งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 นายรณกฤต อุดมสุขโกศล."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 นายรณกฤต อุดมสุขโกศล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.มท.

2 1. หลักการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ ประจำปีงบประมาณ 2559
1. หลักการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ ประจำปีงบประมาณ 2559 ระดับ กระทรวง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับกระทรวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 หลักการ ส่วนราชการกำหนดจุดเน้น (Positioning) ของกระทรวงตามแนวทางการขับเคลื่อนประเทศ ยุทธศาสตร์กระทรวงที่ชัดเจนเพื่อนำมากำหนดเป็นตัวชี้วัดที่สามารถวัดผลได้อย่างชัดเจน ต้องมีการกำหนดตัวชี้วัดที่วัดผลอย่างต่อเนื่องตามภารกิจหลัดของส่วนราชการ กำหนดตัวช้วัดกระทรวงระหว่างกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) 3.1 วัดเฉพาะเรื่องที่สำคัญเน้นเฉพาะเรื่องที่เป็นภารกิจสำคัญ ต่อเนื่อง เรื่องทางเศรษฐกิจ เช่น รายได้ท่องเที่ยว เรื่อง ทางสึงคม ได้แก่ การค้ามนุษย์ และความมั่นคงชายแดน ภาคใต้ 3.2 กำหนดเป็นตัวชี้วัดในคำรับรองระดับกระทรวงเฉพาะระดับ Impact JKPIs และ Outcome JKPIs กำหนดตัวชี้วัดร่วมระหว่างกระทรวงและจังหวัด (Function- Area KPIs) เพือขับเคลื่อนนโยบายสำคัญและถ่ายทอดค่า เป้าหมายของรัฐบาลจากระดับประเทศสู่ระดับกลุ่มจังหวัด และจังหวัด การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเป็นการวัดตามกระบวนงานที่ดำเนินการตาม พ.ร.บ. อำนวยความสะดวก เพื่อติดตามและประเมินผลกระบวนงานที่ส่วนราชการต้องดำเนินการตาม พ.ร.บ. อำนวยความสะดวก ในการยกระดับคุณภาพการให้บริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพิ่มตัวชี้วัดการประหยัดน้ำ ตัวชี้วัดที่ 2-8 เป้นตัวชี้วัดระดับกรมโดยกระทรวงรับผลคะแนนเฉลี่ยของกรม ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2559 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 75 การประเมินประสิทธิผล (65) ตัวชี้วัดภารกิจหลักของกระทรวงตาม แนวทางการขับเคลื่อนประเทศ /แผน ยุทธศาสตร์กระทรวง และตัวชี้วัด ระหว่างกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) และตัวชี้วัดร่วมระหว่างกระทรวงและ จังหวัด (Function-Area KPIs) ตามนโยบายสำคญของรัฐบาล (65) การประเมินคุณภาพ (10) ความพึงพอใจของผู้รับบริการ หมายเหตุ หากกระทรวงไม่มีตัวชวี้ัดนี้ ให้นำน้าหนักไปไว้ที่ตัวชี้วัดที่ 1 (10) มิติภายใน 25 การประเมินประสิทธิภาพ (15) 3. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (5) 4. การประหยัดพลังงาน (2.5) 5. การประหยัดน้ำ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาองค์การ (10) 7. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ 8. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน รวม 100

3 ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
กรอบการประเมินผล 2559 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 75 การประเมินประสิทธิผล (65) ตัวชี้วัดภารกิจหลักของกระทรวงตามแนวทางการขับเคลื่อนประเทศ /แผน ยุทธศาสตร์กระทรวง และตัวชี้วัดระหว่างกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) และตัวชี้วัดร่วมระหว่างกระทรวงและจังหวัด (Function-Area KPIs) ตาม นโยบายสำคญของรัฐบาล 1.1 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและการให้บริการ ประชาชนของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด 1.1.1 ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของศูนย์ดำรง ธรรมจังหวัด (1) ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของศูนย์ ดำรงธรรมจังหวัด : เรื่องร้องเรียนที่ได้รับเข้า ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2557 – 30 กันยายน ที่ดำเนินการไม่แล้วเสร็จ (2) ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของศูนย์ ดำรงธรรมจังหวัด : เรื่องร้องเรียนที่ได้รับเข้าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อศูนย์ดำรงธรรม จังหวัด 76 จังหวัด 1.2 …… …….. (65) การประเมินคุณภาพ (10) ความพึงพอใจของผู้รับบริการ หมายเหตุ หากกระทรวงไม่มีตัวชวี้ัดนี้ ให้นำน้าหนักไปไว้ที่ตัวชี้วัดที่ 1 (10) มิติภายใน (25) 25 การประเมินประสิทธิภาพ (15) 3. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (5) 4. การประหยัดพลังงาน (2.5) 5. การประหยัดน้ำ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาองค์การ (10) 7. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ 8. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน รวม 100

