ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยไพศาล หงสกุล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
“สัมมนา 1 (Seminar I)” Part 1 การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย Part 2 ความรับผิดชอบต่อสังคมกับธุรกิจท่องเที่ยว จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 ถนนเพลินจิต วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม 2558 เวลา เวลา น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
2
Part 1 การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
3
1. ทำไม ASEAN จึงเกิดขึ้น ?
1.1 เพิ่มอำนาจต่อรองในเวทีโลก 1.2 เป็นหนทางที่ทำให้ประเทศกินดีอยู่ดีที่เพิ่มขึ้น โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
4
2.ข้อเสนอเป้าหมายร่วมกันในการเป็นประชาคมอาเซียน
2.1 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 1) ระบบภาษีร่วม 2) มาตรฐานสินค้า 3) มาตรฐานและการเคลื่อนย้ายแรงงาน โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
5
2.2 ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (AESC)
1) รัฐสภาอาเซียน 2) กองกำลังร่วม 3) United States of ASEAN – USAs 4) ASEAN way 5) การตกลงกันด้วยวิธีฉันทามติ Consensus ไม่ใช้วิธีโหวต โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
6
2.3 เสาสังคมและวัฒนธรรม (ASCC)
1) ความหลากหลายทางเพศ 2) การคุ้มครองสวัสดิการสังคม 3) ความยุติธรรมในสังคม 4) สิ่งแวดล้อม 5) อัตลักษณ์ของอาเซียน โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
7
3. การวิเคราะห์อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศในอาเซียน
หัวข้อสำหรับการมีส่วนร่วม ให้นักศึกษาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศในอาเซียน? โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
8
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของประเทศบรูไนดารุสซาลาม?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
9
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชา?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
10
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
11
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของประเทศอินโดนีเซีย?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
12
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของประเทศมาเลเซีย?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
13
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของประเทศพม่า?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
14
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของประเทศฟิลิปปินส์?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
15
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของประเทศสิงคโปร์?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
16
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
17
ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ และวิเคราะห์อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวของประเทศไทย?
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
18
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบอัตราภาษีในกลุ่มประเทศอาเซียน ปี 2557
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
19
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
20
4. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนส่งผลต่อภาคการท่องเที่ยวของไทยอย่างไร?
4.1 การขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยว AEC ลดข้อจำกัดในการเคลื่อนย้ายของนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและนอกภูมิภาคจะเพิ่มขึ้น ประเทศไทยมีโอกาสต้อนรับนักท่องเที่ยวมากขึ้น เพราะตั้งอยู่ ศูนย์กลางภูมิภาค โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
21
4.2 การแข่งขันด้านการท่องเที่ยวรุนแรงขึ้น
ระดับประเทศ มีการแข่งขันกันเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว เช่น การสร้างแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น การจัด event ระดับนานาชาติ การแข่งขันกันเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ในระดับธุรกิจ ธุรกิจท่องเที่ยวไทยแข่งขันกับธุรกิจต่างชาติมากขึ้น ธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศไทยมีต่างชาติเป็นเจ้าของมากขึ้น ต่างชาติเข้ามาลงทุนเพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวจากประเทศของตนเอง โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
22
4.3 บริการท่องเที่ยวในภูมิภาคมีความเชื่อมโยงกันมากขึ้น
