ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ
2
การทำงานของสมอง สมองซีกขวา สมองซีกซ้าย ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
การเห็นภาพสามมิติ ศิลปะ การจินตนาการ ทักษะด้านดนตรี ควบคุมการทำงานของมือซ้าย สมองซีกซ้าย การใช้ภาษา การเขียน การอ่าน ทักษะด้านตัวเลข การใช้เหตุผล ทักษะการพูด ทักษะด้านวิทยาศาสตร์ ควบคุมการทำงานของมือขวา
3
ความหมาย คือ กิจกรรมทางความคิดที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจง รู้ว่ากำลังคิดเพื่อวัตถุประสงค์อะไร และสามารถควบคุมให้คิดจนบรรลุเป้าหมายได้ คือ การจัดการข้อมูลที่สมองได้รับให้อยู่ในรูปแบบเหมาะสม โดยการแปรข้อมูลข่าวสารให้อยู่ในรูปแบบใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งในขณะใช้ความคิด สมองจะนำเอาข้อมูล ความรู้ ประสบการต่างๆ ที่มีมาคิดร่วมกันโดยใช้เหตุผล ผสมผสานกับอารมณ์และความต้องการ เพื่อนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้
4
ลักษณะนักผู้คิด นักคิดที่ดี รับข้อมูลตามความเข้าใจของตน ไม่ละเลยแม้ข้อมูลจะกำกวม ไม่ด่วนสรุป พยายามหาทางเลือกที่แตกต่าง เก็บไว้ เผื่อคิดต่อได้ ไตร่ตรองอย่างรอบครอบ ย้อนคิด ตั้งใจที่จะค้นหาให้กว้างขวางครอบคลุมมากที่สุด แก้ปัญหา นักคิดทีไม่ค่อยดี จำโดยปราศจากความเข้าใจ รวมรัดในการหาสิ่งที่แน่นอน การด่วนสรุป พึงพอใจกับความพยายามครั้งแรก ยกเลิก หยุดคิด คิดอย่างเร่งรีบ ขาดการไตร่ตรอง ปักใจกับคำตอบเดียว ถูกครอบงำด้วยปัญหา
5
ลักษณะนักผู้คิด นักคิดที่ดี ตัดสินใจด้วยตนเอง
มีความคิดริเริ่ม มีทิศทางของตนเอง กล้าเสี่ยง เรียนรู้จากความผิดพลาด มีความยืดหยุ่นและมีจินตนาการ พิจารณาทางเลือกที่แตกต่าง นักคิดทีไม่ค่อยดี ตัดสินใจตามเพื่อน/กลุ่ม ต้องการการกระตุ้นบ่อยๆ กลัวความผิดพลาด จมอยู่กับความคุ้นเคย มองปัญหาหรือสถานการณ์ทางเดียว
6
ลักษณะของนักคิด นักคิดที่ดี นักคิดที่ไม่ค่อยดี
ใช้ความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่ ส่งผ่านความรู้และทักษะมาใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ ได้ สามารถอธิบายได้ว่าได้เรียนรู้อะไรไปแล้ว ทำไปและอย่างไร เข้าใจวิธีการเรียนรู้และการทำที่ดีที่สุดของตนเอง นักคิดที่ไม่ค่อยดี มองข้อมูลอย่างแยกส่วน ขาดการเชื่อมโยง ไม่สามารถประยุกต์ได้ หากไม่ได้รับการชี้แนะ ไม่ค่อยตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของงาน รู้เท่าทีมีการรายงานผลการทำงานให้ทราบ
7
เครื่องมือในการคิดเชิงระบบ
ความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ (Critical thinking) ความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical thinking) ความสามารถในการคิดเชิงสังเคราะห์ (Synthesis-type thinking) ความสามารถในการคิดเชิงเปรียบเทียบ (Comparative thinking) ความสามารถในการคิดเชิงมโนทัศน์ (Conceptual Thinking)
8
เครื่องมือในการคิดเชิงระบบ
6. ความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative thinking) 7. ความสามารถในการคิดเชิงประยุกต์ (Applicative thinking) 8. ความสามารถในการคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic thinking) 9. ความสามารถในการคิดเชิงบูรณาการ (Integrative thinking) 10. ความสามารถในการคิดเชิงอนาคต (Futuristic thinking)
9
1. ความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ (Critical thinking)
ความตั้งใจที่จะพิจารณาตัดสินเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยการไม่เห็นคล้อยตามข้อเสนออย่างง่าย แต่ตั้งคำถามท้าทาย หรือโต้แย้งสมมติฐานและข้อสมมุติที่อยู่เบื้องหลัง และพยายามเปิดแนวทางความคิดออกสู่ทางต่างๆ ที่แตกต่างจากข้อเสนอนั้น เพื่อให้สามารถได้คำตอบที่สมเหตุสมผลมากกว่าข้อเสนอเดิม
10
2. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking)
การจำแนกแจกองค์ประกอบต่างๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น
11
3. ความสามารถในการคิดเชิงสังเคราะห์ (Synthesis-type thinking)
ความสามารถในการดึงองค์ประกอบต่างๆ มาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้สิ่งใหม่ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
12
4. ความสามารถในการคิดเชิงเปรียบเทียบ(Comparative thinking)