4 ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
2. กรอบการประเมินผลจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 หลักการ ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2559 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 80 การประเมินประสิทธิผล (70) 1. ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/ จังหวัด 1.1 ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 1.2 ยุทธศาสตร์จังหวัด 1.3 ตัวชี้วัดร่วมระหว่างกระทรวงและ จังหวัด (Function-Area KPIs ) ตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล (70) การประเมินคุณภาพ (10) ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ศูนย์ดำรงธรรม และ/หรือ ศูนย์บริการร่วม) (10) มิติภายใน 20 การประเมินประสิทธิภาพ (10) 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ (5) การประหยัดพลังงาน (2.5) 5. การประหยัดน้ำ การพัฒนาองค์การ (10) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงาน รวม 100 กำหนดตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและยุทธศาสตร์ของจังหวัดให้สะท้อนบริบทและลักษณะเฉพาะของ กลุ่มจังหวัดและจังหวัด (tailor-made) มีความครอบคลุมทั้งมิติด้านเศรษฐกิจและด้านสังคมจิตวิทยาและความมั่นคง และสะท้อนตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดที่สำคัญที่ต้องเร่งปรับปรุงให้มากขึ้น โดยประกอบด้วย 1.1 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด 1.2 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์จังหวัด ไม่เกิน 5 ตัวชี้วัด 1.3 ตัวชี้วัดร่วมระหว่างกระทรวงและจังหวัด (Function-Area KPIs) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสำคัญของรัฐบาล รวมทั้งช่วยในการถ่ายทอดเป้าหมายจากระดับประเทศสู่ระดับกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ปรับเปลี่ยนวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการโดยประเมินจาก งานบริการของศูนย์ดำรงธรรม และ/หรือ ศูนย์บริการร่วม กำหนดตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดที่สำคัญเป็น Monitor ในทุกจังหวัด ได้แก่ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม จังหวัด (GPP) และค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) (ชั้น ป.6 ม.3 และ ม. 6) 4. ปรับน้ำหนัก มิติภายนอก เป็นร้อยละ 80 มิติภายใน เป็นร้อยละ 20 เพิ่มตัวชี้วัดที่ 5 การประหยัดน้ำ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 28 กรกฎาคม 2558 เรื่อง แนวทางประหยัดน้ำใน หน่วยงานภาครัฐ ที่ขอความร่วมมือทุกภาคส่วนร่วมกัน ประหยัดน้ำ โดยให้หน่วยงานภาครัฐลดการใช้น้ำอย่าง น้อยร้อยละ 10 พร้อมรายงานผลทุกเดือน ตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัด มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) (ชั้น ป.6 ม.3 ม. 6) 4

5 2. กรอบการประเมินผลจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (ต่อ)
หลักการกำหนดตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2559 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 80 การประเมินประสิทธิผล (70) 1. ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/ จังหวัด 1.1 ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 1.2 ยุทธศาสตร์จังหวัด 1.3 ตัวชี้วัดร่วมระหว่างกระทรวงและ จังหวัด (Function-Area KPIs ) ตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล (70) การประเมินคุณภาพ (10) ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ศูนย์ดำรงธรรม และ/หรือ ศูนย์บริการร่วม) (10) มิติภายใน 20 การประเมินประสิทธิภาพ (10) 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ (5) การประหยัดพลังงาน (2.5) 5. การประหยัดน้ำ การพัฒนาองค์การ (10) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงาน รวม 100 กำหนดตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและยุทธศาสตร์ของ จังหวัดให้สะท้อนบริบทและลักษณะเฉพาะของกลุ่มจังหวัดและ จังหวัด (tailor-made) มีความครอบคลุมทั้งมิติด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมจิตวิทยาและความมั่นคง และสะท้อนตัวชี้วัด การพัฒนาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่สำคัญที่ต้องเร่ง ปรับปรุงให้มากขึ้น โดยพิจารณาจาก จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (positioning) ของกลุ่มจังหวัดและ จังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ แนวทางการขับเคลื่อนประเทศและนโยบายสำคัญเร่งด่วนของ รัฐบาล/ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)/ ข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี ตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดของสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายได้หลัก (Revenue driver) ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัด (Management Chart) การบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างกระทรวงและจังหวัด มีโครงการและงบประมาณสนับสนุน ตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัด มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) (ชั้น ป.6 ม.3 ม. 6)

