งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ กลุ่มแรงงานนอกระบบ ปีงบประมาณ 2560.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ กลุ่มแรงงานนอกระบบ ปีงบประมาณ 2560."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ กลุ่มแรงงานนอกระบบ ปีงบประมาณ 2560

2 หัวข้อการนำเสนอ 1. ผลการดำเนินงาน ปี แนวทางการดำเนินงาน ปี กรอบแนวคิดการดูแลสุขภาพแรงงานนอกระบบ - การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน - การดำเนินงานพัฒนาพื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการ พัฒนาร่วมกับเครือข่าย - การดำเนินงานฯ แรงงานนอกนอกระบบ 5 กลุ่มอาชีพ 3. นโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

3 จากการประกอบอาชีพในกลุ่มแรงงานนอกระบบ ปี 2559
ผลการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

4 การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชุน ของหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ

5 จำนวนหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ (แห่ง) จัดบริการอาชีว อนามัย(แห่ง)
ผลการดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน ของหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ปี ปี เป้าหมาย จำนวนหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ (แห่ง) จัดบริการอาชีว อนามัย(แห่ง) ร้อยละ 2555 พื้นที่ต้นแบบ - 18 2556 จังหวัดละ 1 แห่ง 9,783 1,092 11.16 2557 ร้อยละ 10 9,796 1,847 18.85 2558 ร้อยละ 20 9,795 3,333 34.03 2559 ร้อยละ 30 9,802 4,675 47.69

6 ผลการดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชนของหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ
ปี 2559 จำแนกราย สคร. ลำดับ สคร. จำนวนหน่วยบริการฯ(แห่ง) การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน (แห่ง) ร้อยละ ระดับ ไม่ระบุระดับ จำนวน รวม เริ่มต้น พื้นฐาน ดี ดีมาก 1 สคร.1 เชียงใหม่ 1,108 243 106 131 60 540 48.74 2 สคร.2 พิษณุโลก 627 211 86 31 12 350 55.82 3 สคร.3 นครสวรรค์ 586 24 53 49 57 183 31.23 4 สคร.4 สระบุรี 799 174 32 33 268 538 67.33 5 สคร.5 ราชบุรี 915 310 336 36.72 6 สคร.6 ชลบุรี 779 172 230 140 47 859 75.61 7 สคร.7 ขอนแก่น 809 225 19 58 304 37.58 8 สคร.8 อุดรธานี 875 152 62 69 17 300 34.29 9 สคร.9 นครราชสีมา 952 153 128 111 50 442 46.43 10 สคร.10 อุบลราชธานี 838 133 37 20 119 358 42.72 11 สคร.11 นครศรีธรรมราช 717 270 305 42.54 สคร.12 สงขลา 797 264 22 25 430 53.95 ประเทศ 9,802 2,331 879 671 397 387 4,675 47.96 ข้อมูล ณ 18 ตุลาคม 2559

7 ร้อยละการจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชนของหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ
ปี 2559 ข้อมูล ณ 18 ตุลาคม 2559

8 จังหวัดที่สามารถดำเนินการได้ ร้อยละ 100 สคร. 2 พิษณุโลก อุตรดิตถ์
การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชนของหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ปี 2559 จังหวัดที่สามารถดำเนินการได้ ร้อยละ 100 สคร. 2 พิษณุโลก อุตรดิตถ์ สคร. 4 นครนายก สิงห์บุรี สคร. 6 จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง (ร้อยละ 99) สคร. 8 บึงกาฬ สคร.9 บุรีรัมย์ สคร.12 พัทลุง

