ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยชูวิทย์ สมิธ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ “ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis)”
หน่วยที่ 2 “ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis)”
2
ขั้นการวิเคราะห์ ( Analysis )
- การวิเคราะห์ความต้องการ ( Need Analysis ) - การวิเคราะห์ผู้เรียน (Learner Characteristics) - การวิเคราะห์งาน ( Task Analysis )
3
การวิเคราะห์ความต้องการ ( Need Analysis )
- คำถามที่ต้องการคำตอบในการวิเคราะห์ความต้องการ 1) ปัญหาคืออะไร 2) เราจะแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร - การวิเคราะห์ความต้องการเกี่ยวข้องกับการหาคำตอบ ที่สามารถตอบคำถามที่เป็นธรรมชาติของปัญหาได้ อย่างตรงจุด
4
การวิเคราะห์ความต้องการ ( ต่อ )
- การวิเคราะห์ความต้องการทำได้โดยการรวบรวมข้อมูลจาก 1) การสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง 2) ทรัพยากรสารสนเทศ - การวิเคราะห์ปัญหาควรพิจารณาถึงปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อ ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วย เช่น การสร้างแรงจูงใจ หรือ การกำจัดอุปสรรคต่าง ๆ - การวิเคราะห์ความต้องการสิ้นสุดเมื่อได้มีการกำหนด ประเด็นปัญหาอย่างชัดเจน
5
การวิเคราะห์ผู้เรียน (Learner Characteristics)
- สื่อการสอนต้องได้รับการออกแบบให้เหมาะสมกับระดับ ความสามารถของผู้เรียน - แรงจูงใจและนิสัยการเรียนรู้ของผู้เรียนอาจมีผลต่อความ ตั้งใจและการเรียนรู้ - ผู้เรียนอาจต้องการการฝึกทักษะการใช้บทเรียนก่อนการใช้จริง - การหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียนทำได้โดยการใช้ Learner Profile Chart
6
ตัวอย่าง : Learner Profile Chart
คุณลักษณะ ผู้เรียนแต่ละคน ค่าเฉลี่ยของผู้เรียนทั้งหมด อายุ เพศ ระดับการศึกษา ความสามารถในการ ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ความสามารถในการพิมพ์ ลักษณะนิสัยการเรียนรู้
7
แหล่งข้อมูลสำหรับทำ Learner Profile Chart
แบบสอบถาม แบบทดสอบมาตรฐาน (ระดับความรู้ด้านภาษา คอมพิวเตอร์ ลักษณะนิสัยการเรียนรู้ ฯ)
8
การวิเคราะห์งาน (Task Analysis)
- การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการที่ดำเนินเมื่อปัญหาได้รับ การกำหนดอย่างชัดเจนแล้ว - การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการที่ดำเนินเพื่อตอบคำถาม 2 ข้อต่อไปนี้ 1) ลักษณะงานที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้แก่อะไรบ้าง 2) เนื้อหาของงานเหล่านั้นครอบคลุมเรื่องอะไรบ้าง
9
ความหมายของการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการที่มีวัตถุประสงค์ในการแยกงานออกเป็นงานย่อย ๆ (Sub tasks และ sub-sub tasks) เพื่อให้เห็นลักษณะของงานที่ผู้เรียนควรเรียนรู้อย่างละเอียด ที่สุดรวมถึงการกำหนดการไหลของข้อมูล (information flow) ของงานต่าง ๆ เหล่านั้น
10
วิธีการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานประกอบด้วยวิธีการและขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ 1) การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงาน (Collecting Information for Task Data) 2) การวิเคราะห์ขอบเขตเนื้อหาของงาน (Cluster Analysis) 3) การจัดทำหัวข้องาน (Task Inventory) 4) การจัดทำแผนภูมิแสดงลำดับขั้นตอนของงานในรูป Flowchart 5) การกำหนดข้อเท็จจริงและความรู้เกี่ยวกับงาน (Task Knowledge)