6 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย1
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย1.1 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและ การให้บริการประชาชนของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด (ร้อยละ 10) ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด (5) (1) ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด : เรื่องร้องเรียนที่ได้รับเข้า ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2557 – 30 กันยายน 2558 ที่ดำเนินการไม่แล้วเสร็จ (2.5) (2) ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด : เรื่องร้องเรียนที่ได้รับเข้าใน ปีงบประมาณ พ.ศ (2.5) 1.1.2 ค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด 76 จังหวัด (5)

7 เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5
น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 1.1.1 ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด (1) ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด : เรื่องร้องเรียนที่ได้รับเข้าระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2557 – 30 กันยายน 2558 ที่ดำเนินการไม่แล้วเสร็จ 2.5 30 40 50 60 70 (2) ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด : เรื่องร้องเรียนที่ได้รับเข้าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 35.12 37.12 39.12 41.12 43.12

8 เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5
น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 1.1.2 ค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด 76 จังหวัด 1.0000 2.0000 3.0000 4.0000 5.0000

9 คำอธิบายตัวชี้วัดกระทรวง
ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 96/2557 เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2557 ให้จังหวัดจัดตั้งศูนย์ดำรงธรรมขึ้นในจังหวัดเพื่อทำหน้าที่ในการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ให้บริการข้อมูลข่าวสาร ให้คำปรึกษา รับเรื่องปัญหาความต้องการและข้อเสนอแนะของประชาชน และทำหน้าที่เป็นศูนย์บริการร่วม โดยจัดตั้งขึ้น ณ ศาลากลางจังหวัดหรือสถานทื่อื่นตามที่เห็นสมควร และให้กระทรวงมหาดไทยมีหน้าที่กำกับดูแลและอำนวยการให้การบริหารงานของศูนย์ดำรงธรรมและการบริหารงานของจังหวัดดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน

10 คำอธิบายตัวชี้วัดกระทรวง
เรื่องร้องเรียน หมายถึง เรื่องร้องเรียนที่ประชาชนร้องเรียน ผ่านศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด 76 จังหวัด ทุกช่องทาง และมีการ ลงรับตามระบบงานสารบรรณ เรื่องร้องเรียนที่นำมานับเป็นเรื่องร้องเรียนทุกประเภทกลุ่มเรื่อง ซึ่งแบ่งเป็น 6 กลุ่ม ดังนี้ 1. แจ้งเบาะแสกระทำความผิด 2. ปัญหาความเดือดร้อน 3. ร้องเรียนหน่วยงานและเจ้าหน้าที่รัฐ 4. ปัญหาที่ดิน 5. ขอความช่วยเหลือ 6. เรื่องทั่วไป

11 คำอธิบายตัวชี้วัดกระทรวง
ประเภทเรื่องร้องเรียน การแก้ไขปัญหาที่นับว่าแล้วเสร็จ 1. แจ้งเบาะแสการกระทำความผิด ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดประสานแจ้งไปหน่วยงานที่รับผิดชอบ พิจารณาดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ แล้วรายงานผลให้จังหวัดทราบและเมื่อศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดได้รับรายงานผลได้เสนอให้ผู้บังคับบัญชาทราบ/เห็นชอบให้ยุติเรื่อง เรื่องที่พิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นเรื่องร้องเรียนที่มิได้ระบุหลักฐานกรณีแวดล้อมปรากฏชัดแจ้งแน่นอนได้ ตลอดจนไม่สามารถชี้พยานบุคคลเป็นลักษณะของบัตรสนเท่ห์ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2541 และเสนอผู้บังคับบัญชาเห็นชอบให้ยุติเรื่องแล้ว 2. ปัญหาความเดือดร้อน ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดได้ประสานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงและประสานการแก้ไขปัญหาจนสามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้ผู้ร้องได้ และรายงานผลให้จังหวัดทราบ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดได้เสนอผู้บังคับบัญชา/เห็นชอบให้ยุติเรื่อง