การพิจารณาเทียบเคียงความเหมือนและ/หรือพิจารณาความแตกต่างระหว่างสิ่งนั้นกับสิ่งอื่นๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจสามารถอธิบายเรื่องนั้นได้อย่างชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการคิด การแก้ปัญหา หรือหาทางเลือกเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
13
5. ความสามารถในการคิดมโนทัศน์ (Conceptual Thinking)
ความสามารถในการประสานข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่เกี่ยวกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดได้อย่างไม่ขัดแย้ง แล้วนำกลับมาสร้างเป็นความคิดรวบยอดหรือกรอบความคิดเกี่ยวกับเรื่องนั้น
14
6. ความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative thinking)
การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดเดิมที่มีอยู่สู่ความคิดใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนเพื่อค้นหาคำตอบที่ดีที่สุดให้กับปัญหาที่เกิดขึ้น
15
7. ความสามารถในการคิดเชิงประยุกต์ (Applicative thinking)
ความสามารถในการนำสิ่งที่มีอยู่เดิมไปปรับใช้ประโยชน์ในบริบทใหม่ได้อย่างเหมาะสม โดยยังคงหลักการของสิ่งเดิมไว้
16
8. ความสามารถในการคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic thinking)
ความสามารถในการกำหนดแนวทางที่ดีที่สุดภายใต้เงื่อนไข ข้อจำกัดต่างๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
17
9. ความสามารถในการคิดเชิงบูรณาการ (Integrative thinking)
ความสามารถในการเชื่อมโยงแนวคิด หรือองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าหาแกนหลักได้อย่างเหมาะสม เพื่ออธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
18
10. ความสามารถในการคิดเชิงอนาคต (Futuristic thinking)
ความสามารถในการคาดการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคตอย่างมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม
19
อุปสรรคของความคิด การตอบสนองความเคยชิน การเชื่อมโยงเหตุผลผิดเพราะด่วนสรุป แรงจูงใจไม่ถูกต้อง ขาดทักษะการคิด การทิ้งเหตุผลอย่างอคติ ค่านิยมเป็นอุปสรรค
20
เพื่อสามารถพิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้อย่างเป็นเหตุผล (คิดวิพากษ์)
ลักษณะของความคิด เพื่อสามารถเปรียบเทียบได้อันจะนำไปสู่การตัดสินใจเลือกที่ถูกต้อง (คิดเปรียบเทียบ) เพื่อสามารถพิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้อย่างเป็นเหตุผล (คิดวิพากษ์) เพื่อสามารถหาทางเลือกได้ดีสุดในความจำกัด (คิดกลยุทธ์) เพื่อมีกรอบความคิดที่คมชัดในแนวทาง (คิดมโนทัศน์) เพื่อสามารถประยุกต์สู่การปฏิบัติได้จริง (คิดประยุกต์)
21
(ต่อ) ลักษณะทางความคิด
เพื่อสามารถคาดการณ์อนาคตในการวางแผนเชิงรุกได้ (คิดอนาคต) เพื่อสามารถเชื่อมโยงประเด็นที่เกี่ยวข้อง เข้ามาวิเคราะห์หรือใช้ได้อย่างเกิดผล (คิดบูรณาการ) เพื่อสามารถหาทางเลือกใหม่ที่ไม่ซ้ำแบบเดิม (คิดสร้างสรรค์) เพื่อสามารถหาข้อสรุปหรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ (คิดวิเคราะห์)
22
จะจัดการกับข้อมูลเหล่านี้อย่างไร
คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดประยุกต์ คิดสังเคราะห์ คิดวิพากษ์ วิเคราะห์ข้อมูล หาทางเลือกใหม่ ทดลองดัดแปลง เลียนแบบส่วนดี ตั้งคำถามตลอดทางว่าสิ่งที่เราคิดจะเป็นจริงได้หรือ
23
(ต่อ) จะจัดการกับข้อมูลเหล่านี้อย่างไร
คิดเชิงอนาคต คิดเชิงมโนทัศน์ คิดเชิงกลยุทธ์ ประเด็นต่างๆ ที่จะส่งผลต่อแนวโน้มการพัฒนาบุคลากร จะส่งผลให้องค์การเปลี่ยนรูปไปอย่างไร กำหนดกรอบความคิดและทิศทางที่ชัดเจน คาดการสภาพการเปลี่ยนแปลงขององค์กรในอนาคต ปัญหาใดความแก้ไขก่อน – หลัง จะใช้วิธีใดเพื่อนำไปสู่การเตรียมการวางแผนพัฒนาและแก้ปัญหาองค์การต่อไป
24
การคิดเชิงระบบ (System Thinking)
วิธีคิดเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างเป็นระบบ เป็นลำดับขั้นตอน และอย่างครบถ้วน โดยใช้วิธีคิด 10 มิติในส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นเครื่องมือ เพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ของการคิดอย่างมีประสิทธิภาพ
25
Q&A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.