งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Health Promotion Model (HPM) Pender, Nola J.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Health Promotion Model (HPM) Pender, Nola J."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Health Promotion Model (HPM) Pender, Nola J.
Dr. Luckwirun Chotisiri.

2 หัวข้อการเรียนรู้ ประวัติผู้พัฒนาทฤษฎี ความหมายของสุขภาพ
นิยามสุขภาพของ Pender แนวคิดหลักและคำจำกัดความ แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของ Pender การนำทฤษฎีไปใช้ในกระบวนการพยาบาล

3 ผู้พัฒนาทฤษฎีแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model)
Pender, Nola J. (The Nurse Theorists V2 - Nola Pender Promo) Source:

4 Feather’s Expectancy Value Theory
ความเป็นมาของทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพ Feather’s Expectancy Value Theory Bandura’s Social Cognitive Theory

5 ความหมาย การสร้างเสริมสุขภาพ ของเพนเดอร์ (Pender, 1996) การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของบุคคล หรือกลุ่มคน เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ที่ดี อย่างมีเป้าหมายเท่าที่จะกระทำได้ เพนเดอร์ (Pender, 1987, 2011) สุขภาพ 3 ลักษณะ คือ 1) สุขภาพ เป็นความปกติความ สมดุล และความมั่นคงของร่างกาย 2) สุขภาพ เป็นความสำเร็จของการ พัฒนาสุขภาพจากระดับหนึ่ง ไปอีกระดับหนึ่งที่สูงขึ้น 3) ความหมาย 2 แบบ คือ สุขภาพ เป็นความสมดุลของร่างกาย และเป็น การพัฒนาสุขภาพจากระดับหนึ่ง ไปสู่อีกระดับหนึ่ง

6 Keywords Person Environment Nursing Health Illness
คุณลักษณะของบุคคล (Individual characteristics) ประสบการณ์ของบุคคล(Individual experiences) การคิดรู้และอารมณ์ที่จำเพาะต่อพฤติกรรม (Behavioral specific cognitions and affect) พฤติกรรมที่แสดงออกมา (Behavioral Outcome) การรู้ตัวแปร ที่เป็นปัจจัยต่อการเกิดพฤติกรรมจะเป็น ประโยชน์ต่อการออกแบบกิจกรรมเพื่อสนับสนุนให้เกิด พฤติกรรม “แต่ละบุคคลมีลักษณะและความเฉพาะของปัจจัยที่ จะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม” Person Environment Nursing Health Illness

7 ความเป็นมาในการพัฒนาแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของ Pender
1975 เน้นการป้องกันและคงไว้ซึ่งสุขภาพของสาธารณชน   1982 เสนอแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ

8 ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบจำลอง
การเห็นความสำคัญของสุขภาพ (Importance of health) คือ การที่บุคคลมองว่าสุขภาพ คือสิ่งที่มีคุณค่าที่ควรแสวงหา 2. การรับรู้ว่าสุขภาพสามารถควบคุมได้ (Perceived control of health) บุคคลรับรู้และเชื่อว่า สามารถเปลี่ยนแปลงสุขภาพได้ตามต้องการ 3. รับรู้ความสามารถของตน (Perceive self – efficacy) บุคคลมีความเชื่อว่า พฤติกรรมสามารถเกิดได้ตามที่บุคคลกำหนด

9 ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบจำลอง
4. คำจำกัดความของสุขภาพ (Health) มีตั้งแต่การไม่มีโรคจนถึงสุขภาพสูงสุดทำให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 5. การรับรู้สภาวะสุขภาพ (Perceived health status) สภาวะที่รู้สึกดี หรือรู้สึกป่วยสามารถ แยกได้จากพฤติกรรมสุขภาพ 6. การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรม (Perceived benefits of behaviors) บุคคลจะมีความโน้มเอียงสูงที่จะเริ่มหรือทำต่อเนื่องในพฤติกรรมนั้น ๆ ถ้ารับรู้ว่ามีประโยชน์ต่อ สุขภาพ 7. การรับรู้ถึงอุปสรรคของพฤติกรรม (Perceived barriers to health promoting behaviors) ถ้าบุคคลรับรู้ว่าพฤติกรรมนั้นยากลำบาก จะทำให้มีความตั้งใจลดลงในการปฏิบัติตาม

10 กรอบแนวคิด Health Promotion Model ปรับปรุงใหม่ (1996)
พฤติกรรมเดิม (Prior related behavior) คือ พฤติกรรมที่เป็นองค์ประกอบ มีผลโดยตรงและโดยอ้อม และมีความ เชื่อมโยงกับการรับรู้ถึงความสามารถของตน พฤติกรรมในอนาคตจะได้รับอิทธิพลจาก ความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการ กระทำที่คล้ายคลึงในอดีต 2. กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับผล(Activity-related affect) ความรู้สึกทั้งด้านบวกและด้านลบ ในพฤติกรรมบางอย่าง มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรม และมีอิทธิพลโดยอ้อมถึงการรับรู้ใน ความสามารถของตน