12 คำอธิบายตัวชี้วัดกระทรวง
ประเภทเรื่องร้องเรียน การแก้ไขปัญหาที่นับว่าแล้วเสร็จ 3. ร้องเรียนหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดประสานแจ้งไปยังหน่วยงานต้นสังกัดที่มีอำนาจหน้าที่ และหน่วยงานต้นสังกัดหรือผู้มีอำนาจหน้าที่ในการบังคับบัญชาหรือกำกับดูแลรับเรื่องได้ดำเนินการสอบสวนหรือแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามอำนาจแล้ว เป็นเรื่องที่พิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นเรื่องร้องเรียนที่มิได้ระบุหลักฐานกรณีแวดล้อมปรากฎชัดแจ้งแน่นอนได้ ตลอดจนไม่สามารถชี้พยานบุคคลเป็นลักษณะของบัตรสนเท่ห์ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2541 และเสนอผู้บังคับบัญชาเห็นชอบให้ยุติเรื่องแล้ว 4. ปัญหาที่ดิน ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดประสานแจ้งข้อมูลไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบแล้ว 1. กรณีเป็นเรื่องพิพาทที่ดินระหว่างเอกชนกับเอกชน เมื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ทำการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแล้วถือเป็นข้อยุติ แม้บางครั้งคู่กรณีไม่สามารถตกลงกันได้ หรือนำเรื่องไปฟ้องร้องต่อศาลก็ตาม

13 คำอธิบายตัวชี้วัดกระทรวง
ประเภทเรื่องร้องเรียน การแก้ไขปัญหาที่นับว่าแล้วเสร็จ 4. ปัญหาที่ดิน (ต่อ) 2. กรณีเป็นการร้องเรียนเกี่ยวกับการพิสูจน์สิทธิ การครอบครองที่ดินของบุคคลในเขตที่ดิน ของรัฐ และเรื่องดังกล่าวได้เข้าสู่กระบวนการ พิสูจน์สิทธิแล้ว 5. ขอความช่วยเหลือ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดประสานแจ้งข้อมูลไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบ และผู้ร้องได้รับการช่วยเหลือตามสมควรแก่กรณีแล้ว หน่วยงาน ที่รับผิดชอบรายงานผลมาที่จังหวัดและศูนย์ ดำรงธรรมจังหวัดเสนอผู้บังคับบัญชาทราบหรือเห็นชอบให้ยุติเรื่อง 6. เรื่องทั่วไป ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดแจ้งประสานข้อมูลไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อพิจารณาดำเนินการตามที่เห็นสมควรแล้ว

14 การนับจำนวนเรื่องร้องเรียน
ให้นับเรื่องที่เข้าระหว่าง วันที่ 1 ตุลาคม – 30 กันยายน 2558 ที่ดำเนินการไม่แล้วเสร็จ เรื่องร้องเรียนที่ได้รับเข้าในปีงบประมาณ พ.ศ นับตั้งแต่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2559 กำหนดระยะเวลาในการดำเนินการจนได้ข้อยุติ ตั้งแต่วันที่ ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559

15 เงื่อนไขตัวชี้วัดกระทรวง
ให้กระทรวงมหาดไทยจัดเก็บข้อมูลเรื่องร้องเรียน ที่ได้รับเข้าในปีงบประมาณ พ.ศ แยกตามประเภทเรื่องร้องเรียน หากไม่ดำเนินการจะถูกหัก คะแนนในตัวชี้วัดที่ (2) ร้อยละของจำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด : เรื่องร้องเรียนที่ได้รับเข้าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

16 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 2 : ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (10)
งานบริการที่จะสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ จำนวน งานบริการ ดังนี้ งานเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ (4) งานบริการข้อมูลข่าวสาร/บริการให้คำปรึกษา (3) 3. งานบริการเบ็ดเสร็จ/บริการส่งต่อ (3)