9 เครือข่ายการดำเนินงานดูแลสุขภาพแรงงานในชุมชน ปี 2559
ตัวชี้วัด : จำนวนเครือข่ายการดำเนินงานดูแลสุขภาพแรงงานในชุมชน อย่างน้อยจังหวัดละ 1 เครือข่าย ผลการดำเนินงาน : จำนวนเครือข่ายการดำเนินงานดูแลสุขภาพแรงงานในชุมชนอย่างน้อยจังหวัดละ 3,866 เครือข่าย ลำดับ จังหวัด จำนวนเครือข่ายจำแนกตามประเภท (แห่ง) ภาครัฐ (นอก สธ.) อปท. เอกชน NGO ภาคประชาชน รวม 1 สคร.1 เชียงใหม่ 106 26 202 9 400 743 2 สคร.2 พิษณุโลก 40 10 25 34 109 3 สคร.3 นครสวรรค์ 17 28 54 4 สคร.4 สระบุรี 15 83 115 269 5 สคร.5 ราชบุรี 19 6 139 70 263 สคร.6 ชลบุรี 88 154 432 682 7 สคร.7 ขอนแก่น 45 92 396 537 8 สคร.8 อุดรธานี 68 191 336 สคร.9 นครราชสีมา 79 162 248 21 589 สคร.10 อุบลราชธานี 42 47 11 สคร.11 นครศรีธรรมราช 33 43 87 12 สคร.12 สงขลา 16 27 95 585 395 938 36 1,848 3,866 * บางจังหวัดไม่มีข้อมูลเครือข่ายฯ

10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรค ระดับของพื้นที่ต้นแบบ
ชุมชน/พื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่าย ปี 2559 ตัวชี้วัด : จำนวนชุมชน / พื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่อย่างน้อย สคร. ละ 1 แห่ง ผลการดำเนินงาน : ชุมชน / พื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ จำนวน 28 แห่ง ลำดับ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค จำนวนพื้นที่ต้นแบบ (แห่ง) ระดับของพื้นที่ต้นแบบ หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด สคร.1 เชียงใหม่ 1 2 สคร.2 พิษณุโลก  3 สคร.3 นครสวรรค์ 4 สคร.4 สระบุรี 8  4 5 สคร.5 ราชบุรี 6 สคร.6 ชลบุรี  1 7 สคร.7 ขอนแก่น สคร.8 อุดรธานี 10 9 สคร.9 นครราชสีมา สคร.10 อุบลราชธานี 11 สคร.11 นครศรีธรรมราช 3 12 สคร.12 สงขลา รวม 38 27

11 กลุ่มเกษตรกร

12 ร้อยละคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชโดยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส
ปี 2559

13 ร้อยละการคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
โดยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส ปี ปี จำนวนจังหวัดที่รายงาน จำนวนผู้ได้รับการตรวจคัดกรอง (คน) จำนวนผู้มีผลเสี่ยงและ ไม่ปลอดภัย(คน) ร้อยละผลเสี่ยงและไม่ปลอดภัย 2554 74 533,524 173,243 32.47 2555 31 244,822 75,749 30.94 2556 50 314,805 96,227 30.57 2557 71 317,600 108,062 34.02 2558 341,039 110,672 32.45 2559 418,505 153,822 36.76

14 กลุ่มเก็บ คัดแยก และรีไซเคิลขยะ

15 ผลการดำเนินงานในปี 2559 (ขยะทั่วไป)
เป้าหมายการดำเนินงานปี 59 ผลการดำเนินงานปี 59 เป้าหมายปี จ. ได้แก่ จ.กาญจนบุรี จ.นครศรีธรรมราช จ.สมุทรปราการ จ.ขอนแก่น และ จ.พระนครศรีอยุธยา จำนวนรวม 2,400 ราย ผลการดำเนินงานปี จ. ได้แก่ จ.กาญจนบุรี จ.นครศรีธรรมราช จ.สมุทรปราการ จ.ขอนแก่น และ จ.พระนครศรีอยุธยา จำนวนรวม 954 ราย กลุ่มแรงงานได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถามหรือ การคัดกรองสุขภาพด้วยการตรวจตามความเสี่ยง กลุ่มแรงงานได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถาม/การคัด กรองสุขภาพด้วยการตรวจตามความเสี่ยง จำนวนรวม 634 ราย พบกลุ่มแรงงานได้รับความเสี่ยงจากการทำงาน จำนวนรวม 418 ราย กลุ่มแรงงานได้รับการสื่อสารความเสี่ยง/สุขศึกษา กลุ่มแรงงานได้รับสื่อสารความเสี่ยงรับ/สุขศึกษา จำนวนรวม 634 ราย หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559

