งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยง ด้านสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยง ด้านสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยง ด้านสุขภาพ

2 เหลียวหลังแลหน้า การกระจายของข้อมูล เขต4 เขต 5 เขต6 Best
ระดับดีเด่น เขต6 ระดับปานกลาง Best 5 กลุ่มวัย+สลว. ระดับพัฒนา ค่ากลางระดับจังหวัด ค่ากลางระดับเขต สร้างความสมดุลของมาตรการระดับเขต สู่มาตรฐานที่สามารถปฏิบัติได้ ในระดับจังหวัด ค่ากลางระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล เหลียวหลังแลหน้า

3 เมื่อมีค่ากลางแล้ว………….แล้วใช้อย่างไร
แผนที่ยุทธศาสตร์ PSO 1101 SRM Logic Model KM ค่ากลาง จังหวัด อำเภอ ตำบล

4 การใช้ค่ากลาง เข้าใจ พัฒนา เข้าถึง
1)ข้อมูลสภาพกล่มเป้าหมาย (CD/NCD/โภชนาการ/ พฤติกรรรม) 2) ใช้ข้อมูลสภาวะแวดล้อมทางกายภาพ/เศรษฐกิจ/สังคมของ กลุ่มเป้าหมาย 3)ใช้ข้อมูลการบริหารจัดการแผนงาน/โครงการ เข้าถึง 1) จำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะ พัฒนา 1) ค่ากลางของโครงการของกลุ่มเป้าหมายระดับเขต/จังหวัด /อำเภอ 2) บูรณาการงานในโครงการสำหรับกลุ่มเป้าหมาย กำหนดตัวชี้วัด 2) กำหนดกิจกรรมสำคัญสำหรับกลุ่มเป้าหมายย่อยและพื้นที่เสี่ยง 3) จัดสรรความรับผิดชอบด้านทรัพยากรระหว่างภาครัฐกับประชาชน 4) มอบอำนาจความรับผิดชอบการป้องกันโรค สร้างเสริมสุขภาพ ให้ภาคประชาชน 3) กำหนดงานสำหรับ แต่ละกิจกรรมจากมาตรฐานทางวิชาการ หรือค่ากลาง 5)สร้างนวัตกรรมสังคม

5 การจัดการสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ด้วยหกการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา
KPI องค์กร KPI องค์กร 1 KPI องค์กร 2 3 4 KPI องค์กร 6 5 7 KRI องค์กร 8 ที่มา : อมร นนทสุต,2559

6 ขั้นที่ 1 สร้างระบบข้อมูลสุขภาพและสภาวะแวดล้อม
ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นที่ 3 จำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะกลุ่มเป้าหมายย่อยและพื้นที่เสี่ยงใช้หลักจัดการความเสี่ยง โดยค้นหากลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ๆมีความเสี่ยงต่างๆกัน เพื่อการใช้ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ทีมหมอครอบครัวกำหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะทางสุขภาพ (ความเสี่ยง) เป็นรายบุคคลเป้าหมาย ทีมท้องถิ่นและภาคประชาชนกำหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะแวดล้อมเป็นรายหมู่บ้าน บันทึกรายละเอียดเหตุผลในการให้คะแนนในช่องหมายเหตุด้วย ขั้นที่ 1 สร้างระบบข้อมูลสุขภาพและสภาวะแวดล้อม ขั้นที่ 2 กำหนดค่ากลางของโครงการสำหรับกลุ่มเป้าหมาย

7 วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา กรอบพิจาณาเกณฑ์ความเสี่ยงกลุ่มเป้าหมาย
ปัจจัยต้นเหตุ (Determinant) ขนาดของปัญหา ประเภทของข้อมูล ข้อมูลด้านสถานะสุขภาพ (Health Status) 2. ข้อมูลกิจกรรมบริการสาธารณสุข (Health Activities) 3. ข้อมูลด้านทรัพยากรสาธารณสุข (Health Resources) 4. ข้อมูลพฤติกรรมอนามัย (Health Behavior) 5. ข้อมูลประชากรและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ได้แก่ ประชากรตาม อายุ เพศ สถานที่ต่างๆ อัตราการเพิ่มประชาการ วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การป่วยการตาย(Mobility,Motality) ความรุนแรงของปัญหา พฤติกรรมเสี่ยง(Behavior risk) กลุ่มวัยแม่และเด็ก (แนวคิดการเฝ้าระวัง 5 มิติ) กลุ่มเป้าหมาย ผลกระทบ เหตุการณ์ผิดปรกติและการระบาด(Eventbased Surviellance) กลุ่มวัยเรียน โอกาสหรือความเป็นไปได้ที่จะมีสุขภาพที่ดีขึ้น การตอบสนองต่อแผนงาน/มาตรการ(Program response) กรอบพิจาณาเกณฑ์ความเสี่ยงกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยร่น ด้านกายภาพ/ชีวภาพ สภาพบ้านเรือน แหล่งน้ำ ทรัพยากร ถนน ระบบน้ำ ไฟฟ้า /สาธารณูปโภค กลุ่มวัยทำงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม กลุ่มวัยผู้สูงอายุ และผู้พิการ ด้านสังคม วัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ โอกาสเกิดปัญหา ด้านเศรษฐกิจ

