6 เดือนหลัง (ผ่าน) แผนเกินดุล 24,745,520 -ลงทุนด้วยเงินบำรุง 4,949,404.01 ไม่มี -กำกับให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผน 2.ผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (ไตรมาส 1/60 รายได้ 18.22% ค่าใช้จ่าย -8.45%) 2.1ให้มีระบบสอบทานรายงานการเงินกับข้อมูลการรักษา (โปรแกรมการรักษา,การเรียกเก็บ,ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษา) ไตรมาส 2/60 รายได้ 5.34 % ค่าใช้จ่าย % (ไม่ผ่าน) เมย 60 รายได้ 3.10% ด้านค่าใช้จ่าย -3.54%) ผ่าน -มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามแผนเพื่อหาสาเหตุและนำเสนอที่ประชุมทุกเดือน มีการมอบหมายการกำหนดผู้รับผิดชอบในการรายงานลูกหนี้ให้บัญชีและผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรายได้ เมย. 60 ผลต่างเกินร้อยละ 5% รายได้ (Uc 27.75,EMS 17.62,ลงทุน 26.26,ต้นสังกัด ,ต่างด้าว ,รักษาอื่น -8.62 ค่าใช้จ่ายหนี้สงสัยจะสูญ เวชภัณฑ์มิใช่ยาและการแพทย์ ,ใช้ไป -7.42 ยังไม่มีการตรวจสอบระบบรายงานลูกหนี้ จากข้อมูลการรักษา การเรียกเก็บ และทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล ให้มีการวิเคราะห์หาสาเหตุและวางแนวทางกำกับให้เป็นไปตามแผน มีการสอบทานเปรียบเทียบยอดลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลกับศูนย์จัดเก็บรายได้/งานประกันสุขภาพ
22
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
3.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) 4.หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกิน ค่าmean+1SD ของกลุ่มบริการระดับเดียวกัน (20กลุ่ม) (รพท S <=400) ไตรมาส 2/60 ผ่าน 4 ตัว (B-) ไตรมาส2/60 (ผ่าน) =0.31 (mean+1SD=0.36) -ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้สิทธิ UC (op/Ip/AE) 73 วัน (เกณฑ์ 60 วัน) -มีลูกหนี้ค่ารักษา op นอกcup ในจว.ปี =16,393,901.70 -ระยะเวลาชำระหนี้ 266 วัน cash 0.68 (เกณฑ์ cash <0.8 จ่ายภายใน 180 วัน การประมวลผลโดยส่วนกลางทางรพ.ไม่ทราบข้อมูล จัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้ มีการเชื่อมโยงข้อมูลลูกหนี้กับบัญชี มี Flow งาน ประกันระยะเวลาในแต่ละขั้นตอน มีระบบการติดตามหนี้ -ทำแผนการชำระหนี้ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จัดระบบชำระหนี้ก่อน-หลัง มีระบบการบริหารสั่งซื้อ รับรู้หนี้สิน จังหวัดประสานส่วนกลางเรื่องการส่งข้อมูลผลการประเมิน
23
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
5.คะแนนการประเมิน FAI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไตรมาส 2/60 ได้ 96 % (ผ่าน) ไม่มี กิจกรรมการควบคุมภายใน ให้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนด โดยให้ส่งผลการดำเนินการตามแผนและผล การพัฒนาองค์การ 5 มิติ ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. ภายใน 30 มิย 60 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี ให้ดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดและกิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังให้ดำเนินให้ครบทุกขั้นตอนตามเกณฑ์ที่กำหนด
24
ถาม - ตอบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.