16 ผู้ประกอบอาชีพเก็บ คัดแยก และรีไซเคิลขยะทั่วไป ปี 2559
ความเสี่ยงที่พบ 5 อันดับแรก อาการ/ผลกระทบต่อสุขภาพ จากความเสี่ยง 5 อันดับแรก 1. บริเวณที่ทำงานมีฝุ่นละอองหรือควัน จำนวน 304 ราย (ร้อยละ 73) 1. มีอาการปวดเมื่อย / เจ็บตามกล้ามเนื้อเล็กน้อยหลังจากทำงาน จำนวน 243 ราย (ร้อยละ 58) 2. ในการทำงานต้องยกของหนัก จำนวน 278 ราย (ร้อยละ 67) 2. มีอาการผื่นคันที่ผิวหนัง/คัดจมูก จำนวน 217 ราย (ร้อยละ 52) 3. ทำงานกลางแจ้งหรือสัมผัสความร้อนจากแสงแดด จำนวน 199 ราย (ร้อยละ 48) 3. มีอาการจากความเครียดในการทำงานเล็กน้อย จำนวน 149 ราย (ร้อยละ 36) 4. มีความเครียดจากการทำงาน จำนวน 157 ราย (ร้อยละ 38) 4. บาดเจ็บเล็กน้อย เช่น ฟกช้ำ เป็นต้น จำนวน 140 ราย (ร้อยละ 33) 5. เคยได้รับอุบัติเหตุ/บาดเจ็บจากการทำงาน จำนวน 156 ราย (ร้อยละ 37) 5. มีอาการเบื้องต้นจากการทำงานที่มีสารเคมี เช่น ระคายเคืองตา/ผิวหนัง แสบจมูก เป็นต้น จำนวน 123 ราย (ร้อยละ 29)

17 ผลการดำเนินงานในปี 2559 (ขยะอิเล็กทรอนิกส์)
เป้าหมายการดำเนินงานปี 59 ผลการดำเนินงานปี 59 เป้าหมายปี จ. ได้แก่ 3 จ. ได้แก่ จ.กาฬสินธุ์ จ.บุรีรัมย์ และ จ.อุบลราชธานี จำนวนรวม 1,100 ราย ผลการดำเนินงานปี จ. ได้แก่ จ.กาฬสินธุ์ จ.บุรีรัมย์ และ จ.อุบลราชธานี จำนวนรวม 1,238 ราย กลุ่มแรงงานได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถามหรือ การคัดกรองสุขภาพด้วยการตรวจตามความเสี่ยง กลุ่มแรงงานได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถาม/การคัด กรองสุขภาพด้วยการตรวจตามความเสี่ยง จำนวนรวม 827 ราย พบกลุ่มแรงงานได้รับความเสี่ยงจากการทำงาน จำนวนรวม 627 ราย กลุ่มแรงงานได้รับการสื่อสารความเสี่ยง/สุขศึกษา กลุ่มแรงงานได้รับสื่อสารความเสี่ยงรับ/สุขศึกษา จำนวนรวม 827 ราย หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559