8 3.1 การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อมของหมู่บ้าน
ขั้นที่ 3 3.1 การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสุขภาพ ตัวอย่าง กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย สิ่งแวดล้อม สภาวะทางสุขภาพ คะแนนความเสี่ยง เกณฑ์การให้คะแนน การประเมิน สมรรถภาพในการช่วยเหลือตนเอง (ADL) Activity Daily Living 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก ติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง ด้านโรคไม่ติดต่อ มีความเสี่ยง โรคเบาหวาน หรือ ความดัน ไม่มีโรคแทรก โรคเบาหวาน และ ความดัน มีโรคแทรกซ้อน ด้านโภชนาการ ค่าดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีมวลกาย มากกว่า 25 น้อยกว่า 18.5 ด้านพฤติกรรม ไม่ล้างมือ ไม่ใช้ช้อนกลาง และดื่มน้ำอัดลม ชอบหวาน มัน เค็ม ดื่มสุรา สูบบุหรี่ สิ่งแวดล้อมของหมู่บ้าน (ตามเกณฑ์ที่กำหนด) คะแนนความเสี่ยง เกณฑ์การให้คะแนน ด้านกายภาพ การจัดการขยะ การใช้ส้วมนั่งยอง การใช้พื้นที่ร่วมกัน 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก มีระบบการจัดการการจัดการขยะ มีการการใช้ส้วมนั่งยอง การใช้พื้นที่ร่วมกัน ด้านสังคม การร่วมกิจกรรมในชุมชน การถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น ด้านเศรษฐกิจ อาชีพ รายได้ หนี้สิน

9 ขั้นที่ 3 ใช้หลักจัดการความเสี่ยง โดยค้นหากลุ่มเป้าหมายและพื้นที่
จำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะกลุ่มเป้าหมายย่อยและพื้นที่เสี่ยง ใช้หลักจัดการความเสี่ยง โดยค้นหากลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ ที่มีความเสี่ยงต่างๆ กัน เพื่อการใช้ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ กลุ่มเป้าหมาย สิ่งแวดล้อม ทีมหมอครอบครัวกำหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะทาง สุขภาพ (ความเสี่ยง) เป็นรายบุคคลเป้าหมาย ทีมท้องถิ่นและภาคประชาชนกำหนดเกณฑ์และให้คะแนน สภาวะแวดล้อมเป็นรายหมู่บ้าน บันทึกรายละเอียดเหตุผลในการให้คะแนนในช่องหมายเหตุ ด้วย

10 ส่วนที่ 1 วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
บทบาทของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ เลือกกลุ่มเป้าหมาย ระบุเหตุผล ระบุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง --> ประชุม กลุ่มย่อย ส่วนที่ 1 วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์การแบ่งระดับความเสี่ยง น้อย 1 คะแนน ปานกลาง 2 คะแนน สูง 3 คะแนน โรคประจำตัว ภาวะแทรกซ้อน ความพิการ พฤติกรรมสุขภาพ ภาวะโภชนาการ การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน (ADL) ฯลฯ อย่างน้อย 4 ด้าน แต่ละด้านเลือกเกณฑ์ การให้คะแนน โดยระบุ ความเสี่ยงเป็น 3 ระดับ

