งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
โครงการส่งเสริมเกษตรกรรมทางเลือก งบประมาณปี 2562 กลุ่มจัดการฟาร์มและเกษตรกรรมยั่งยืน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 22 ตุลาคม 2561 ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

2 กรอบการนำเสนอ ที่มาของโครงการฯ วัตถุประสงค์ เป้าหมายการดำเนินงาน
กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน กรอบงบประมาณ แผนปฏิบัติงาน แผนผังขั้นตอนการดำเนินงาน แบบขอสมัครเข้าร่วมโครงการฯ (อำเภอ) หนังสือมอบอำนาจ (อำเภอ) แบบรายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการฯ (จังหวัด) แบบรายงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการฯ (เขต จังหวัด และอำเภอ) แบบสรุปรายชื่อเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการฯ (เขต จังหวัด และอำเภอ) รูปแบบการเขียนการถอดบทเรียนเกษตรกรต้นแบบโครงการฯ (เขต)

3 ที่มาของโครงการฯ ปัญหาผลผลิตข้าวเกินความต้องการของตลาด สภาพดินฟ้าอากาศ ภัยธรรมชาติ ราคาข้าวผันผวนไม่แน่นอน รายรับไม่แน่นอน ไม่พอกับภาระการกู้หนี้ยืมสินของเกษตรกร โครงการส่งเสริมเกษตรกรรมทางเลือก จึงเป็นอีกโครงการหนึ่งที่สนับสนุนให้เกษตรกรที่ปลูกข้าว ปรับเปลี่ยนการผลิตข้าวเพื่อเข่าสู่ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน หรือเกษตรกรรมทางเลือก บนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยยึดแนวทางของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอก

4 นิยาม : เกษตรกรรมทางเลือก
เกษตรกรรมทางเลือก หรือระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ระบบการผลิตทางการเกษตร ที่เหมาะสมกับภูมินิเวศของแต่ละพื้นที่ เหมาะกับสภาพทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในไร่นาที่แตกต่างกันออกไป ลดความเสี่ยงจากการผลิต และลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอกให้มากที่สุด

5

6 วัตถุประสงค์ เพื่อลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ
เพื่อส่งเสริมเกษตรกรรมทางเลือกให้แพร่หลายสู่เกษตรกร ให้มีอาหาร ไว้บริโภคอย่างเพียงพอ และมีความยั่งยืนในการประกอบอาชีพ เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวเป็นเกษตรกรรมทางเลือกอื่น

7 พื้นที่ปลูกข้าว ทั่วประเทศ
เป้าหมายดำเนินการ พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่ปลูกข้าว ทั่วประเทศ 1,540 ไร่ เกษตรกรเป้าหมาย 1,540 ราย 43 จังหวัด

8 กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน
กิจกรรม 1. การบริหารโครงการฯ 1.1 จัดทำคู่มือการดำเนินงานโครงการฯ 1.2 ชี้แจงการดำเนินงานโครงการฯ 1.3 พัฒนาระบบโปรแกรมบันทึกข้อมูลโครงการฯ 1.4 ถอดบทเรียนเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จที่เข้าร่วมโครงการฯ 1.5 จัดทำวีดิทัศน์เกษตรกรต้นแบบ 1.6 ติดตามผลการดำเนินงานโครงการฯ 1.7 รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ 2. การรับสมัครเกษตรกร 2.1 การประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2.2 การรับสมัครเกษตรกร 2.3 การบันทึกข้อมูล

9 กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน
กิจกรรม 3. การฝึกอบรมเกษตรกร 3.1 อบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อปรับแนวคิด เรื่อง เกษตรกรรมทางเลือก การจัดการฟาร์ม จัดทำแผนผังฟาร์ม การวางแผนการผลิต และปฏิทินการปลูกพืชรายบุคคล 3.2 อบรมและศึกษาดูงานให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ โดยเน้นการฝึกอบรมอาชีพระยะสั้นเช่น การเพาะเห็ด การปลูกผัก การเพาะชำกล้าไม้ และการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 4. การสนับสนุนปัจจัยการผลิต สนับสนุนปัจจัยการผลิตตามแผนการผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 1,540 ราย รายละ 1 ไร่

10 วิธีการดำเนินการ ส่วนกลาง จัดทำคู่มือ ชี้แจงแนวทาง จัดทำระบบโปรแกรม
ร่วมถอดบทเรียน ติดตามผล รายงานผล

11 วิธีการดำเนินการ สสก.1-9 ถอดบทเรียน จัดทำวีดิทัศน์ ติดตามผล รายงานผล
ส่งภายในวันที่ 31 ส.ค. 62 จัดทำวีดิทัศน์ รายงานผล ส่งภายในวันที่ 30 ก.ย. 62

12 จัดซื้อปัจจัยการผลิต เวที 2 เน้นอาชีพระยะสั้น
วิธีการดำเนินการ เกษตรจังหวัด ฝึกอบรม เวที 1 เพื่อปรับแนวคิด จัดซื้อปัจจัยการผลิต ติดตามผล รายงานผล สนง. เวที 2 เน้นอาชีพระยะสั้น 1 เม.ย. – 30 มิ.ย. 62 ส่งภายในวันที่ 15 ก.ย. 62 ศึกษาดูงาน

13 วิธีการดำเนินการ สนง. เกษตรอำเภอ ประชาสัมพันธ์ รับสมัครเกษตรกร
บันทึกข้อมูล ส่งมอบปัจจัยการผลิต ติดตามผล รายงานผล ส่งภายในวันที่ 31 ส.ค. 62 เกษตรอำเภอ สนง.

14 เงื่อนไขเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
คุณสมบัติของเกษตรกร ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวไว้กับกรมส่งเสริมการเกษตร (ใช้ข้อมูลที่ปรับปรุงเป็นปัจจุบัน) มีเอกสารสิทธิ์ถือครองเป็นของตนเอง มีที่อยู่อาศัยหรือมีที่ทำการเกษตรอยู่ในอำเภอที่ตั้งของ ศพก. สามารถปรับลดพื้นที่นาบางส่วนเข้าร่วมโครงการได้แปลงละ 1 ไร่ 1 ราย การรับสมัคร ประชาสัมพันธ์การรับสมัครให้เกษตรกรทราบโดยทั่วถึง (คุณสมบัติ วัน เวลา และสถานที่รับสมัคร) รับสมัครตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด ตรวจสอบคุณสมบัติตามที่กำหนด บันทึกข้อมูลใบสมัครลงในแบบฟอร์มที่กำหนด

15 ผลผลิต (Out put) ผลลัพธ์ (Out come) ตัวชี้วัด
- มีเกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตสู่การทำเกษตรกรรมทางเลือก 1,540 ราย - มีพื้นที่เกษตรกรรมทางเลือกเพิ่มขึ้น 1,540 ไร่ ผลลัพธ์ (Out come) - เกษตรกรสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนได้ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ พื้นที่เกษตรกรรมทางเลือกเพิ่มขึ้น 1,540 ไร่ เชิงคุณภาพ 70% มีความรู้ มีแนวคิดปรับเปลี่ยน

16 กรอบงบประมาณ

17

18 ขั้นตอนการดำเนินงาน

19 แบบขอสมัครเข้าร่วมโครงการฯ

20 หนังสือมอบอำนาจ

21 แบบรายงานผลความก้าวหน้า

22 แบบรายงานสรุปผลการดำเนินงาน

23 แบบสรุปรายชื่อเกษตรกร

24 รูปแบบการเขียนการถอดบทเรียน

25


ดาวน์โหลด ppt ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google