17 คำอธิบายงานบริการที่จะสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ
1. งานเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ หมายถึง งานที่ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องที่ประชาชนบอกเล่าหรือแจ้งศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นทางวาจา จดหมาย บันทึก หรือระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อขอให้ช่วยเหลือ แก้ไข บรรเทาความเดือดร้อน หรือตรวจสอบข้อเท็จจริง อันเนื่องมาจากการได้รับความเดือดร้อน ความไม่เป็นธรรม หรือพบเห็นการกระทำผิดกฎหมาย และศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดได้ดำเนินการแล้วเสร็จ/ยุติเรื่องภายในปีงบประมาณ พ.ศ และแจ้งให้ประชาชนผู้รับบริการทราบเรียบร้อยแล้ว โดยไม่รวมถึงกรณี ดังต่อไปนี้ 1.1 เรื่องร้องเรียนที่มีลักษณะเป็นบัตรสนเท่ห์ตามมติคณะรัฐมนตรี (ไม่มีชื่อ – สกุลผู้ร้องเรียน ไม่มีที่อยู่ผู้ร้องเรียนหรือข้อมูลอื่นที่สามารถติดต่อได้) 1.2 เรื่องร้องทุกข์ที่มีลักษณะเป็นไปในทางนโยบายโดยตรง ซึ่งรัฐบาลต้อง รับผิดชอบต่อสภา 1.3 เรื่องที่คณะรัฐมนตรี หรือนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีมติเด็ดขาดแล้ว 1.4 เรื่องที่มีการฟ้องร้องเป็นคดีอยู่ในศาล หรือที่ศาลพิพากษา หรือมีคำสั่ง เด็ดขาดแล้ว

18 คำอธิบายงานบริการที่จะสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ
2. งานบริการข้อมูลข่าวสาร/บริการให้คำปรึกษา 2.1 งานบริการข้อมูลข่าวสาร หมายถึง งานที่ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดให้บริการเกี่ยวกับสิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใดๆ ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้น จะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือผ่านวิธีการใดๆ และไม่ว่าจะได้จัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือวิธีอื่นใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้ เพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นต่อประชาชน เช่น ข้อมูลกฎหมายที่จำเป็นสำหรับประชาชน ข้อมูลงานบริการภาครัฐประเภทต่างๆ ข้อมูลข่าวสารและนโยบายสำคัญของรัฐบาล เป็นต้น 2.2 งานบริการให้คำปรึกษา หมายถึง กระบวนการให้ความช่วยเหลือ ติดต่อสื่อสารกันด้วยวาจาและกิริยาท่าทางโดยผู้ให้คำปรึกษา เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้รับคำปรึกษา ซึ่งเป็นผู้ขาดความรู้ มีความทุกข์หรือต้องการความช่วยเหลืออื่นใด ให้มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถดำเนินการโดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ และเลือกเอาวิธีการที่ได้รับการให้คำปรึกษาไปแก้ไขปัญหาของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การให้คำปรึกษาทางกฎหมาย การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีปฏิบัติราชการ เป็นต้น

19 คำอธิบายงานบริการที่จะสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ
3. งานบริการเบ็ดเสร็จ/บริการส่งต่อ 3.1 งานบริการเบ็ดเสร็จ หมายถึง การให้บริการรับคำร้องหรือคำขอของประชาชนในงานบริการที่กำหนดไว้ที่ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด และเจ้าหน้าที่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จได้ทันที โดยไม่ต้องส่งเรื่องไปยังส่วนราชการเจ้าของเรื่อง 3.2 งานบริการส่งต่อ หมายถึง การให้บริการรับคำร้องหรือคำขอของประชาชน ในงานบริการที่กำหนดไว้ที่ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด แต่เจ้าหน้าที่ไม่สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จในทันที ต้องส่งเรื่องต่อไปยังผู้มีอำนาจพิจารณาของส่วนราชการเจ้าของเรื่องเพื่อดำเนินการต่อไป และนัดหมายให้ประชาชนผู้รับบริการมารับทราบผลการพิจารณาในภายหลัง

20 เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดจังหวัด
น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัดที่ 2 : ความพึงพอใจของผู้รับบริการ 10 65 70 75 80 85