18 ผู้ประกอบอาชีพเก็บ คัดแยก และรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2559
ความเสี่ยงที่พบ 5 อันดับแรก อาการ/ผลกระทบต่อสุขภาพ จากความเสี่ยง 5 อันดับแรก 1. ในการทำงานต้องยกของหนัก จำนวน 496 ราย (ร้อยละ 81.7) 1. มีอาการปวดเมื่อย / เจ็บตามกล้ามเนื้อเล็กน้อยหลังจากทำงาน จำนวน 405 ราย (ร้อยละ 67) 2. บริเวณที่ทำงานมีฝุ่นละอองหรือควัน จำนวน 417 ราย (ร้อยละ 68.7) 2. บาดเจ็บเล็กน้อย เช่น ฟกช้ำ เป็นต้น จำนวน 253 ราย (ร้อยละ 42) 3. เคยได้รับอุบัติเหตุ/บาดเจ็บจากการทำงาน จำนวน 282 ราย (ร้อยละ 46.5) 3. มีอาการจากความเครียดในการทำงานเล็กน้อย จำนวน 241 ราย (ร้อยละ 40) 4. มีความเครียดจากการทำงาน จำนวน 272 ราย (ร้อยละ 44.8) 4. ปวด/ชาตามตัว หรืออวัยวะบางส่วนหลังปฏิบัติงาน จำนวน 188 ราย (ร้อยละ 31) 5. ได้รับผลกระทบจากความสั่นสะเทือนจากการทำงาน จำนวน 219 ราย (ร้อยละ 36.1) 5. มีอาการเบื้องต้นจากการทำงานที่มีสารเคมี เช่น ระคายเคืองตา/ผิวหนัง แสบจมูก เป็นต้น จำนวน 170 ราย (ร้อยละ 28)

19 กลุ่มตัดเย็บผ้า และผลิตภัณฑ์จากผ้า

20 เป้าหมายการดำเนินงานปี 59
ผลการดำเนินงานในปี 2559 เป้าหมายการดำเนินงานปี 59 ผลการดำเนินงานปี 59 เป้าหมายปี จ. ได้แก่ ตาก สุโขทัย อุทัย เชียงใหม่ ลำพูน น่าน ลำปาง แพร่ (เพิ่ม พะเยา) ลพบุรี สุพรรณบุรี ขอนแก่น อุดรธานี สกลนคร นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี จำนวนรวม 11,506 ราย ผลการดำเนินงานปี จ. ได้แก่ เชียงใหม่ ลำพูน พะเยา ขอนแก่น และ สุพรรณบุรี จำนวนรวม 1,464 ราย กลุ่มแรงงานได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถามหรือ การคัดกรองสุขภาพด้วยการตรวจตามความเสี่ยง กลุ่มแรงงานได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถาม/การคัด กรองสุขภาพด้วยการตรวจตามความเสี่ยง จำนวนรวม 1,368 ราย พบกลุ่มแรงงานได้รับความเสี่ยงจากการทำงาน จำนวนรวม 652 ราย กลุ่มแรงงานได้รับการสื่อสารความเสี่ยง/สุขศึกษา กลุ่มแรงงานได้รับสื่อสารความเสี่ยงรับ/สุขศึกษา จำนวนรวม 1,464 ราย หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559

21 กลุ่มแกะสลักหิน

22 เป้าหมายการดำเนินงานปี 59
ผลการดำเนินงานในปี 2559 เป้าหมายการดำเนินงานปี 59 ผลการดำเนินงานปี 59 เป้าหมายปี จ. ได้แก่ ลำปาง พะเยา กาฬสินธุ์ นครราชสีมา ชลบุรี จำนวนรวม 2,851 ราย ผลการดำเนินงานปี จ. ได้แก่ ลำปาง พะเยา กาฬสินธุ์ นครราชสีมา ชลบุรี จำนวนรวม 2,831 ราย กลุ่มแรงงานได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถามหรือ การคัดกรองสุขภาพด้วยการตรวจตามความเสี่ยง กลุ่มแรงงานได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถาม/การคัด กรองสุขภาพด้วยการตรวจตามความเสี่ยง จำนวนรวม 2,440 ราย พบกลุ่มแรงงานได้รับความเสี่ยงจากการทำงาน จำนวนรวม 2,319 ราย กลุ่มแรงงานได้รับการสื่อสารความเสี่ยง/สุขศึกษา กลุ่มแรงงานได้รับสื่อสารความเสี่ยงรับ/สุขศึกษา จำนวนรวม 2,440 ราย หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559