11
การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงาน
1) ศึกษาจากเอกสาร (Document Review) 2) การสัมภาษณ์ (Interview) 3) การสังเกต (Observation) 4) ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ (Subject Matter Expert - SME Consultation)
12
การวิเคราะห์ขอบเขตเนื้อหาของงาน
(Cluster Analysis) - เป็นการแยกแยะและจัดกลุ่มงานย่อยให้สัมพันธ์กัน - เป็นงานที่ผู้เรียนต้องทำไม่ใช่งานที่ควรสอน - ควรแยกแยะงานออกให้ย่อยมากที่สุด
13
ตัวอย่างการวิเคราะห์ขอบเขตเนื้อหาของงาน
การใช้ผลไม้ไทยเพื่อบำรุงผิวพรรณ รับประทาน ขัดผิว มะเขือเทศ มะละกอ มะนาว ส้ม สับปะรด มะขาม สรรพคุณ วิธีรับประทาน
14
ตัวอย่างการวิเคราะห์ขอบเขตเนื้อหาของงานที่เป็นกระบวนการ
ทำทอดมันปลากราย เตรียมส่วนผสม ทอดส่วนผสม ทอดชิ้นทอดมัน ผสมเครื่องปรุง จุดเตา หาสูตร เตรียมเครื่องปรุง เตรียมกระทะ
15
ตัวอย่างการวิเคราะห์ขอบเขตเนื้อหาของงานที่เป็นกระบวนการ
เตรียมส่วนผสม หาสูตร ผสมเครื่องปรุง ผสมเนื้อปลากับ เครื่องแกง นวด ใส่ไข่ น้ำตาล และนวด ใส่ถั่ว ใส่ใบมะกรูด คลุกให้เข้ากัน เตรียมเครื่องปรุง ชื้อเครื่องปรุง ชั่ง หั่น ทำรายการเครื่องปรุง
16
ตัวอย่างการวิเคราะห์ขอบเขตเนื้อหาของงานที่เป็นกระบวนการ
ทอดส่วนผสม เตรียมกระทะ ทอดชิ้นทอดมัน จุดเตา เลือกกระทะ ปั้นชิ้นทอดมัน ทอดน้ำมันท่วม ยกขึ้น วางกระทะบนเตา ใส่น้ำมัน ตั้งให้สะเด็ดน้ำมัน ทำให้เป็นลูกกลม บีบให้แบนเล็กน้อย
17
การจัดทำหัวข้องาน (Task Inventory)
- เป็นการนำรายการงานย่อย ๆ ใน Cluster Anslysis มาเขียน เรียบเรียงใหม่ตามกลุ่มงาน - จัดแบ่งกลุ่มงานตามลำดับดังนี้ Task = งานที่กำหนดไว้เป็นเป้าหมาย Sub tasks = งานที่แยกย่อยออกมาจากงานที่ กำหนดไว้เป็นเป้าหมาย Sub-sub tasks = งานที่แยกย่อยลงมาจาก sub tasks
18
ตัวอย่าง Task Inventory
Sub task : 1. เตรียมส่วนผสม Sub-sub task : 1.1 หาสูตร 1.1.1 ทำรายการเครื่องปรุง 1.1.2 ซื้อเครื่องปรุง 1.2 ผสมเครื่องปรุง 1.3 เตรียมเครื่องปรุง …………. Sub task : 2. ทอดส่วนผสม
19
การจัดทำแผนภูมิ (Flowchart)
- เป็นการนำข้อมูลในส่วนของ Task Inventory มาเขียน ในรูป Flowchart เพื่อให้เห็นภาพการไหลของงาน
20
เครื่องปรุง ครบแล้วหรือยัง
Task : ทำทอดมันปลา เริ่มต้น หาสูตร ทำรายการเครื่องปรุง เครื่องปรุง ครบแล้วหรือยัง ไม่ครบ นำรายการที่ ขาดไปซื้อเพิ่ม ครบ 1
21
ชั่ง ตวงและ หั่นเครื่องปรุง
1 ครบ ชั่ง ตวงและ หั่นเครื่องปรุง เครื่องปรุงทุกอย่าง เตรียมเรียบร้อยแล้ว ยัง เรียบร้อยแล้ว 2
22
2 ส่วนผสมเข้ากัน ดีหรือยัง 3
ผสมเนื้อปลากับเครื่องแกง นวด ส่วนผสมเข้ากัน ดีหรือยัง ยัง ดีแล้ว 3
23
3 ส่วนผสมเหนียว ดีหรือยัง 4
ใส่ไข่ น้ำตาล นวด ส่วนผสมเหนียว ดีหรือยัง ยัง ดีแล้ว 4
24
4 ใส่ถั่วและ ใบมะกรูด คนให้เข้ากัน ส่วนผสมเข้ากัน ดีหรือยัง ยัง 5
25
ปั้นส่วนผสมให้เป็นลูกกลม และบีบให้แบนเล็กน้อย
5 ดีแล้ว ยัง น้ำมันร้อน หรือยัง รอ ร้อนแล้ว ปั้นส่วนผสมให้เป็นลูกกลม และบีบให้แบนเล็กน้อย นำส่วนผสมลงทอด 6
26
เป็นสีเหลืองทองหรือยัง