21 เงื่อนไขตัวชี้วัดจังหวัด
1. เป็นการวัดผลการดำเนินงานของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด โดยนับรวมสถานที่หรือจุดให้บริการที่ได้รับการยืนยันว่าเป็นผลการดำเนินงานของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดทุกแห่ง (ซึ่งอาจเป็นการดำเนินงานของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอ หรือการดำเนินงานโดยใช้ศูนย์บริการร่วมของหน่วยงานอื่นที่ทำความ ตกลงกันไว้ก็ได้) ทั้งนี้ ในขั้นตอนการสำรวจ สำนักงานสถิติแห่งชาติจะสุ่มสำรวจ ณ สถานที่หรือจุดให้บริการตามหลักการทางสถิติ 2. การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ เป็นการดำเนินการสำรวจโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามหลักการทางสถิติจากฐานข้อมูลเฉพาะผู้รับบริการที่ได้รับบริการแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ เท่านั้น มิได้หมายถึง ผู้รับบริการทุกรายที่ขอใช้บริการ หรือผู้รับบริการซึ่งอยู่ระหว่างรอผลการพิจารณา/ระหว่างดำเนินการ 3. ขอให้จังหวัดจัดเตรียมฐานข้อมูลผู้รับบริการประจำปีงบประมาณ พ.ศ โดยขอให้ดำเนินการดังนี้

22 เงื่อนไขตัวชี้วัดจังหวัด
3.1 งานเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ โปรดจัดเตรียมข้อมูลผู้รับบริการ (ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขติดต่อ) ในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ (Excel หรือ Word) ที่ดำเนินการแล้วเสร็จ ระหว่างเดือนตุลาคม 2558 – มกราคม 2559 (ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสถิติแห่งชาติจะแจ้งให้ทราบต่อไป) จัดส่งให้ เจ้าหน้าที่สำนักงานสถิติแห่งชาติที่จะดำเนินการประสานงานไปยัง ผู้รับผิดชอบในพื้นที่ โดยไม่ต้องส่งข้อมูลไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. อีก 3.2 งานบริการข้อมูลข่าวสาร/บริการให้คำปรึกษา และ งานบริการ เบ็ดเสร็จ/บริการส่งต่อ โปรดจัดเตรียมรายละเอียดสถานที่ให้บริการ (ได้แก่ ศูนย์ดำรงธรรม จังหวัด ศูนย์ดำรงธรรมอำเภอ และ/หรือรายชื่อสถานที่ให้บริการอื่น (ถ้ามี) ที่อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด (ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสถิติแห่งชาติจะแจ้งให้ทราบต่อไป) เพื่อแจ้งต่อเจ้าหน้าที่สำนักงานสถิติแห่งชาติในขั้นตอนการสำรวจ โดยไม่ต้องส่งข้อมูลไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. อีก สำหรับแบบฟอร์มที่จังหวัดจะต้องดำเนินการนั้น เจ้าหน้าที่ สำนักงานสถิติแห่งชาติในพื้นที่จะเป็นผู้ประสานงานในการจัดส่งใน ระหว่างขั้นตอนการสำรวจช่วงเดือนมีนาคม – กรกฎาคม 2559

23 เงื่อนไขตัวชี้วัดจังหวัด
4. สำนักงาน ก.พ.ร. และสำนักงานสถิติแห่งชาติขอสงวนสิทธิ์ใน การยกเลิกงานบริการที่ไม่สามารถดำเนินการสำรวจความ คิดเห็นได้ตามจำนวนขั้นต่ำซึ่งเพียงพอต่อการนำเสนอผล ทั้งนี้ หากมีการยกเลิกงานบริการใดงานบริการหนึ่ง จะมี แนวทางดำเนินการโดยเฉลี่ยน้ำหนักเพิ่มไปยังงาน บริการที่เหลือตามสัดส่วน ดังนี้ 4.1 กรณีตัดน้ำหนักงานบริการที่ 2 (หรืองานบริการ ที่ 3) จะเฉลี่ยเพิ่มไปยังงานบริการที่ 1 ร้อยละ 2 และงานบริการที่ 3 (หรืองานบริการที่ 2) อีก ร้อยละ 1 4.2 กรณีตัดน้ำหนักงานบริการที่ 2 และ งานบริการที่ 3 น้ำหนักของงานบริการทั้งหมดจะรวมไว้ ที่งานบริการที่ 1 เป็นจำนวนรวมร้อยละ 10

