งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หัวข้อที่ 1 กระบวนการเรียนรู้ และการแก้ปัญหา ของมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หัวข้อที่ 1 กระบวนการเรียนรู้ และการแก้ปัญหา ของมนุษย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หัวข้อที่ 1 กระบวนการเรียนรู้ และการแก้ปัญหา ของมนุษย์
หัวข้อที่ 1 วท 102 การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: รศ.ดร.อรุณี คงดี อัลเดรด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2 เพราะมนุษย์แตกต่างกันด้วยสมอง และการเรียนรู้ก็ง่ายนิดเดียว
เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง เหมือนนักวิ่งออกสตาร์ทอย่างไม่สะดุด

3 พัฒนาการการเรียนรู้เป็นไปตามวัย
ทารกในครรภ์ ระบบสมองและระบบประสาท มีการเติบโตและพัฒนาแล้ว รับรู้โดยประสาทสัมผัส เช่น เสียง รส แสง ตอบสนองสิ่งแวดล้อม รับรู้โดยประสาทสัมผัส เช่น เสียง กลิ่น เด็กแรกเกิดถึง 6 ปี เริ่มสื่อสารด้วยภาษา มีความคิดเป็นของตนเอง อยากรู้อยากเห็น ช่างจดจำ

4 (จากหนังสือ เรียนเก่งสร้างได้ โดย จรรยาพร เจริญไทย)
สมองพัฒนามากที่สุดในช่วงแรกเกิดถึง 6 ปี เซลล์สมองจะถูกกระตุ้นจากการเรียนรู้ที่เหมาะกับวัย ให้ใช้ความคิดแบบอิสระหรือจินตนาการ พัฒนาการทางสมองจะเติบโตอย่างสมดุลทั้งซีกซ้าย และซีกขวา (จากหนังสือ เรียนเก่งสร้างได้ โดย จรรยาพร เจริญไทย)

5 การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไม่สิ้นสุด
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้นอกห้องเรียน

6 สมองสองซีก สมองซีกซ้าย สมองซีกขวา ทำหน้าที่ ทำหน้าที่ วิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ความคิด ด้านตรรกวิทยา ทำหน้าที่ ทำหน้าที่ ให้ความคิด สร้างสรรค์ มีจินตนาการ มีอารมณ์ มีความรู้สึก ค้นเพิ่ม จัดลำดับขั้นตอน

7 ลองเปลี่ยนมุมมองใหม่
คนไทยใช้สมองซีกซ้ายเพียงอย่างเดียว เนื่องจากถูกสอน ให้คำนวณ จดจำ อยู่ในกรอบตั้งแต่เริ่มเรียนรู้ บางครั้งจึงเครียด สมองตีบตัน คิดไม่ออก ลองเปลี่ยนมุมมองใหม่ ใช้สมองซีกขวาให้มากขึ้น ใช้จินตนาการมากขึ้น คิดนอกกรอบ ออกท่องเที่ยว การอ่านหนังสือจะทำให้เกิดจินตนาการ และเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้กว้างไกล คนไทยอ่านหนังสือเฉลี่ยเพียงปีละ 2 เล่ม ขณะที่เวียดนามเฉลี่ยปีละ 60 เล่ม และสิงคโปร์เฉลี่ยปีละ 45 เล่ม (2553)

8 ทดสอบความสามารถในการสังเกต
ให้เวลาดู ภาพ 2 นาที

9 คำถาม คำตอบ 1. คนซื้อหนีบขนมปังไว้ที่แขนกี่ก้อน 2 ก้อน
2. ราคาของบนเครื่องคิดเงินเป็นเท่าไหร่ 1.20 C แดง 3. ผ้าพันคอที่ผู้ชายใช้มีสีอะไร 4. มีครัวซองท์อยู่ในตู้กี่ชิ้น 5 ชิ้น 5. มีหลอดไฟบนเพดานกี่หลอด 4 หลอด 6. คนขายใส่ผ้ากันเปื้อนหรือไม่ ใส่ ประสบการณ์