11 กรอบแนวคิด Health Promotion Model ปรับปรุงใหม่ (1996)
3. การยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ(Commitment to a plan of action) แนวคิดที่ตั้งใจเป็นแผนกลยุทธ์ที่เป็นเหตุนำมาซึ่งความตั้งใจที่จะเป็น แผนในการปฏิบัติซึ่งเกิดขึ้นเองหรือ บุคคลอื่นมีส่วนรับรู้ 4. ความต้องการ ความชอบที่เกิดขึ้นแทรกทันที (Immediate competing demands and preferences) การที่บุคคลจะเลือกปฏิบัติ ความต้องการที่จะปฏิบัติอาจไม่สำเร็จ เพราะ ไม่สามารถจัดการกับสิ่งแวดล้อมได้ ความชอบเป็นสิ่งที่มีพลังสำคัญต่อการ เลือกปฏิบัติ เช่น บางครั้งตั้งใจจะไปออกกำลังกาย แต่กลับแวะเดินเที่ยวซื้อ ของใน ศูนย์การค้า เป็นต้น

12 ความเป็นมา ในการพัฒนาแบบจำลอง การส่งเสริมสุขภาพของ Pender
แนวปฏิบัติ 9 องค์ประกอบ ในการประเมิน (Pender et al., 2002, p.119) ความเป็นมา ในการพัฒนาแบบจำลอง การส่งเสริมสุขภาพของ Pender 1. การประเมินแบบแผนสุขภาพ 2. การประเมินความพร้อมด้านร่างกาย 3. การประเมินด้านอาหาร 4. การประเมินพฤติกรรมเสี่ยง 5. การทบทวนความเครียดในวิถีชีวิต 6. การประเมินสุขภาพในมิติจิตวิญญาณ 7. การทบทวนระบบสนับสนุนทางสังคม 8. การทบทวนความเชื่อด้านสุขภาพ 9. การประเมินวิถีชีวิต ประยุกต์มาใช้ในการส่งเสริม การออกกำลังกาย การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต  

13 ความเป็นมาในการพัฒนาแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของ Pender
แบบจำลองฉบับปรับปรุง 

14 พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ Pender et al. (2006)
การกระทำที่มีเป้าหมายสำคัญในการยกระดับความเป็นอยู่ที่ดี และการบรรลุ เป้าหมายในการมีสุขภาพที่ดีของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม ควบคุมดูแลสุขภาพให้ได้ตามเป้าหมาย และปฏิบัติกิจกรรมนั้นๆ จนเป็นแบบ แผนการดำเนินชีวิต

15 แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพฉบับปรับปรุง (Health Promotion Model Revised:2006) 
ที่มา          (Pender, N.J., Murdaugh, C.L. & Parsons, M.A., 2006 : 50);  

16 บทบาทพยาบาลกับการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
“พยาบาล” มีบทบาทในการดูแลด้านสุขภาพ ต้องการองค์ความรู้ในการนำมาออกแบบกิจกรรม หรือวางแผนให้บุคคล ชุมชน ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง

17 การวางแผนการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ของ Pender ภายใต้การมีส่วนร่วม ทั้งผู้รับบริการ และพยาบาล กำหนดไว้ 9 ขั้นตอน (Pender et al., 2002, p.149) 1. ทบทวน และสรุปข้อมูลจากการประเมิน 2. สร้างความเข้มแข็ง และเสริมสมรรถนะของผู้รับบริการ 3. ระบุเป้าหมายสุขภาพ และพฤติกรรมที่ต้องการเปลี่ยนแปลง

18 4. ระบุผลลัพธ์พฤติกรรมและสุขภาพที่บ่งชี้ว่า
การวางแผนการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ของ Pender ภายใต้การมีส่วนร่วม ทั้งผู้รับบริการ และพยาบาล กำหนดไว้ 9 ขั้นตอน (Pender et al., 2002, p.149) 4. ระบุผลลัพธ์พฤติกรรมและสุขภาพที่บ่งชี้ว่า แผนประสบความสำเร็จตามมุมมองของผู้รับบริการ 5. วางแผนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากพื้นฐานความชอบของผู้รับบริการ ภายใต้ระยะการเปลี่ยนแปลง 6. แสดงประโยชน์ของการเปลี่ยนแปลง และระบุแรงจูงใจ เพื่อเปลี่ยนแปลงจากมุมมองของผู้รับบริการ

19 การวางแผนการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ของ Pender ภายใต้การมีส่วนร่วม ทั้งผู้รับบริการ และพยาบาล กำหนดไว้ 9 ขั้นตอน (Pender et al., 2002, p.149) 7. ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม และปฏิสัมพันธ์ที่เอื้อหรือเป็นอุปสรรค ต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 8. กำหนดกรอบช่วงเวลาในการปฏิบัติ 9. ยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ และสนับสนุนสิ่งที่เป็นความจำเป็นต่อการบรรลุ เป้าหมายของผู้รับบริการ

20 รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ (Pender’s Health Promoting Model) ฉบับปรับปรุง 2006

21 รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ (Pender’s Health Promoting Model) ฉบับปรับปรุง 2006
1. ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบจำลอง (7 ข้อ) 2. สาระของทฤษฎี แผนภาพของแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพฉบับปรับปรุง (Health Promotion Model Revised)  ที่มา    Pender, N.J., Murdaugh, C.L. & Parsons, M.A., 2006 : 50 3. มโนทัศน์หลักของแบบจำลอง (3 มโนทัศน์หลัก)     1. ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล (Individual Characteristics and Experiences) 2. ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect) 3. พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)

22 แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพฉบับปรับปรุง (Health Promotion Model Revised:2006) 
SOURCE: Pender, N.J., Murdaugh, C.L. & Parsons, M.A., 2006 : 50);  

23 เว็บไซต์แนะนำ LTH_PROMOTION_MANUAL_Rev_ pdf?sequence=1&isAllowed=y


ดาวน์โหลด ppt Health Promotion Model (HPM) Pender, Nola J.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google