งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
แผนปฏิบัติการ (Action Plan)

2 เป้าประสงค์ Structure Process IT People Action Plan (แผนปฏิบัติการ)
การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ (Strategy Implementation) แผนปฏิบัติราชการรายปี แผนยุทธศาสตร์ /แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี วิสัยทัศน์/ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ (ตัวชี้วัด/เป้าหมาย) กลยุทธ์ Action Plan (แผนปฏิบัติการ) S W O T Structure Process IT People Alignment

3 ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก
SWOT กับ กลยุทธ์ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก S จุดแข็งภายใน W จุดอ่อนภายใน O โอกาสภายนอก SO กลยุทธ์เชิงรุก โดยใช้สภาพของโอกาส และจุดแข็ง ทำให้วิสัยทัศน์ สู่ความสำเร็จ WO กลยุทธ์เชิงรับ/เชิงแก้ไข ใช้สภาพของโอกาส และจุดแข็ง แก้ไขจุดอ่อน T อุปสรรคภายนอก ST กลยุทธ์เชิงป้องกัน/เชิงปรับเปลี่ยน ป้องกันอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น WT กลยุทธ์อิสระ (คิดนอกกรอบ SWOT) ใช้ความคิดเชิงสร้างสรรค์ เร่งรุกบุกเร็ว Aggressive ตั้งรับปรับตัว Turnaround P.S.O. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน (จุดด้อย) โอกาสและอุปสรรค (ความเสี่ยง)ขององค์กร (SWOT Analysis) โดย รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ชูเพ็ญ วิบุลสันติ   Download จาก 10 กุมภาพันธ์ 2546 รั้งรอขอจังหวะ Defensive/ Diversify เลิกราหาแผนใหม่ Retrenchment แต่ถ้ามีการแก้ไขจุดอ่อน และป้องกันอุปสรรค

4 การนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติการ
นโยบายปรับเปลี่ยน ทบทวน/ปรับกลยุทธ์ สังคม/โลกเปลี่ยนแปลง แผนยุทธศาสตร์ ความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล กระบวนการปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติการ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ผู้ปฏิบัติ เวลา

5 แผนปฏิบัติการ แผนที่ทำขึ้นสำหรับใช้ในการบริหารให้เกิด
ความสำเร็จและมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ที่กำหนด มีระบบการทำงานที่ชัดเจน ใช้งบประมาณคุ้มค่าและมีการตรวจสอบ

6 แผนปฏิบัติการคือ เครื่องค้ำประกันว่าเป้าหมายในการทำงานในแต่ละปีมีโอกาสบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้
แผนปฏิบัติการคือ ผลของการแปลงความคิดในการจะทำสิ่งต่าง ๆ ของคนทำงานให้ออกมาอยู่ในกระดาษที่ผ่านการกลั่นกรองแล้วว่าเป็นไปได้และสอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนดไว้

7 วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนปฏิบัติการ
เพื่อให้มั่นใจว่ามีแนวทางในการสร้างความสำเร็จให้กับเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อลดความขัดแย้งในการทำงาน เพื่อจัดลำดับความสำคัญและเร่งด่วน เพื่อใช้มอบหมายงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ใครจะต้องทำอะไร เมื่อไหร่ อย่างไร) เพื่อใช้ในการกำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายประจำปี เพื่อให้แผนที่วางไว้มีความเป็นไปได้

8 4. ปรับกระบวนการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ 1. ศึกษาแผนยุทธศาสตร์ 5. ควบคุม กำกับ ติดตาม PLANNING 2. ทบทวน/ปรับกลยุทธ์ 3. จัดทำแผนปฏิบัติการ 4. ปรับกระบวนการปฏิบัติงาน

9 ศึกษาแผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์กลยุทธ์ที่ได้กำหนดไว้ เพื่อจัดทำรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินงานต่างๆให้เป็นไปตามกลยุทธ์

10 ทบทวน/ปรับกลยุทธ์ พิจารณาว่าเหมาะสมหรือไม่ อาจมีกรณีที่มีความจำเป็นต้องปรับกลยุทธ์ เนื่องจาก - นโยบาย - สังคมภายในประเทศ สังคมโลก - กลยุทธ์ไม่เหมาะสม