6 ทอดน้ำมันท่วม ชิ้นทอดมันสุกและ เป็นสีเหลืองทองหรือยัง ยัง รอ เป็นแล้ว ใช้ทัพพีมีรูตักขึ้น ผึ่งไว้ในตะแกรง 7
27
ชิ้นทอดมันแห้ง ดีแล้วหรือยัง รอ ตักเสริฟ
7 ชิ้นทอดมันแห้ง ดีแล้วหรือยัง ยัง รอ แห้งแล้ว ตักเสริฟ สิ้นสุด
28
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับส้ม
Task : ศึกษาผลไม้ไทย เริ่มต้น ผลไม้ไทยเหมาะสมกับการ รับทานเพื่อบำรุงผิวพรรณ ศึกษาความรู้เกี่ยวกับส้ม ในด้านสรรพคุณและ วิธีการรับประทาน ไม่เข้าใจ เข้าใจ 1
29
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับสับปะรด ศึกษาความรู้เกี่ยวกับมะละกอ
1 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับสับปะรด ในด้านสรรพคุณและ วิธีการรับประทาน ไม่เข้าใจ เข้าใจ ศึกษาความรู้เกี่ยวกับมะละกอ ในด้านสรรพคุณและ วิธีการรับประทาน ไม่เข้าใจ เข้าใจ สิ้นสุด
30
การกำหนดข้อเท็จจริงและความรู้เกี่ยวกับงาน
1. เป็นการกำหนดข้อเท็จจริงและความรู้ของงานย่อยแต่ละงาน ที่ผู้เรียนต้องรู้ 2. ข้อเท็จจริงหรือความรู้ดังกล่าวแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1) ข้อเท็จจริงเฉพาะงาน (Specific Task Knowledge) 2) ข้อเท็จจริงทั่วไป (General Task Knowledge)
31
ตัวอย่างการกำหนดข้อเท็จจริงและความรู้เกี่ยวกับงาน
Task : การใช้เครื่องออกกำลังกายภายใน Fitness Center มทส. Sub Tasks / Sub-sub tasks Task Knowledge เครื่องออกกำลังกายแบบคาดิโอ (Cardiovascular Exercise) คาร์ดิโอ (cardio) คือการออกกำลังกายแบบแอโรบิกซึ่งโดยความหมายของคำว่า คาร์ดิโอ หมายถึงหัวใจออกกำลังกายรูปแบบนี้ จะเป็นการออกกำลังกายที่ไม่เน้นการใช้พลังงานจากมัดกล้ามเนื้อ
32
ตัวอย่างการกำหนดข้อเท็จจริงและความรู้เกี่ยวกับงาน (ต่อ)
Task : การใช้เครื่องออกกำลังกายภายใน Fitness Center มทส. (ต่อ) Sub Tasks / Sub-sub tasks Task Knowledge เครื่องออกกำลังกายแบบคาดิโอ (Cardiovascular Exercise) (ต่อ) ในระดับรุนแรง แต่มุ่งเน้นไปที่การขยับเขยื้อนร่างกายซึ่งมีผลต่ออัตราการเต้นของหัวใจที่เร็วขึ้น การเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้น 60% - 85% เมื่อเทียบกับอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด
33
ตัวอย่างการกำหนดข้อเท็จจริงและความรู้เกี่ยวกับงาน (ต่อ)
Task : การใช้เครื่องออกกำลังกายภายใน Fitness Center มทส. (ต่อ) Sub Tasks / Sub-sub tasks Task Knowledge 1.1 ลู่วิ่ง (Treadmill) ลู่วิ่ง (Treadmill) คือ เครื่องออกกำลังกายประเภทวิ่งสามารถปรับระดับเพื่อให้เหมาะสมกับตนเองได้
34
ตัวอย่างการกำหนดข้อเท็จจริงและความรู้เกี่ยวกับงาน (ต่อ)
Task : การใช้เครื่องออกกำลังกายภายใน Fitness Center มทส. (ต่อ) Sub Tasks / Sub-sub tasks Task Knowledge ประโยชน์ ประโยชน์ ลู่วิ่งช่วยให้มีการไหลเวียนโลหิตที่ดี ช่วยเผาผลาญไขมันส่วนต่าง ๆ ได้ และสุขภาพร่างกายแข็งแรง
35
ตัวอย่างการกำหนดข้อเท็จจริงและความรู้เกี่ยวกับงาน (ต่อ)
Task : การใช้เครื่องออกกำลังกายภายใน Fitness Center มทส. (ต่อ) Sub Tasks / Sub-sub tasks Task Knowledge วิธีการใช้ วิธีการใช้ ขั้นตอนการใช้เครื่อง ประกอบด้วย เลือกโปรแกรมของการวิ่ง เซตค่าของน้ำหนัก อายุ และเวลาการวิ่ง การควบคุมความเร็ว การปรับความชัน และเช็คอัตราการเต้นของหัวใจโดยจับที่บาร์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.