24 เงื่อนไขตัวชี้วัดจังหวัด
5. สำนักงาน ก.พ.ร. ขอสงวนสิทธิ์ในการปรับลดคะแนนตัวชี้วัดนี้ ในกรณีที่ พบว่าสำนักงานสถิติแห่งชาติไม่ได้รับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจ จากผู้รับผิดชอบงานบริการภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยจะปรับลด คะแนนวันละ คะแนน นับจากวันที่ครบกำหนดตามหนังสือ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ 6. ในการกำหนดผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด ผู้ว่าราชการจังหวัดควรพิจารณา มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานจังหวัดหรือศูนย์ดำรงธรรม จังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดนี้ มิใช่เจ้าหน้าที่ของสำนักงาน สถิติจังหวัด เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและผลการสำรวจที่ได้มีความ น่าเชื่อถือ เนื่องจาก สำนักงานสถิติจังหวัดจะเป็นตัวแทนของสำนักงาน สถิติแห่งชาติในฐานะผู้ดำเนินการสำรวจอิสระในพื้นที่ (Third Party) ตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด

25 ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ของคณะตรวจติดตามประเมินผลฯ ในการตรวจติดตามประเมินผลส่วนราชการระดับกรมในสังกัด มท. ระหว่างวันที่ และ 25 มกราคม 2559   ส่วนราชการ/หน่วยงาน ควรเตรียมความพร้อมของหลักฐานอ้างอิงให้ครบถ้วนและชัดเจน หากคณะตรวจติดตามประเมินผลฯ สงสัยจะสุ่มตรวจจากเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง 2. กรณีส่วนราชการ/หน่วยงานที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลผลการดำเนินงานไม่ตรงกับรายงานในรอบ 12 เดือน ต้องนำเรียนผู้บริหารเพื่อรับรองข้อมูล และสำเนาเอกสารให้คณะตรวจประเมินฯ ไว้เป็นหลักฐานในวันที่ตรวจประเมิน 3. คณะตรวจติดตามประเมินผลฯ จะตรวจตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในรายละเอียดของตัวชี้วัด 4. การตรวจประเมินผลตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับการจัดทำระบบฐานข้อมูลต้องเน้นประโยชน์จากข้อมูลว่าได้นำไปใช้ประโยชน์อะไรบ้าง และมีความคุ้มค่ากับงบประมาณที่ใช้ลงทุนไปหรือไม่ เวลาตรวจ จะตรวจไปตามลำดับขั้นตอนการดำเนินงาน และจะขอไปตรวจสอบกับระบบการทำงานจริงว่าสามารถทำงานได้ตามที่กรมรายงานหรือไม่

26 ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ของคณะตรวจติดตามประเมินผลฯ ในการตรวจติดตามประเมินผลส่วนราชการระดับกรมในสังกัด มท. ระหว่างวันที่ และ 25 มกราคม 2559   คณะตรวจติดตามประเมินผลฯ จะตรวจสอบว่ากรมประมวลผลคะแนนตามตัวชี้วัดถูกต้องตามสูตรการคำนวณที่กำหนดไว้ในรายละเอียดของตัวชี้วัดหรือไม่ 6. การกำหนดตัวชี้วัดที่สะท้อนการทำงานของกรมตามยุทธศาสตร์/พันธกิจของกรมควรดำเนินการวัดอย่างต่อเนื่องฯ ไม่ควรวัดเพียงปีเดียว 7. ในขั้นตอนระดับ 5 คะแนน ส่วนราชการ/หน่วยงาน ควรสรุปรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดให้ผู้บริหารรับทราบ หรือมีการรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารทราบอย่างต่อเนื่องเป็นระยะๆ และควรรายงานผลสำเร็จของตัวชี้วัดในการนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม 8. คณะตรวจติดตามประเมินผลฯ จะตรวจสอบตัวเลขผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของ กรมว่าตรงกับที่รายงานในรอบ 12 เดือนหรือไม่ 9. กรณีส่วนราชการ/หน่วยงาน ได้ดำเนินงานตามภารกิจโดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดมาอย่างต่อเนื่อง และมีผลบรรลุเป้าหมายแล้วควรปรับการประเมินผลโดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนหรือปรับเปลี่ยนตัวชี้วัดให้มีความท้าทายมากยิ่งขึ้น

27 “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข”


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google