งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง
การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง รายวิชา ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ ( )

2 สมาชิกในกลุ่มมีดังนี้
นางสาวเบญจวรรณ ปะโปตินัง รหัส นายปราสาทพร เจิมถาวร รหัส นางสาวปรียานุช หมวกสังข์ รหัส นางสาวเจือทิพย์ ชิณวงศ์ รหัส ชั้นปีที่ 3 เอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป เสนอ อาจารย์สาวิตรี รุจิธนพานิช รายวิชา ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ ( ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 คณะวิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

3 วัตถุประสงค์ในการทดลอง
เพื่อศึกษาหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง

4 หลักการ บอแรกซ์ ( borex) Na2B4O7 . 10H2O เป็นเบสอ่อนสามารถหาปริมาณได้โดยการไทเทรตด้วยกรดเกลือ โดยใช้สารละลายเมธิลเรด ( methyl red ) เป็นอินดิเคเตอร์ มีสมการดังนี้ B4O72- (aq) + 2H3O+( aq) HBO2 ( aq) + H2O ……… ( 1 )

5 หลักการ ( ต่อ ) กรดบอริค ( boric acid ) HBO2 เป็นกรดอ่อนมาก มี Ka = 508 × ซึ่งไม่สามารถที่จะไทเทรตได้ด้วยวิธีธรรมดา แต่กรดนี้ทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นโพลีไฮดริคแอลกอฮอล์ ( polyhydric alcohol ) แล้วทำให้เกิดกรดที่แก่ขึ้น และเป็น monoprotic acid complex ซึ่งสามารถไทเทรตกับสารละลายมาตรฐานของเบสได้โดยใช้ฟีนอลฟทาลีนเป็นอินดิเคเตอร์ มีสมการดังนี้ HBO2 + Polyhydric aicohol H3O+ + BO2- …….. ( 2 )

6 หลักการ ( ต่อ ) โพลีไฮดริคแอลกอฮอล์ ( polyhydric alcohol ) หลายชนิดที่สามารถเกิดสารเชิงซ้อนแบบข้างบนกับกรดบอริคได้ที่ใช้กันมาก ได้แก่ มานิทอล ( manitol) ซอร์บิทอล ( sorbitol ) ฟรุคโทส ( fructose ) กลีเซอรีน ( glycerine) เอธิลินไกลคอล ( ethylene glycol )

7 หลักการ ( ต่อ ) การไทเทรตสารละลาย HBO2 ที่มีความเข้มข้นระหว่าง 0.1 – 0.01 โมล / ลิตร ควรใช้ มก. ของมานิทอล หรือซอร์บิทอลต่อ 1 ลบ.ซม. ของสารละลาย HBO2ข้อดีของซอร์บิทอลคือ ละลายได้ดีกว่ามานิทอล

8 คุณสมบัติทางเคมีของกรดบอริค และบอแรกซ์
กรดบอริค (boric acid) กรดบอริคเป็นสารอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง เกิดจากปฏิกิริยาการไฮโดรไลซิส ของโบรอนเฮไลด์ ( boron halide )หรือไฮดรายด์ ( hydride )ได้เป็นกรดบอริค ( B(OH)3 ) กรดบอริคมีลักษณะเป็นผลึกรูปเข็มสีขาว มีอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ ยึดติดกันด้วยพันธะไฮโดรเจน กรดบอริคสามารถละลายน้ำได้ และละลายได้ดีขึ้นเมื่อให้อุณหภูมิสูง

9 คุณสมบัติทางเคมีของกรดบอริค และบอแรกซ์ ( ต่อ)
บอแรกซ์ (Borax) บอแรกซ์เป็นเกลือของสารประกอบโบรอน มีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมบอเรท หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า น้ำประสานทอง หรือแพ่งแซ่ ที่ชาวจีนเรียก มีสูตรทางเคมีเป็น Na2B4O7 .10H2O เป็นสารอนินทรีย์สังเคราะห์ มีลักษณะเป็นผลึกใสโปร่งแสง มีรสหวานเล็กน้อย ละลายได้ในน้ำ กลีเซอรีน และแอลกอฮอล์ เป็นสารไม่มีสี ไม่มีกลิ่น