AEC มีความร่วมมือในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในภูมิภาค การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมเชื่อมโยงระหว่าง ประเทศ นักท่องเที่ยวมีความต้องการเดินทางท่องเที่ยวหลายประเทศใน แต่ละทริป บริการท่องเที่ยวในอาเซียนมีแนวโน้มเป็นเครือข่ายบริการระดับ ภูมิภาค โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
23
4.4 วัตถุประสงค์และรูปแบบการท่องเที่ยวมีความ หลากหลายมากขึ้น
4.4 วัตถุประสงค์และรูปแบบการท่องเที่ยวมีความ หลากหลายมากขึ้น การเปิดเสรี ทำให้มีการเดินทางด้วยวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ มากขึ้น การเดินทางข้ามประเทศที่สะดวกขึ้น ทำให้มีการเข้ามารับ บริการข้ามประเทศ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเพื่อทำศัลยกรรม การเข้ามาศึกษา ฝึกอบรม โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
24
4.5 การท่องเที่ยวส่วนบุคคลขยายตัวมากขึ้น
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้คนทั่วโลกเข้าถึงข้อมูล การท่องเที่ยวมากขึ้น การพัฒนาเส้นทางคมนาคมระหว่างประเทศ และความ สะดวกในการข้ามแดน ทำให้มีการท่องเที่ยวส่วนบุคคล โดยการเดินทางท่องเที่ยว ทางบกมากขึ้น โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
25
4.6 การพัฒนาขึ้นของเส้นทางและแหล่งท่องเที่ยวใหม่ๆ
การสร้างเส้นทางคมนาคมข้ามประเทศ ทำให้เกิดเส้นทางและแหล่ง ท่องเที่ยวใหม่ๆ เช่น แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตามโครงการเส้นทางระเบียง เศรษฐกิจ (ภาพที่ 1) โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
26
ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554)
ภาพที่ 1 การพัฒนาแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Corridors Development) โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา, ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554)
27
ระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor)
เชื่อมโยงระหว่างเมืองเมาะละแหม่ง เมียนม่าร์ ระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor) เชื่อมโยงระหว่างนครคุนหมิง จีน ผ่านเชียงรายที่อำเภอแม่สายและเชียงของ และไปสิ้นสุดที่กรุงเทพฯ ระเบียงเศรษฐกิจแนวใต้ (Southern Economic Corridor) เชื่อมโยงระหว่างกรุงเทพฯ ไปยังกัมพูชาและเวียดนาม โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
28
4.7 การพัฒนาของมาตรฐานสากลของบริการท่องเที่ยวในภูมิภาค
เพื่ออำนวยความสะดวกและให้ความคุ้มครองนักลงทุน ต่างชาติในธุรกิจนี้ เพื่อเป็นหลักประกันและคุ้มครองสิทธิของนักท่องเที่ยวและ ผู้รับบริการ เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินธุรกรรมและให้บริการ ข้ามพรมแดน โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
29
Part 2 ความรับผิดชอบต่อสังคมกับ ธุรกิจท่องเที่ยว
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
30
1.ปรัชญา ความหมาย และแนวทาง ของความรับผิดชอบต่อสังคม
สัญญาประชาคม (Social Contract) เอกชนควรรับผิดชอบต่อสังคมอย่างไร? Sole Responsibility ? Partial Responsibility ? Additional Responsibility ? Optional Responsibility ? Joint Responsibility ? => Secondary Joint Responsibility โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
31
รูปแบบสัญญาประชาคม? Corporate Social Responsibility (CSR)
Public Social Responsibility (PSR) Civil Society Social Responsibility (CSSR) โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
32
1.1 Corporate Social Responsibility (CSR)
• เป้าหมายทำธุรกิจเอื้อประโยชน์และเห็นความสำคัญคนส่วนใหญ่ คำนึง ผลกระทบ ตัวอย่าง Merck o ยึดถือค่านิยมหลักขององค์กร ว่า “เราอยู่ในธุรกิจแห่งการธำรงรักษาและ พัฒนาชีวิตของมนุษย์” o ตัดสินใจช่วยเหลือชาวญี่ปุ่นโดยไม่ได้คำนึงถึงผลตอบแทนเชิงธุรกิจ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
33
1.2 Public Social Responsibility (PSR)
•จิตสำนึกผู้บริหารประเทศซื่อสัตย์ รับผิดรับชอบ •โปร่งใส รับผิดชอบต่อประชาชน •ประชาชนกล้าตรวจสอบใช้อำนาจรัฐ •ส่งผล“ซ่อนเร้น” “หมกเม็ด” “เก็บเงียบ” ทำได้ยาก เพราะจะถูกเปิดเผย •ไม่ได้ยึดพวกพ้อง/อำเภอใจ ไม่เลือกปฏิบัติ เสมอภาคกัน •ภาคราชการปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น •หน่วยงานภาครัฐทำหน้าที่เสมือนตัวแทนประเทศ ดำเนินนโยบายชาญฉลาด รักษาผลประโยชน์ประเทศมากที่สุด โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
34
1.3 Civil Society Social Responsibility (CSSR)
เน้นขยายเครือข่ายแบบหุ้นส่วนทางสังคม มีความหลากหลาย กว้างขวาง และครอบคลุมประเด็นปัญหาทั้ง เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มากขึ้น โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
35
ตัวอย่าง เหตุการณ์ระเบิดในประเทศจีน
ที่มาภาพ: BBC ไทย โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
36
โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ
ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
37