11 ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการ
แปลงแผนยุทธศาสตร์ เป็นแผนปฏิบัติการ (Action Plan) เพื่อเป็นกรอบ ทิศทางการดำเนินงานตามภารกิจ

12 ปรับกระบวนการปฏิบัติงาน
ปรับกระบวนการปฏิบัติงานเพื่อให้พร้อมที่จะนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติงานได้สำเร็จ

13 ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล การปฏิบัติงาน
- ตรวจสอบความเข้าใจ - กำกับการปฏิบัติงาน - การได้รับการสนับสนุนโดยการมีส่วนร่วม

14 ลักษณะของแผนปฏิบัติการที่ดี
เป็นไปได้สูง ผ่านการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ปฏิบัติได้ พิจารณาจากกิจกรรมในแผน นำไปใช้แล้วเสร็จทันเวลา ยืดหยุ่น แผนนั้นเอื้อในการให้มีการปรับให้เหมาะกับสถานการณ์ สื่อความได้ชัดเจน บุคลากรทุกคนเข้าใจและทำหน้าที่ได้เหมาะสม บังเกิดผล แผนที่ให้ผลตามเป้าหมาย เชิงปริมาณ และ คุณภาพ ประหยัด กิจกรรมที่ทำมีประสิทธิภาพ บังเกิดผลอย่าง ประหยัดเวลา และ ทรัพยากร ร่วมจัดทำ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดทำ สนองกลยุทธ์/นโยบาย มีการใช้ข้อมูล (จำเป็น) เป็นพื้นฐานในการตัดสินใจ มีระบบการบังคับ ควบคุม ติดตามและประเมินผล เพื่อการปรับปรุง

15 แผนงาน โครงการ

16 แผนงาน กลุ่มของงานหรือโครงการที่มีความเกี่ยวข้องสอดคล้องเชื่อมโยงกันอยู่ภายใต้ภารกิจ หน้าที่ เพื่อให้การทำงานบรรลุวัตถุประสงค์เดียวกัน

17 โครงการ กิจกรรมที่สามารถ วิเคราะห์ วางแผน
กิจกรรมที่สามารถ วิเคราะห์ วางแผน และนำไปปฏิบัติโดยมีจุดเริ่มต้นและ จุดสิ้นสุด มีวัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีดำเนินงาน ทรัพยากร ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบโครงการ และวิธีประเมินผล ที่ชัดเจน

18 โครงการ การวางแผนล่วงหน้าที่จัดทำขึ้นอย่างมีระบบมีเป้าหมายเพื่อการผลิตหรือให้บริการ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรในการดำเนินงานและคาดหวังที่จะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า

19 ลักษณะของโครงการที่ดี
วัตถุประสงค์ เป้าหมายชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย รายละเอียด โครงการ สอดคล้อง แก้ปัญหา สนองความต้องการ มีวิธีติดตาม ประเมิน ชัดเจน ระยะเวลา ชัดเจน ทรัพยากร เหมาะสม

20 องค์ประกอบของโครงการ
ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล แสดงความเป็นมา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ระยะเวลา กิจกรรมและวิธีดำเนินการ งบประมาณที่ใช้ ผู้รับผิดชอบ การประเมินผล

21 วัตถุประสงค์ /เป้าหมาย
ส่วนประกอบโครงการ ชื่อโครงการ/งาน ทำอะไร หลักการและเหตุผล ทำไม ต้องทำ กิจกรรม ต้องทำ อะไรบ้าง วัตถุประสงค์ /เป้าหมาย ทำแล้วได้อะไร การวัดและประเมินผล ทำได้แค่ไหน งบประมาณ

22 แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ…………………
หน่วยงาน ยุทธศาสตร์ที่ กลยุทธ์ที่ ลำดับที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ สถานที่ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ/ หน่วยนับ จำนวน ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ดำเนินการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เชิงปริมาณ…………….. เชิงคุณภาพ……………. เชิงปริมาณ…………….

23 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google