10 การคำนวณหาบอแรกซ์ หาความเข้นข้นของบอแรกซ์จาก 2M1 V1 = M2V2 เมื่อ M1 = ความเข้มข้นของบอแรกซ์ V1 = ปริมาณของสารตัวอย่าง M2 = ความเข้มข้นของ HCl V2 = ปริมาตรของ HCl หา% ของบอแรกซ์ = M1 x M . W (ของบอแรกซ์) x น.น. เป็นกรัมของสารตัวอย่าง

11 การคำนวณหาบอริค สมการ H3BO3 +2 NaOH Na2 B4O H2 O การคำนวณ น้ำหนักตัวอย่าง X กรัม ปริมาตรของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซต์ 0.1 นอร์มัล V มิลลิลิตร เนื่องจากสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 นอร์มัล ปริมาตร 1 มิลลิลิตร ทำปฏิกิริยาพอดีกับกรดบอริค V น้ำหนักตัวอย่างอาหาร X กรัม มีปริมาณบอแรกซ์ = V น้ำหนักตัวอย่างอาหาร 100 กรัม มีปริมาณบอแรกซ์ = V x 100 X = V *** สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 0.1 นอร์มัล ปริมาตร 1 มิลลิลิตร ทำปฏิกิริยา พอดีกับกรดบอริค กรัม

12 สารละลายที่ใช้ ตอนที่ 1 การหาปริมาณสารบอแรกซ์ ( ทำทุกกลุ่มยกเว้น กลุ่มที่ 3) 1. สารละลายมาตรฐานกรดเกลือ (HCl) เข้มข้น 0.1 mol/l 2. สารละลายเมธิลเรด (methyl red ) เข้มข้น 0.1 g/100 cm3­ 3. สารละลายตัวอย่างบอแรกซ์เข้มข้น M 500ml/gg

13 สารตัวอย่างอาหาร สารละลาย CuSO4 กลีเซอรีน สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ( NaOH ) เข้มข้น 0.1 M สารละลายฟีนอล์ฟทาลีน 1 ml

14 เครื่องแก้วและอุปกรณ์
บีกเกอร์ ปิเปต และลูกยาง บิวเรต ขวดวัดปริมาตร ขวดรูปชมพู่ เตาให้ความร้อน ขาตั้งที่หนีบ

15 เครื่องแก้วและอุปกรณ์ ( ต่อ )
หลอดหยด เครื่องชั่ง กรวย กระดาษกรอง โกรงบดสาร

16 วิธีการทดลอง ตอนที่ 1 การหาปริมาณสารบอแรกซ์ ( ทำทุกกลุ่มยกเว้น กลุ่มที่ 3) 2 3 1 ปิเปตสารละลายตัวอย่างบอแรกซ์ ( 25 Cm3) ทำปริมาตรสารละลาย ( 250 Cm3) ชั่งสาร ( g) 6 5 4 หยด methyl red 2-3หยด ปิเปตสารละลายตัวอย่างบอแรกซ์ลงในขวดรูปชมพู่ ( 250 Cm3 ) ไทเทรตกับ HCl ( สารละลายสีส้ม )

17 วิธีการทดลอง ตอนที่ 2 การหาปริมาณสารบอริค ( ทำเฉพาะกลุ่มที่ 3) 1 2 3
ตอนที่ 2 การหาปริมาณสารบอริค ( ทำเฉพาะกลุ่มที่ 3) 1 2 3 บดสารตัวอย่างอาหารให้ละเอียด เติม CuSO4 3 ml ชั่งสารตัวอย่าง 15 g 6 5 4 ต้มสารตัวอย่าง อาหารจนเดือด ล้างด้วยน้ำร้อน 4-5 ครั้ง กรองสารตัวอย่าง

18 ตอนที่ 2 การหาปริมาณสารบอริค ( ทำเฉพาะกลุ่มที่ 3) ( ต่อ )
ตอนที่ 2 การหาปริมาณสารบอริค ( ทำเฉพาะกลุ่มที่ 3) ( ต่อ ) 7 8 9 11 10 ไทเทรตกับ NaOH จนเกิดสีฟ้าอมม่วงอีกครั้ง เติมกลีเซอรีน 10 ml


ดาวน์โหลด ppt การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google