ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สรุปค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
การฝึกอบรม หมายถึง การอบรม การประชุมวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาทาง วิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝึกศึกษา การดูงาน การ ฝึกงาน หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีโครงการ หรือหลักสูตรและช่วงเวลาจัดที่แน่นอน ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลหรือ เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยไม่มีการรับปริญญาหรือประกาศนียบัตร วิชาชีพ แยกเป็น 3 ประเภท คือ
2
การฝึกอบรมประเภท ก คือ การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ ข้าราชการตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิ ข้าราชการตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง ข้าราชการตำแหน่งประเภทบริหารระดับต้นและระดับสูง หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า การฝึกอบรมประเภท ข คือ การฝึกอบรมที่มีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการตำแหน่งประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน ระดับชำนาญงานและระดับอาวุโส ข้าราชการตำแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ ข้าราชการตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับต้นหรือ ตำแหน่งที่เทียบเท่า การฝึกอบรมบุคคลภายนอก คือ การฝึกอบรมที่ผู้ได้รับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่บุคลากรของรัฐ โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่ส่วนราชการเป็นผู้จัด หรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่นต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ จึงเบิกค่าใช้จ่ายได้
3
บุคคลที่เบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ได้แก่
1. ประธานในพิธีเปิดหรือปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม 2. เจ้าหน้าที่ 3. วิทยากร 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. ผู้สังเกตการณ์ อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร ระดับการฝึกอบรม ระดับการฝึกอบรมวิทยากรเป็น วิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐ บุคลากรของรัฐ (อัตรา/ช.ม.) (อัตรา/ช.ม.) การฝึกอบรมประเภท ข ไม่เกิน 600 บาท ไม่เกิน 1,200 บาท และบุคคลภายนอก การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 800 บาท ไม่เกิน 1,600 บาท
4
เกณฑ์การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร
1. การฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการบรรยาย ให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ ไม่เกิน 1 คน 2. การฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นอภิปรายหรือสัมมนาเป็นคณะ ให้จ่ายค่าสมนาคุณ วิทยากรไม่เกิน 5 คน 3. การฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการแบ่งกลุ่มฝึกภาคปฏิบัติ แบ่งกลุ่มอภิปรายหรือ สัมมนา หรือแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม ให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน ข้อสังเกต 1. การนับชั่วโมงการฝึกอบรมให้นับตามเวลาที่กำหนดในตารางฝึกอบรม โดยไม่ ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม แต่ละชั่วโมงการฝึกอบรม ต้องมีกำหนดเวลาไม่น้อยกว่า 50 นาที กรณีกำหนดเวลาไม่ถึง 50 นาที แต่ไม่ น้อยกว่า 25 นาที ให้เบิกจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้กึ่งหนึ่ง 2.การฝึกอบรมใดที่มีวิทยากรเกินกว่าจำนวนที่กำหนดไว้ให้เฉลี่ยจ่ายค่าสมนาคุณ วิทยากรไม่เกินภายในวงเงินที่จ่ายได้ตามเกณฑ์
5
ค่าอาหาร (บาท:วัน:คน) ระดับการฝึกอบรม
จัดในสถานที่ของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ จัดในสถานที่ของเอกชน ครบทุกมื้อ ไม่ครบ ฝึกอบรมประเภท ข และบุคคลภายนอก ไม่เกิน 500 ไม่เกิน 300 ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 600 ฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 700 ไม่เกิน 1,000 หมายเหตุ จัดครบทุกมื้อ คือ อาหารเช้า/กลางวัน/เย็น
6
ค่าเช่าที่พัก (บาท:วัน:คน)
- กรณีผู้จัดไม่ได้จัดที่พักให้บุคคลภายนอก ให้เบิกจ่ายในลักษณะเหมาจ่าย ไม่เกินคนละ 500 บาท ต่อวัน - กรณีเบิกค่าลงทะเบียน ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ในอัตราที่ส่วนราชการ หรือหน่วยงานผู้จัดเรียกเก็บ ระดับการฝึกอบรม ค่าเช่า ห้องพักเดี่ยว ค่าเช่าห้องพักคู่ หมายเหตุ การฝึกอบรมประเภท ข และบุคคลภายนอก ไม่เกิน 1,200 บาท ไม่เกิน 750 ให้พักรวมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป(ห้องพักคู่) การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 2,000 บาท ไม่เกิน 1,100
