งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPIs) และการกำหนดค่าเป้าหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPIs) และการกำหนดค่าเป้าหมาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPIs) และการกำหนดค่าเป้าหมาย
รัชนีย์ วงค์แสน ประธานคณะกรรมการประสานคุณภาพการพยาบาล 8 สิงหาคม 2561

2 KPIs : ด้านคุณภาพ (Quality)
ประเภทตัวชี้วัด KPIs : ด้านคุณภาพ (Quality) KPIs : ด้านปริมาณ(Quantity) อัตราภาวะแทรกซ้อน อัตราอุบัติการณ์ จำนวนครั้งการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ข้อร้องเรียน ความไม่พึงพอใจ คำชม ความพึงพอใจของลูกค้า หน่วย/วัน จำนวนโทรศัพท์/ชั่วโมง จำนวนหน่วยที่ผลิต ปริมาณการให้บริการ จำนวนโครงการที่สำเร็จ จำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ จำนวนโทรศัพท์ที่รับสาย KRA KPIs : ด้านกำหนดเวลา(Timeliness) KPIs : ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน (Cost-Effectiveness) ตารางการทำงานสำเร็จตามแผน งานเสร็จตามวันครบกำหนด ส่งงานตามกำหนดการ งานเสร็จภายใน Cycle time จำนวนเงินที่ใช้จ่าย จำนวนคำแนะนำที่มีการปฏิบัติตาม ค่าใช้จ่ายนอกเหนืองบประมาณ ร้อยละของเงินงบประมาณที่สามารถเบิกจ่ายได้ตามเวลาที่กำหนด

3 วิธีการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของงาน
เลือกใช้เทคนิควิธีการวัดวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือ หลายวิธีผสมกัน การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method) การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) การประเมิน 360 องศา การสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกที่เด่นชัด (Critical Incident Technique) กำหนดน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัด

4 GOOD s Reflect your organization’s goal. One that you can measure.
Give everyone in the organization a clear picture of what is important, of what they need to make happen. Make sure that everything that people in organization do is focused on meeting or exceeding KPIs.

5 การกำหนดค่าเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ของงาน (Targets)
ค่าเป้าหมาย (Targets) หมายถึง เป้าหมายใน เชิงปริมาณหรือคุณภาพ หรือทั้งสองส่วน ที่ทำให้แยกแยะได้ว่า การปฏิบัติงานประสบความสำเร็จตามตัวชี้วัด (KPIs) ที่กำหนดไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด ภายในระยะเวลาที่ระบุไว้อย่างชัดเจน

6 ข้อควรคำนึงในการกำหนดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
S เจาะจง (Specific) มีความเจาะจง ว่าต้องการทำอะไร และ ผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร M วัดได้ (Measurable) ต้องวัดผลที่เกิดขึ้นได้ ไม่เป็นภาระ ตัวชี้วัดไม่มากเกินไป A เห็นชอบ (Agreed Upon) ต้องได้รับการเห็นชอบซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชา และ ผู้บังคับบัญชา R เป็นจริงได้ (Realistic) ต้องท้าทาย และสามารถทำสำเร็จได้ T ภายใต้กรอบเวลาที่ เหมาะสม (Time Bound) มีระยะเวลาในการทำงานที่เหมาะสม ไม่สั้นไม่ยาวเกินไป

7 ประเภทของเป้าหมาย Stretch Target Small Targer Step Baseline Target
กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่างมหาศาล ก่อให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อรักษาป้องกัน ผลการดำเนินงานไม่ให้ต่ำกว่าปัจจุบัน

8 หลักในการพิจารณาการที่จะตั้งค่าเป้าหมาย
การพิจารณาแนวโน้มในอดีต    ดูที่นโยบายและนำมากำหนดเป็นเป้าหมาย  ให้เน้นให้สนองการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง   ต้องรักษามาตรฐานที่ดีไว้    ควรมีการเปรียบเทียบกับค่าเดียวกันของหน่วยงานอื่น

9 การกำหนดค่าเป้าหมาย ข้อมูลพื้นฐาน Baseline แสดงให้เห็นค่าของตัวชี้วัดในอดีตหรือปัจจุบัน กำหนดข้อมูลพื้นฐานสิ่งที่ต้องการวัด เพื่อเป็นเครื่องมือในการตั้งค่าเป้าหมาย มักใช้ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี มาหาค่าเฉลี่ยผลการดำเนินการ หรือเป็นข้อมูลพื้นฐาน ถ้าไม่มีข้อมูลย้อนหลังอาจเริ่มจัดเก็บใหม่เพื่อให้เป็นข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมายเป็นค่าของตัวชี้วัดที่ต้องการบรรลุ

10 ตัวอย่างการกำหนดค่าเป้าหมาย (5 ระดับ)
1 2 3 4 5 ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมาย ในระดับท้าทาย มีความยากค่อนข้างมาก โอกาสสำเร็จ <50% ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายที่เป็น ค่ามาตรฐานโดยทั่วไป Start

11 เปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile)
เป็นการแบ่งข้อมูลที่เรียงจากน้อยไปมากออกเป็น 100 ส่วนเท่า ๆ กัน

12 เปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile)
เป็นการแบ่งข้อมูลที่เรียงจากน้อยไปมากออกเป็น 100 ส่วนเท่า ๆ กัน

13

14 การใช้ Excel หา Percentile

15 ตัวอย่างกราฟที่ระบุค่าเป้าหมาย และมีการเปรียบเทียบ
ตัวอย่างกราฟที่ระบุค่าเป้าหมาย และมีการเปรียบเทียบ

16 ถาม-ตอบ


ดาวน์โหลด ppt การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPIs) และการกำหนดค่าเป้าหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google