11 การจำแนกและจัดลำดับความสำคัญของกลุ่มเป้าหมาย ---> ผู้สูงอายุ
คะแนนความเสี่ยง อยู่ระหว่าง 4 ถึง 12 สภาวะทางสุขภาพ คะแนนความเสี่ยง เกณฑ์การให้คะแนน การประเมิน สมรรถภาพในการช่วยเหลือตนเอง (ADL) Activity Daily Living 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก ติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง ด้านโรคไม่ติดต่อ มีความเสี่ยง โรคเบาหวาน หรือ ความดัน ไม่มีโรคแทรก โรคเบาหวาน และ ความดัน มีโรคแทรกซ้อน ด้านโภชนาการ ค่าดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีมวลกาย มากกว่า 25 น้อยกว่า 18.5 ด้านพฤติกรรม ไม่ล้างมือ ไม่ใช้ช้อนกลาง และดื่มน้ำอัดลม ชอบหวาน มัน เค็ม ดื่มสุรา สูบบุหรี่

12 ตัวอย่างตารางการให้คะแนน

13 สรุปคะแนนความเสี่ยงของกลุ่มผู้สูงอายุแยกรายหมู่บ้าน.................
คะแนนรวม หมู่ที่ รวม 1 2 3 4 5 6 7 54 45 33 31 46 37 291 18 10 22 11 17 19 134 21 13 107 20 16 9 86 8 12 50 112 97 137 100 77 87 707

14 ระดับความเสี่ยงของกลุ่มผู้สูงอายุ
คะแนน จำนวน (คน) หมายเหตุ 4 291 คะแนน 4-6 5 134 เสี่ยงน้อย 6 107 7 86 คะแนน 7-9 8 50 เสี่ยงปานกลาง 9 18 10 20 คะแนน 10-12 11 1 เสี่ยงมาก 12 รวม 707

15 การใช้พื้นที่ร่วมกัน ฯลฯ
ด้านกายภาพ การจัดการขยะ การใช้ส้วมนั่งยอง การใช้พื้นที่ร่วมกัน ฯลฯ ส่วนที่ 2 สิ่งแวดล้อม ด้านสังคม การร่วมกิจกรรมในชุมชน การถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น ฯลฯ ด้านเศรษฐกิจ อาชีพ รายได้ หนี้สิน ฯลฯ

16 สรุปเป็นภาพรวมของชุมชน
ข้อมูลทั้ง 3 ด้านนี้ ได้จากการร่วมกันวิเคราะห์ของผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มองค์กร เทศบาล หรือตัวแทนประชาชน โดยสังเกตความจริงที่เป็นอยู่ในชุมชน ใช้ข้อมูลจากครัวเรือน สรุปเป็นภาพรวมของชุมชน

17 ตัวอย่างการจัดลำดับความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมของหมู่บ้าน (ตามเกณฑ์ที่กำหนด) คะแนนความเสี่ยง รายชื่อหมู่บ้าน หมายเหตุ ด้านกายภาพ การจัดการขยะ การใช้ส้วมนั่งยอง การใช้พื้นที่ร่วมกัน 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก หมู่ที่ 3 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 6 ร้อยละของผู้สูงอายุในหมู่บ้านมีความเสี่ยงจากน้อยไปหามาก ด้านสังคม การร่วมกิจกรรมในชุมชน การถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น หมู่ที่ 3 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 6 , หมู่ที่ 2 จำนวนครั้งและปริมาณของคนเข้าร่วมกิจกรรมตามลำดับ ด้านเศรษฐกิจ อาชีพ รายได้ หนี้สิน หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 6 , หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 3 รายได้ หนี้สิน ของคนในชุมชนมีความเสี่ยงจากน้อยไปหามาก

18 สรุปคะแนนความเสี่ยง หมู่ที่ คะแนน รวม 1 2+1+2 5 2 2+3+1 6 3 1+1+3 4
3+2+3 8 1+1+1 3+3+2 7 1+2+1

19 การจัดลำดับความเสี่ยงของพื้นที่ (matrix)
จัดลำดับความสำคัญของชุมชนตามระดับความเสี่ยงของสภาวะทางสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม โดยจำแนกเป็น ชุมชนประเภท 1 (เสี่ยงมาก) ชุมชนประเภท 2 (เสี่ยงปานกลาง) ชุมชนประเภท 3 (เสี่ยงน้อย) ประเภทความเสี่ยงของชุมชนเป็นตัวกำหนดงาน สำหรับกลุ่มเป้าหมายและสิ่งแวดล้อม ในขั้นที่ 4