23 กลุ่มแท็กซี่

24 เป้าหมายการดำเนินงานปี 59
ผลการดำเนินงานในปี 2559 เป้าหมายการดำเนินงานปี 59 ผลการดำเนินงานปี 59 เป้าหมายปี จำนวนรวม 60,000 ราย (ภายในพื้นที่ กทม. และปริมณฑล) ผลการดำเนินงานปี กลุ่มผู้ประกอบอาชีพขับขี่ รถโดยสารสาธารณะแท็กซี่ ได้รับการตรวจคัดกรองตาม ความเสี่ยง จำนวนรวมประมาณ 500 ราย ภายใต้โครงการ “กรุงเทพฯ หยุดวัณโรค” โดย กทม. ร่วมกับสำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง กลุ่มแรงงานได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถามหรือ การคัดกรองสุขภาพด้วยการตรวจตามความเสี่ยง กลุ่มแรงงานได้รับการสื่อสารความเสี่ยง/สุขศึกษา หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559

25 กรอบแนวคิดแรงงานนอกระบบ ปี 60
จัดทำสถานการณ์/สำรวจข้อมูลกลุ่มแรงงานในพื้นที่โดยร่วมดำเนิน กับเครือข่าย เช่น สสจ. อปท. เป็นต้น สนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน และการตรวจคัดกรองความเสี่ยง สนับสนุนข้อมูลวิชาการ องค์ความรู้ในการสื่อสารความเสี่ยง/สุขศึกษา สนับสนุนการจัดการความเสี่ยงจากการทำงาน/พัฒนาชุมชนต้นแบบในการจัดการความเสี่ยง

26 งานอาชีวอนามัยในแรงงานนอกระบบ
ความเสี่ยงจากการทำงาน การจัดการความเสี่ยง เกษตรกร แกะสลักหิน ตัดเย็บผ้าฯ ขยะ แท็กซี่ ประมง (ศูนย์ระยอง) ก่อสร้าง (กลุ่ม อช.) กลุ่มอื่นๆ (อปท.) สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การยศาสตร์ การบาดเจ็บ อุบัติเหตุ ฝุ่นหิน ฯลฯ การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน เชิงรุก เชิงรับ ตามเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน (11ข้อ) และเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (25 ข้อ)

27 มาตรการและตัวชี้วัด ปี 2560
มาตรการที่ 1 สร้างการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชน ตัวชี้วัดที่ จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่มีการจัดบริการอาชีวอนามัย ให้แรงงานในชุมชน เพิ่มขึ้นปีละอย่างน้อย ร้อยละ 10 ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของการยกระดับการจัดบริการอาชีวอนามัย ให้แรงงานในชุมชน 1 มาตรการที่ 2 สร้างและพัฒนาความร่วมมือของเครือข่ายเพื่อการลดปัจจัยเสี่ยงในการทำงานของแรงงานในชุมชนและแรงงานนอกระบบ ตัวชี้วัดที่ จำนวนพื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนา ร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง 2

28 ตัวชี้วัดที่ 1.1 : จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่มีการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงาน ในชุมชน เพิ่มขึ้นปีละอย่างน้อย ร้อยละ 10 ที่ สคร. จำนวนหน่วยบริการสุขภาพ ปฐมภูมิ (แห่ง) ข้อมูล สนย. 1 ตค. 59 หน่วยบริการฯ ที่จัดบริการอาชีวอนามัยฯ ปี 59 เป้าหมายการจัด บริการอาชีวอนามัยฯ ปี 60 วิธีการคิดเป้า จำนวน (แห่ง) ร้อยละ 1 สคร.1 เชียงใหม่ 1,108 540 48.74 665 60 เพิ่มประมาณ ร้อยละ10 2 สคร.2 พิษณุโลก 627 350 55.82 439 70 3 สคร.3 นครสวรรค์ 586 183 31.23 293 50 ต่ำกว่า 40 เพิ่มเป็น ร้อยละ 50 4 สคร.4 สระบุรี 799 538 67.33 639 80 5 สคร.5 ราชบุรี 915 336 36.72 458 6 สคร.6 ชลบุรี 779 589 75.61 701 90 7 สคร.7 ขอนแก่น 809 304 37.58 405 8 สคร.8 อุดรธานี 875 300 34.29 438 9 สคร.9 นครราชสีมา 952 442 46.43 571 10 สคร.10 อุบลราชธานี 838 358 42.72 461 55 เพิ่มเป็น ร้อยละ 55 11 สคร.11 นครศรีฯ 717 305 42.54 394 12 สคร.12 สงขลา 797 430 53.95 478 ประเทศ 9,802 4,675 47.69 5,942 คิดจากผลรวม สคร.