7
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ. - เบี้ยเลี้ยงเดินทาง. - ค่าเช่าที่พัก
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เบี้ยเลี้ยงเดินทาง - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ - ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ
8
สิทธิ ได้รับค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตั้งแต่วันได้รับอนุมัติเดินทาง/ออกจากราชการ
ผู้มีอำนาจอนุมัติ อนุมัติระยะเวลาเดินทางล่วงหน้า/หลังเสร็จ สิ้นการปฏิบัติ ราชการตามความจำเป็น ผู้ได้รับอนุมัติ ให้ลากิจ/ลาพักผ่อน ต้องขออนุมัติระยะเวลาดังกล่าวในการ เดินทางด้วย การเดินทางไปราชการประจำ ประจำต่างสำนักงาน/รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการ เพื่อดำรงตำแหน่งใหม่ ณ สำนักงานใหม่ ประจำสำนักงานเดิมในท้องที่ใหม่ (ย้ายสำนักงาน) ไปปฏิบัติงาน/ช่วยราชการมีกำหนดเวลา 1 ปีขึ้นไป ไปช่วยราชการที่ไม่อาจกำหนดเวลาสิ้นสุด/ไม่ถึง 1 ปี แต่สั่งให้อยู่ช่วยราชการต่อ เวลาที่ครบ 1 ปีขึ้นไปเป็นการเดินทางไป ราชการประจำ
9
เบี้ยเลี้ยงเดินทาง เบี้ยเลี้ยงเดินทาง แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ประเภท ก ได้แก่ - การเดินทางข้ามเขตจังหวัดนอกที่ตั้งสำนักงานปฏิบัติราชการปกติ - การเดินทางจากอำเภออื่นเข้าสู่อำเภอเมืองในจังหวัดเดียวกัน 2. ประเภท ข ได้แก่ - การเดินทางในท้องที่ต่างอำเภอในจังหวัดเดียวกัน ยกเว้นอำเภอเมือง - การเดินทางไปราชการในท้องที่ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงาน - การเดินทางในเขตกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นท้องที่ปฏิบัติราชการปกติ
10
อัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
ระดับ ประเภท ก (อัตรา) ประเภท ข 1 - 8 240 144 9 ขึ้นไป 270 162
11
การนับเวลา - เริ่มนับเวลาตั้งแต่ออกจากที่อยู่หรือสถานที่ปฏิบัติราชการปกติ จนกลับถึงสถานที่อยู่หรือที่ปฏิบัติราชการปกติ - นับ 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชั่วโมง ให้นับเป็น 1 วัน - กรณีไม่พักค้าง หากนับได้ไม่เกิน 12 ชั่วโมง แต่เกิน 6 ชั่วโมง ถือเป็นครึ่งวัน - กรณีไม่เดินทางกลับหลังจากปฏิบัติราชการเสร็จสิ้นเนื่องจาก ลากิจ/พักผ่อน ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ
12
ประเภทจ่ายจริง ไม่เกินบาทต่อคืน
ค่าเช่าที่พัก ระดับ ประเภทเหมาจ่าย ไม่เกินบาทต่อคืน ประเภทจ่ายจริง ไม่เกินบาทต่อคืน 1 - 8 คืนละ 800 บาท พักเดี่ยว 1,200 พักคู่ 850 พนักงานขับรถ คืนละ 400 บาท 9 คืนละ 1,200 บาท พักเดี่ยว 1,800 พักคู่ 1,200 10 ขึ้นไป ค่าที่พักประเภทจ่ายจริง ใช้ใบเสร็จรับเงินเป็นเอกสารประกอบการเบิกจ่าย หากเป็นโรงแรมให้แนบ Folio เป็นเอกสารประกอบการเบิกจ่ายด้วย
13
ค่าพาหนะ - ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ (รับจ้าง) - ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก - ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของ ของผู้เดินทาง นิยามพาหนะประจำทาง - บริการทั่วไปประจำ - เส้นทางแน่นอน - ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน หลักเกณฑ์ปกติ ให้ใช้ยานพาหนะประจำทางเบิกเท่าที่จ่ายจริงและประหยัด *** รถไฟ ประเภทรถด่วน ด่วนพิเศษ ชั้นที่ 1 นั่งนอนปรับอากาศ เบิกได้เฉพาะ ซี 6 ขึ้นไป ***
14
ค่าพาหนะรับจ้าง ดำรงตำแหน่งระดับ 6 ขึ้นไป เบิกได้ในกรณี ดังนี้ ไป – กลับ ระหว่างที่อยู่ ที่พัก หรือที่ทำงาน กับสถานี ยานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดยานพาหนะ ภายในจังหวัดเดียวกัน ได้เท่าที่จ่ายจริง ถ้าข้ามเขตจังหวัด เขตติดต่อหรือผ่าน กทม. เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท เขตติดต่อจังหวัดอื่น เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท ไป – กลับ ระหว่างที่อยู่ ที่พัก กับที่ทำงานชั่วคราวในจังหวัด เดียวกัน (ยกเว้นการสอบคัดเลือก) ไปราชการในเขต กทม. ระดับ 5 ลงมา ต้องเป็นกรณีมีสัมภาระเดินทาง
15
พาหนะส่วนตัว ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา เบิกเงินชดเชยตามระยะทาง - รถยนต์ กม. ละ 4 บาท - รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท คำนวณระยะทางตามเส้นทางกรมทางหลวง/หน่วยงานอื่น ถ้าไม่มีให้ผู้เดินทางรับรอง เครื่องบิน ระดับ 6 ขึ้นไป ชั้นประหยัด ระดับ ชั้นธุรกิจ ระดับ 10 ขึ้นไป ชั้นหนึ่ง ระดับ 5 ลงมา กรณีมีความจำเป็นเร่งด่วน เบิกได้ชั้นประหยัด ไม่เข้าหลักเกณฑ์ข้างต้นให้เบิกได้เทียบเท่าภาคพื้นดิน ในระยะทางเดียวกัน
16
จบ ขอบคุณครับ งานการเงิน โทร.5501
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.