2. ความรับผิดชอบต่อสังคมในมิติต่าง ๆ
สิ่งแวดล้อม การเคารพสิทธิมนุษยชน การกำกับดูแลกิจการที่มีธรรมาภิบาล การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ความรับผิดชอบต่อสังคมด้านแรงงาน โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
38
3. ปัจจัยที่ผลักดันทำให้ธุรกิจนำแนวคิด CSR มาใช้
3.1 แรงผลักดันจากภายในบริษัท • เกิดจากจิตสำนึกของผู้บริหาร • เกิดจากการเล็งเห็นประโยชน์ของการทำ CSR โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
39
3.2 แรงผลักดันของสังคมภายในประเทศ
• เกิดจากกระแสสังคมบังคับให้ทำ CSR • เกิดจากแรงผลักดันของผู้บริโภค • เกิดจากแรงผลักดันผ่านสื่อมวลชน • เกิดจาก NGO/Activist pressure โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
40
3.3 แรงผลักดันจากภาครัฐ • การสนับสนุนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
• นโยบายและมาตรการภาครัฐมีผลน้อย โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
41
3.4 แรงผลักดันจากต่างประเทศ
• เกิดจากแรงผลักดันจากองค์กรระหว่างประเทศ • เกิดจากผลกระทบของการเข้ามาลงทุนของบรรษัทข้ามชาติ • เกิดจากมาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
42
4. CSR มีความสำคัญอย่างไรต่อความยั่งยืนของธุรกิจ
4.1 CSR เป็นแนวทางที่สอดคล้องกับการสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจ 4.2 CSR สร้างความน่าเชื่อถือให้กับธุรกิจ 4.3 CSR สร้างเกราะป้องกันความเสี่ยงจากการถูกต่อต้าน 4.4 CSR สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับนักลงทุนและการเข้าถึงแหล่งทุน 4.5 CSR สร้างการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ 4.6 CSR ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการดำเนินงาน โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
43
5. กลยุทธ์สำหรับองค์กรที่ต้องการทำ CSR
5.1 ย้ายกระบวนทัศน์ความคิดจากเป้าหมาย “ความมั่งคั่งขององค์กร” สู่ “ความมั่งคั่งของสังคม” 5.2 ย้ายความสนใจจาก “ลูกค้า” สู่ “ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย” ในสังคมที่กว้างขึ้น 5.3 สร้าง “อุดมคติหลัก (core ideology)” ขององค์กรที่มุ่งทำเพื่อสังคม 5.4 สร้าง “ค่านิยมหลัก (Core values)” ขององค์กร ที่เน้นการสร้าง “คุณค่า” ให้สังคม โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
44
5. 5 ดำเนินกิจกรรมที่เข้าไปทำงาน “ร่วมกับ” สังคม 5
5.5 ดำเนินกิจกรรมที่เข้าไปทำงาน “ร่วมกับ” สังคม 5.6 ดำเนินงาน CSR เพื่อเป้าหมายสร้าง “นวัตกรรมทางสังคม” 5.7 เปลี่ยนแปลงการดำเนินงานของบริษัทเพื่อแสดงให้เห็นถึงความ รับผิดชอบต่อสังคมในทุกกระบวนการขององค์กร 5.8 ส่งเสริมพนักงานให้เป็นอาสาสมัครเพื่อสังคมในชุมชน 5.9 สร้างระบบการวัดผลใหม่ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
45
หัวข้อสำหรับการอภิปราย
ให้นักศึกษา เสนอแนะว่า ผู้ประกอบการท่องเที่ยวของไทยควรปรับตัว อย่างไร? กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และ CSR (โดยเลือก 1 ประเภทธุรกิจที่ไม่ซ้ำกัน) ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว อาทิ MICE, short/ long Stay, ธุรกิจอาหาร, Medical tourism, ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ, ท่องเที่ยววิถีไทย, ธุรกิจการขนส่ง, ธุรกิจ บันเทิงและนันทนาการ, ธุรกิจจำหน่ายสินค้าของที่ระลึก ฯ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ ประธานสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา,
46
บริษัท ศูนย์ฝึกอบรมและที่ปรึกษา ไอเอฟดี จำกัด
สถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนาได้ให้บริการงานวิจัย ฝึกอบรม และคำปรึกษาการดำเนินโครงการให้กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรระหว่างประเทศมากกว่า 500 หน่วยงานอย่างต่อเนื่องตลอด 25 ปีที่ผ่านมา บริษัท ศูนย์ฝึกอบรมและที่ปรึกษา ไอเอฟดี จำกัด ให้บริการคำปรึกษา ด้านการบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ • จัดโครงการฝึกอบรม ตามความต้องการของหน่วยงาน • ฝึกอบรมสำหรับบุคคลทั่วไป (Public Training) และฝึกอบรมแบบ In-house • จัด Walk Rally และงานสัมมนา (บริการทั้งด้านการจัดโปรแกรมและที่พัก) • บริการสำรวจความคิดเห็น การทำ Poll การวิจัยเชิงสำรวจ • กิจกรรมพิเศษ (Event) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม 87/110 อาคารโมเดอร์นทาวน์ ชั้น 14 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์สำนักงาน โทรศัพท์สายตรง : โทรสาร : อีเมล์: ,
47
กองทุนเวลาเพื่อสังคม
FB: Timebanksociety Thai Tel. & Fax : ตู้ ป.ณ. 420 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110 Website: , โทรศัพท์ : โทรสาร : ตู้ ป.ณ. 369 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110
48
ติดต่อ โทร. : 081-776-8989 E-mail : kriengsak@kriengsak.com
drdancando Line ID: drdanisme
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.