29 การยกระดับการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงาน ในชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 1.2 : ร้อยละของการยกระดับการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชน ลำดับ การยกระดับการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงาน ในชุมชน ตัวแปร  1 จำนวนหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่จัดบริการ ปี 2559  A 2 ระดับเริ่มต้นเป็นระดับพื้นฐาน ระดับดี ดีมาก ปี 2560  B1 3 ระดับพื้นฐานเป็นระดับดีหรือ ดีมาก ปี 2560  B2 4 กรณีระดับดีเป็นระดับดีมาก ปี 2560  B3 5 กรณีระดับดีมากพัฒนาสู่มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปี 2560  B4 6 จำนวนรวม ที่ได้รับการยกระดับ ปี 2560  B1+B2+B3+B4 7 ร้อยละของการยกระดับการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชน C C = ( B1+B2+B3+B4) X 100 A สูตรการคำนวณ

30 ตัวชี้วัดที่ 2.1 : จำนวนพื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัยที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่าย ในพื้นที่อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง พื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัย หมายถึง ชุมชน/พื้นที่ที่มีการดำเนินการสนับสนุนให้หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมินำข้อมูลการคัดกรองความเสี่ยงของกลุ่มเกษตรกรหรือกลุ่มแรงงานอื่นๆในชุมชน ร่วมกับเครือข่ายในการดำเนินการ ดังต่อไปนี้ 1. นำข้อมูลความเสี่ยงของแรงงานในชุมชน สื่อสารให้กับเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน 2. มีหน่วยงานเครือข่ายอย่างน้อย 1 เครือข่าย ร่วมดำเนินงานด้านการส่งเสริม เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ ของแรงงานในชุมชน เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) สถานศึกษา แรงงานจังหวัด เกษตรตำบล/อำเภอ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพ เป็นต้น 3. มีแผนงานโครงการและดำเนินงานตามแผนงานร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายในพื้นที่หรือสนับสนุนแผนงานโครงการ เช่น มีโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อาทิ การลด ละ เลิกการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในพื้นที่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานที่ปลอดภัย การปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงาน เป็นต้น 4. มีผลลัพธ์การจัดการปัญหาเป็นที่ประจักษ์ ในระดับชุมชน เช่น มีข้อตกลงชุมชน มีตลาดอินทรีย์ แรงงานมีการปรับพฤติกรรมที่ดีขึ้น ผลการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานลดลง เป็นต้น หมายเหตุ ต้องดำเนินการครบทุกข้อ

31 แนวทางการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบด้านอาชีวอนามัย ที่มีการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่
1. พัฒนาชุมชน/พื้นที่ให้เป็นพื้นที่ต้นแบบ โดยสร้างความร่วมมือเครือข่าย ซึ่งมีรูปแบบการดำเนินงาน หรือนวัตกรรมที่ส่งเสริมให้แรงงานในชุมชนมีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของแรงงานในชุมชน 2. สนับสนุน เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งการจัดระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

32 ค่าเป้าหมาย 5 กลุ่มอาชีพ ปี 2560
เป้าหมายตาม MOU ปี 59 เป้าหมายตาม MOU ปี 60 (ค่าประมาณการจากผล การดำเนินงาน ปี 59) เกษตรกร 404,500 600,000 ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ 60,000 36,000 แกะสลักหิน 2,851 ตัดเย็บผ้าฯ 11,506 ขยะทั่วไป 5,000 3,400 ขยะอิเล็กทรอนิกส์ 1,252 รวม 485,109 655,009 หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559