10 มนุษย์มีความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้ที่แตกต่างกัน
ความแตกต่างของบุคคล: บางคนหัวเร็ว บางคนหัวช้า เพศ: ผู้หญิง ผู้ชาย มีความสามารถ/คิดไม่เหมือนกัน

11 พฤติกรรมเดียวกัน แต่การตีความหมายแตกต่างกัน
ผู้หญิงทักผู้หญิงแปลกหน้าก่อน "ทักทายตามมารยาท" ผู้ชายทักผู้หญิงแปลกหน้าก่อน "ไอ้หน้า....." ผู้หญิงนุ่งกางเกง "ลุย สู้งาน“ ผู้ชายนุ่งกระโปรง "ลักเพศ" ผู้หญิงต่อยผู้ชาย "แก่นแก้วแสนซน น่ารัก" ผู้ชายต่อยผู้หญิง "ไอ้หน้าตัวเมีย“ ผู้หญิงถ่ายนู้ด "งานศิลป์“ ผู้ชายถ่ายนู้ด "หมดปัญญาหากิน"

12 การจีบ หญิง : เขาเข้ามาคุยกะเราบ่อยๆ อย่างงี้กำลังจีบเราอยู่แน่เลย ชาย : บางครั้งการจีบก็เป็นแค่การทดสอบความสามารถของตัวเอง ไม่ได้รู้สึกจริงจังมากมายอะไรสักหน่อย เดทครั้งแรก หญิง : เหตุการณ์ตื่นเต้นที่สุดอีกครั้งในชีวิต เขาจะพาเราไปนั่นกินอาหารร้านไหนนะ ชาย : เหตุการณ์ผลาญเงิน หวังว่าเธอคงไม่เห็นแก่กินเลือกร้านแพงๆ เหมือนยายคนก่อนนะ

13 คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล
ทิศทาง/มุมที่มอง การมองคนละมุมจะทำให้ได้ภาพที่แตกต่างกันหรือเข้าใจคนละอย่าง มุมกล้อง ระยะที่มอง สาเหตุของความแตกต่าง พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม การอบรมเลี้ยงดู การคบเพื่อน คบพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล ความแตกต่างระหว่างบุคคล ทางร่างกาย รูปร่าง หน้าตา สีผิว สีผม และจิตใจ มีผล มากที่สุด การศึกษา ประสบการณ์การเรียนรู้ และการฝึกฝน จากหนังสือ เรียนเก่งสร้างได้ แต่งโดยจรรยาพร เจริญไทย

14 การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สามารถนำมาใช้ในการทำนายความเป็นไปของโลก เช่น การเกิดพายุ แผ่นดินไหว Tsunami storm surge (น้ำทะเลยกตัวสูง) นักวิทยาศาสตร์ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์

15 นักวิทยาศาสตร์ค้นพบความลี้ลับของธรรมชาติมากมาย
ผลึกน้ำแข็ง สิ่งมีชีวิตพันธุ์ใหม่ การถ่ายทอดพันธุกรรมด้วย DNA แต่นั่นเป็นเพียงจุดเริ่มต้น โลกช่างเต็มไปด้วยสิ่งลี้ลับ และมหัศจรรย์ ความลับใต้พิภพ

16 ความคิดสร้างสรรค์ การมีจินตนาการ ทำการคิดนอกกรอบ ทำให้มนุษย์ค้นพบสิ่งใหม่ๆ เช่น นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ทำให้เกิดคำว่า สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ พี่น้องตระกูลไรท์ ประดิษฐ์เครื่องบิน อยากบินได้เหมือนนก

17 พาราไกลเดอร์ บอลลูน โคม จรวด/เครื่องร่อน จรวด

18 ในหลวงกับกังหันชัยพัฒนา
พระบิดาของนวัตกรรมไทย ตัวอย่าง นวัตกรรมอื่นๆ นวัตกรรมของคนไทย คนที่ไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์ สร้างสรรค์นวัตกรรมได้หรือไม่

19 การคิดนอกกรอบ (lateral thinking = คิดในแนวข้าง)
หมายถึง การทำสิ่งแปลกใหม่ แตกต่างจากเดิมที่เคยรู้ (ประสบการณ์) โดยนำสิ่งใกล้ตัวมาใช้ประโยชน์ (Dr. Edcsard de Bono) การคิดนอกกรอบ ทำให้แก้ปัญหาได้ ตัวอย่างการคิดนอกกรอบ ปัญหา: เด็กคนหนึ่งจะไปโรงเรียน แต่มีน้ำขังบนถนน วิธีการแก้ปัญหา เดินลุยไปเลย ? ถอดรองเท้าเดินลุย ? หรือ...

