งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูงเชียงราย (ดอยช้าง)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูงเชียงราย (ดอยช้าง)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูงเชียงราย (ดอยช้าง)

2 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูงเชียงราย (ดอยช้าง)
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูงเชียงราย  ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านดอยช้าง ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัด เชียงราย สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง มีความลาดชันมากกว่า 35% จุดต่ำสุด และสูงสุด จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ 1,200 ถึง 1,700 เมตร ศูนย์ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ด้านการเกษตร แหล่งอนุรักษ์ความหลากหลายของชา ไม้ผล เมืองหนาว ไม้ดอกไม้ประดับโดยเฉพาะว่านสี่ทิศ และพืชสมุนไพร รวมทั้งการผลิตกาแฟเลื่องชื่อแบบครบวงจร มีจุดชมวิว มี บ้านพัก/เต็นท์ ร้านค้า ร้านอาหารให้บริการ เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2528 โดยสำนักงาน ปปส. โครงการพัฒนาที่สูงไทย-เยอรมัน ขอความร่วมมือ มายังกรมวิชาการเกษตรให้จัดตั้งหน่วยทดลองเกษตรที่สูงในพื้นที่โครงการพัฒนาที่สูงไทย-เยอรมัน เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าทดสอบพันธุ์พืชและแหล่งข้อมูลทางวิชาการเกษตรต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการส่งเสริมการพัฒนาการเกษตรแก่ ชาวไทยภูเขา เพื่อใช้เป็นพืชปลูกทดแทนการปลูกฝิ่น

3 ยุทธศาสตร์ของศูนย์วิจัยฯ
ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ 1. ทำให้ ศูนย์วิจัยฯ เชียงราย น่าอยู่ โดยทำให้ ศูนย์วิจัยฯ เชียงราย สวย สะอาด มั่นคงปลอดภัย สังคมเข้มแข็ง ประชาชนได้รับบริการที่ดีจากรัฐ 2. ทำให้ ศูนย์วิจัยฯ เชียงราย น่าทำงาน ส่งเสริมบุคลากรให้เป็นเลิศทางด้านการวิจัย การพัฒนาและการขยายพันธุ์พืชของกรมวิชาการเกษตรและพืชในท้องถิ่น 3. ทำให้ ศูนย์วิจัยฯ เชียงราย น่าเที่ยว การพัฒนาให้ศูนย์เป็นที่ท่องเที่ยวทางการเกษตร สถานที่ประชุม สัมมนา กิจกรรมนันทนาการและเป็นแหล่งเรียนรู้ ชุมชน ธรรมชาติวัฒนธรรมและการเกษตร 4. ทำให้ ศูนย์วิจัยฯ เชียงราย ผลิตอาหารปลอดภัย ( น่ากิน ) เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและอาหารที่ปลอดภัย เพื่อการส่งออกและบริโภคภายในประเทศ

4 งานที่ปฏิบัติ กาแฟอาราบิกา มะคาเดเมียนัท การขยายพันธุ์พืช ชา การจัดสวน
ปุ๋ยและ GAP

5 กาแฟอาราบิกา การเพาะกล้ากาแฟ

6 การดูแลกล้ากาแฟหลังการเพาะ

7 การใส่ปุ๋ยกาแฟ

8 การแปรรูปกาแฟ

9 มะคาเดเมียนัท การเพาะกล้ามะคาเดเมียนัท

10 การแปรรูปมะคาเดเมียนัท

11 การขยายพันธุ์พืช ปักชำ/เสียบยอดมะนาว การติดตากุหลาบ การขยายพันธุ์ว่านสี่ทิศ

12 ชา การเพาะกล้าชา

13 การแปรรูปชา

14 การจัดสวน

15 ปุ๋ยและGAP

16 วันปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติฯ

17 วิเคราะห์การเรียนรู้จากการฝึกภาคสนามเชื่อมโยงกับรายวิชาที่เคยเรียนในคณะทรัพยากรธรรมชาติ
วิชาการติดต่อสื่อสารทางการเกษตร วิชาองค์กรและสถาบันทางการเกษตร วิชาเศรษฐกิจชุมชน วิชาความอุดมสมบูรณ์ของดิน วิชากีฏวิทยา วิชาโรคพืช วิชาหลักการบริหารจัดการและมารตฐานสากล วิชาหลักการขยายพันธุ์พืช วิชาการตกแต่งสถานที่