33 การดำเนินงานนโยบายส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพฯ สำหรับกลุ่มแรงงานนอกระบบ จำแนกราย สคร. ปี 2559 สคร. เกษตรกร แท็กซี่ แกะสลักหิน ตัดเย็บผ้าฯ เก็บขยะทั่วไป ขยะอิเล็กทรอนิกส์ เป้า ผล สคร.1 เชียงใหม่ 45,500 72,184 - 385 253 400 638 สคร.2 พิษณุโลก 26,100 31,113 200 สคร.3 นครสวรรค์ 18,500 35,322 สคร.4 สระบุรี 48,300 8,796 100 32 สคร.5 ราชบุรี 15,000 13,311 132 สคร.6 ชลบุรี 30,000 40,755 30 27 106 สคร.7 ขอนแก่น 24,300 69,551 36 23 2000 598 1,000 108 500 300 สคร.8 อุดรธานี 26,900 46,783 6,306 สคร.9 นครราชสีมา 28,800 59,046 2,400 2,137 273 สคร.10 อุบลราชธานี 34,100 11,001 254 สคร.11 นครศรีฯ 14,550 10,774 116 สคร.12 สงขลา 25,000 19,865 สปคม.  - 60,000 ประเทศ 337,050 418,501 2,851 2,440 11,506 1,368 462 1,100 827 ข้อมูล ณ 18 ตุลาคม 2559

34 การรายงานผลการดำเนินงานฯ แรงงานนอกระบบ ปี 60
1. แบบรายงาน 1.1 occ นบ.01 (ฉบับปรับปรุงปี 60) 1.1 occ นบ.02 (ฉบับปรับปรุงปี 60) 2. วิธีการรายงาน 2.1. สสจ./สสอ. รวบรวมรายงาน occ นบ.01 จาก หน่วยบริการสุขภาพ ปฐมภูมิ และรวบรวม สรุปข้อมูลลงในแบบ occ นบ.02 2.2 สคร. รวบรวมรายงาน occ นบ.02 จาก สสจ. ส่ง สำนักฯ โดยการแนบไฟล์ในระบบ Estimate SM กรมควบคุมโรค (กรณี Estimate SM มีปัญหา สามารถส่งทาง 3. ช่วงเวลาการายงาน ครั้งที่ 1  20 มีนาคม 2560 ครั้งที่ 2  20 มิถุนายน 2560 ครั้งที่ 3  31 สิงหาคม 2560 (กรณีผู้บริหารต้องการข้อมูลนอกเหนือจากช่วงเวลาที่กำหนด อาจต้องขอความอนุเคราะห์ข้อมูลจาก สคร. เพิ่มเติม)

35 แนวทางการสนับสนุนการดำเนินงาน ปี 2560
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 1. ผลักดันนโยบาย พัฒนากลไกการขับเคลื่อนนโยบาย (ร่วมกับ สสส. , สปสช) 2. บูรณาการเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน และเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัย ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3. พัฒนาชุดตรวจ Test kit ตรวจในปัสสาวะ สำหรับสารออร์กาโนฟอสเฟตและพาราควอท (ข้อมูลเพิ่มเติมโดยศูนย์อ้างอิงฯ) 4. สนับสนุนแนวทางการจัดการความเสี่ยง เช่น (นำร่อง) การจัดการความเสี่ยงด้านกายรศาสตร์ เป็นต้น 5. พัฒนาแบบคัดกรอง แบบบันทึกข้อมูล และปรับปรุงแบบรายงานติดตามผลการดำเนินงาน 6. พัฒนาแนวทางการลงรหัส ICD- 10 และระบบ HDC (ข้อมูลเพิ่มเติมโดยกลุ่มข่าวกรองฯ) 7. สนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ แผ่นพลิก แผ่นพับ สนับสนุนวิชาการ/องค์ความรู้ วัสดุวิทยาศาสตร์ 8. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการหรือจัดเวทีเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น มีการนำเสนอพื้นที่ต้นแบบฯ หรือ เผยแพร่ข้อมูลพื้นที่ต้นแบบฯ ให้กับพื้นที่ต้นแบบได้เรียนรู้ เป็นต้น (บูรณาการกับงานอื่น) 9. การติดตาม สนับสนุน ลงพื้นที่สนับสนุน ติดตาม