20 ในห้องเรียนห้องหนึ่ง อาจารย์ให้นักศึกษาทำเครื่องบิน
ที่เคลื่อนที่ได้ไกลที่สุดจากกระดาษหนึ่งแผ่น นักศึกษาทุกคนพับกระดาษให้มีปีกแล้วขว้างไป ข้างหน้าสุดแรง ยกเว้น นายดอม ปกรณ์ สลัม ที่ขยำกระดาษเป็นก้อนกลมๆ แล้วขว้างออกไปข้างหน้า

21 ปัญหา สบู่ไม่ถูกบรรจุลงในกล่อง วิธีแก้ปัญหา
ประเทศญี่ปุ่น ทุ่มเงินวิจัยเพื่อคิดค้น เครื่องอินฟราเรดเพื่อเช็คก้อนสบู่ ภายในกล่อง ประเทศ? ใช้พัดลมเป่า กล่องที่ไม่มีสบู่ ก็ปลิวออกไป

22 ปัญหา ปากกาที่เขียนไม่ได้ในอวกาศ (สภาพไร้น้ำหนัก) วิธีแก้ปัญหา
อเมริกา: ทุ่มเงินวิจัยเพื่อผลิตปากกาที่เขียนได้ใน สภาพไร้น้ำหนัก รัสเซีย : ใช้ดินสอเขียนแทนปากกา จากหนังสือคิดอย่างอัจฉริยะ (Think better) แปลและเรียบเรียงโดย พรศักดิ์ อุรัจฉัทชัยรัตน์

23 การเรียนรู้และการแก้ปัญหามีข้อจำกัด เนื่องจาก
การรู้แบบแยกส่วน การเรียนโดยเอาวิชาเป็นตัวตั้ง ปัญหาของการเรียนวิทยาศาสตร์ที่เน้นการวัด กฎ ทฤษฎี การคิดในมุมมองเดียวทำให้ลืมคิดถึงสิ่งที่อยู่รอบข้าง บางครั้งเป็นเรื่องเส้นผมบังภูเขา การแก้ปัญหาบางครั้งต้องใช้สัญชาตญาณ การแก้ปัญหาส่วนใหญ่จะใช้ประสบการณ์ ภาพบางภาพอาจทำให้สร้างความสับสนให้กับตาและสมอง

24 ภาพลวงตา ภาพแจกัน หรือคนจุมพิตกัน ภาพหญิงสาวเบือนหน้าหนี
หรือหญิงชราก้มมองพื้น

25

26 อ่านสิ่งต่อไปนี้ แดง น้ำเงิน เหลือง ชมพู ดำ

27 มองกราดที่วงกลม เพ่งมองที่วงกลมเดียว

28 สมองให้ความสนใจกับสิ่งที่ตาโฟกัส เราจะมองเห็น
วัตถุสว่างได้เร็วกว่าวัตถุมืด ดังนั้น จึงมองเห็นส่วนสว่างของวงล้อก่อน ความล่าช้า ในการมองเห็นวัตถุสีมืดทึม ทำให้เห็นภาพลวงว่า มีการเคลื่อนจากส่วนที่มืดไปสู่ที่สว่าง

29 การมีพื้นฐานความรู้แน่น
การเรียนรู้นอกห้องเรียน การเรียนรู้แบบบูรณาการ การเรียนรู้อย่างไม่สิ้นสุด ฯลฯ เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เกิด การพัฒนาทางเทคโนโลยี


ดาวน์โหลด ppt หัวข้อที่ 1 กระบวนการเรียนรู้ และการแก้ปัญหา ของมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google