18 เปรียบเทียบความคาดหวังจากการฝึกงานภาคสนาม
สิ่งที่คาดหวัง คาดว่าจะได้ออกพื้นที่ พบกับเกษตรกร คาดหวังว่าจะได้รับความรู้เพิ่มเติมจากลักษณะภูมิประเทศที่ต่างกัน คาดหวังว่าจะได้ประสบการณืใหม่ๆ สิ่งที่ได้รับ ได้ความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรที่สูง ได้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชที่สูง ได้ความรู้เกี่ยวการแปรรูปพืชที่สูงจากหน่วยงานทดลอง ได้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจรับแปลง GAP ได้เรียนรู้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ การเข้าสังคม ได้รับการต้อนรับที่อบอุ่นจาก อาจารย์ พี่ และ ชาวบ้าน สิ่งที่ไม่ได้รับ ได้ออกพื้นที่น้อยกว่าที่คาดไว้

19 วิเคราะห์หน่วยงานที่เข้ารับการฝึกภาคสนาม
จุดแข็ง 1.มีนักวิชาการ ข้าราชการชำนาญการ ที่มีความรู้ความสามารถจำนวนมาก 2.มีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจกันในหน่วยงาน ระหว่างข้าราชการ พนักงานราชการ และคนงานในศูนย์วิจัย 3.เป็นองค์กรใหญ่ ที่มีหลากหลายสายงาน - กลุ่มประสานและบริหารนโยบาย - กลุ่มถ่ายทอดเทคโนโลยี - กลุ่มวิชาการ - กลุ่มควบคุมพระราชบัญญัติการจำหน่ายปุ๋ยและสารเคมีทางการเกษตร - กลุ่มพัฒนาการตรวจสอบพืชและปัจจัยการผลิต 4.มีการประสานงาน แบ่งแยกหน้าที่การทำงานอย่างชัดเจน

20 จุดอ่อน 1.ศูนย์วิจัยตั้งอยู่บนพื้นที่สูง ทำให้การคมนาคมไม่สะดวกเท่าที่ควร ไม่มีรถโดยสารประจำทาง 2.คนงานมีความกระตือรือร้นในการทำงานน้อย ข้อจำกัด บางครั้งในการออกพื้นที่ จำนวนรถในศูนย์วิจัยไม่เพียงพอต่อการใช้งาน

21 สรุปและแสดงความคิดเห็น
การฝึกงานที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรที่สูงเชียงราย ถือว่าได้รับประสบการณ์เยอะมาก แบบที่ ไม่เคยคิดว่าจะได้รับมาก่อน ได้ทั้งวิชาความรู้ และได้นำวิชาความรู้ที่ได้รับในห้องเรียนไปใช้ฝึกปฏิบัติงาน จริง ได้เรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้านในพื้นที่สูงที่จะแตกต่างจากคนทั่วไป

22 ภาคผนวก การเดินทาง เดินทางโดยเครื่องบิน หาดใหญ่-เชียงราย หลังจากนั้นจะมีเจ้าหน้าที่จากศูนย์วิจัยฯมารับที่ สนามบิน ค่าใช้จ่าย ค่าเครื่องบินขาไป ประมาณ บาท ค่าบำรุงที่พัก 700 บาท ค่าอาหารจะเก็บสัปดาห์ละ 300 บาท/คน (ทำอาหารเอง)

23 สถานที่ท่องเที่ยว ไร่เชิญตะวัน วัดร่องขุ่น ไร่ชาฉุยฟง พิพิธภัณฑ์บ้านดำ
ไร่บุญรอด (สิงห์ปาร์ค) ด่านท่าขี้เหล็ก (แม่สาย) โรงงานกาแฟดอยช้าง ไร่องุ่นลุงชาลี จุดชมวิวดอยช้าง วัดห้วยปลากั้ง

24 เกร็ดเล็กๆ น้อยๆ ทางวัฒนธรรม
ชาวอาข่าจะมีการนับถือศาสนาคริสต์ ชาวอาข่าจะมีวัฒนธรรมการเลี้ยงอาหารกับผู้มาร่วมงานอย่างเต็มที่โดยการจะมีการเสริฟอาหารอยู่ ตลอดเวลา

25 ขอบคุณครับ/ค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูงเชียงราย (ดอยช้าง)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google