36 แนวทางการสนับสนุนการดำเนินงาน ปี 2560
สำนักป้องกันควบคุมโรค 1. ร่วมดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงาน 2. ถ่ายทอดแนวทางและเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชนระดับจังหวัด /สนับสนุนวิทยากร 3. สนับสนุนให้หน่วยบริการสุขภาพเข้าร่วมการจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชนและประเมินตนเองตามเกณฑ์ฯ 4. สนับสนุน เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งการจัดระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ 5. สนับสนุนการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพของกลุ่มแรงงานในพื้นที่ร่วมกับเครือข่าย เช่น การจัดการความเสี่ยง(ด้านการยศาสตร์) เป็นต้น 6. พัฒนาศักยภาพเครือข่ายให้กับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ เครือข่ายในการจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ 7. พัฒนาศักยภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายในการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในพื้นที่ 8. สนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ แผ่นพลิก แผ่นพับ สนับสนุนวิชาการ/องค์ความรู้ วัสดุวิทยาศาสตร์ 9. สนับสนุนให้หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิใช้งบประมาณจากกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ 10. พัฒนาชุมชน/พื้นที่ให้เป็นพื้นที่ต้นแบบ โดยสร้างความร่วมมือเครือข่าย 11. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือสรุปบทเรียนการดำเนินงานระดับเขต (บูรณาการร่วมกับงานอื่น) 12. กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และรายงานผลการดำเนินงาน

37 นโยบายที่เกี่ยวข้อง มติสมัชชาสุขภาพ (รายละเอียดตามเอกสารเพิ่มเติม) - มติ 1.12 นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาวะของแรงงานนอกระบบ - มติ 5 ความปลอดภัยทางอาหาร : การแก้ไขปัญหาจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช - มติ 1 สุขภาวะชาวนา : การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายองค์กรชาวนา MOU 14 หน่วยงาน (รายละเอียดตามเอกสารเพิ่มเติม) - นโยบาย การส่งเสริม ป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพสำหรับกลุ่มแรงงานนอกระบบ SAFETY THAILAND (รายละเอียดตามเอกสารเพิ่มเติม) - นโยบายการขับเคลื่อนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย CIPO อาหารปลอดภัย (รายละเอียดตามเอกสารเพิ่มเติม) - การจัดการต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ WHO : WHO/European on Occupational Health Service (WHO, 1989) ILO : ILO Convention 161 (1985)

38 นโยบาย การส่งเสริม ป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพสำหรับกลุ่มแรงงานนอกระบบ
MOU 14 หน่วยงาน นโยบาย การส่งเสริม ป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพสำหรับกลุ่มแรงงานนอกระบบ

39 Safety Thailand นโยบายการขับเคลื่อนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยประเทศไทย

40 Safety Thailand โครงการบูรณาการความร่วมมือด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ระหว่าง 6 หน่วยงาน ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงคมนาคม เพื่อขับเคลื่อนด้านความปลอดภัยในการทำงาน ใน 3 มิติ มิติที่ 1 การดำเนินงานด้านการสร้างการเรียนรู้ มิติที่ 2 การบังคับใช้ มิติที่ 3 การมีส่วนร่วมในรูปแบบประชารัฐ การดำเนินงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน ในนระยะสั้น 3 ด้าน - ความปลอดภัยในการทำงานก่อสร้าง - การป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ - ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย

41


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ กลุ่มแรงงานนอกระบบ ปีงบประมาณ 2560.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google