20 การกำหนดลำดับความสำคัญในภาพรวม
กลุ่มเป้าหมาย/ สิ่งแวดล้อมของชุมชน กลุ่มเสี่ยงมาก(จำนวน) กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (จำนวน) กลุ่มเสี่ยงน้อย(จำนวน) หมายเหตุ ชุมชน ที่มีความเสี่ยงสูง ที่มีความเสี่ยงปานกลาง ที่มีความเสี่ยงน้อย 1 1 2 ความสำคัญสูงสุด 1 2 3 2 3 3 ความสำคัญต่ำสุด

21 กลุ่มเป้าหมาย (เสี่ยง)
สภาพแวดล้อม ในหมู่บ้าน (โอกาสเกิด) กลุ่มเป้าหมาย (เสี่ยง) กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มเสี่ยงปานกลาง กลุ่มเสี่ยงต่ำ หมายเหตุ ชุมชน ที่มีความเสี่ยงสูง หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 6 1 คน ไม่มี รวม 1 คน คน รวม 48 คน รวม คน ความเสี่ยงปานกลาง หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 รวม 0 คน รวม 17 คน 103 คน รวม คน ความเสี่ยงน้อย หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 7 31 คน รวม 31 คน 70 คน รวม คน

22 แนวทางการกำหนดกิจกรรมสำคัญและงาน ตามระดับความเสี่ยงของพื้นที่
เน้นลดระดับความเสี่ยงใน ชุมชนประเภท 1 ลงด้วย มาตรการทางวิชาการสำหรับ กลุ่มเป้าหมายในสัดส่วนที่สูง กว่ามาตรการทางสังคม สัดส่วนจะกลับทางกันสำหรับ ชุมชนประเภท 3 และใกล้เคียง กันสำหรับประเภท 2 ความเข้มของมาตรการทั้ง เทคนิค สังคม และนวัตกรรม (สะท้อนด้วยลักษณะงาน) สูงสุดในประเภท 1 ต่ำสุดใน ประเภท 3 ทีมหมอประจำครอบครัวจัดการ งานภาครัฐ ท้องถิ่น/ชุมชน/อสม.จัดการ งานภาคประชาชน

23 ตัวอย่างการวิเคราะห์เพื่อกำหนดงานตามระดับความเสี่ยง ของตำบลท่ากว้าง อ
ตัวอย่างการวิเคราะห์เพื่อกำหนดงานตามระดับความเสี่ยง ของตำบลท่ากว้าง อ.สารภี เชียงใหม่ จุดเน้นหนักอยู่ที่งานภาคประชาชนที่ควรครอบคลุมทั้งตำบลในความเข้มที่ต่างกันตามระดับความเสี่ยง สามารถใช้งานในค่ากลางของจังหวัด (ปรับปรุงให้เหมาะกับบริบท) เป็นกรอบในการกำหนดงานภาคประชาชน โอกาสมอบความรับผิดชอบให้ภาคประชาชนดำเนินการเองมีความเป็นไปได้สูง อยู่ที่การเพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลซึ่งควรกำหนดงานเพิ่มเติมจากที่ปรากฏในค่ากลางของจังหวัด ทีมหมอครอบครัวกำหนดรูปแบบการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายสำหรับหมู่บ้านสีเหลืองเป็นหลัก โดยรวม 1 คนจากหมู่บ้านสีแดงเข้าไว้ในโครงการด้วย แบ่งงานระหว่างสมาชิกในทีมหมอครอบครัวภาครัฐ โดยใช้ระดับความเข้มปานกลางเป็นหลัก

24 การปฏิรูปโครงการ ใช้แนวคิดการพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนบทบาทของภาคประชาชน (หมายรวมทั้งท้องถิ่น/อสม.) ให้สามารถวางแผน จัดการโครงการสุขภาพได้ด้วยตนเอง อันเป็นเป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนาบทบาทของประชาชนโดยภาครัฐ สร้างโครงการที่ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน หรือใช้เทคนิคที่ไม่สามารถดำเนินการได้โดยภาคประชาชน ลดจำนวนโครงการให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อไม่ให้เป็นภาระต่อภาคประชาชนผู้ดำเนินโครงการ ควบคุมจำนวนโครงการที่มีจำนวนน้อยให้คงที่ โดยเปลี่ยนรูปแบบการวางโครงการจากที่ใช้ประเด็นปัญหาเป็นตัวตั้ง (Issue-based Project Formulation) ซึ่งไม่สามารถควบคุมจำนวนโครงการที่เกิดขึ้นได้ (Open-end) เป็นการใช้กิจกรรมจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ที่สำคัญเป็นตัวตั้ง (SRM Activity-based Project Formulation) ซึ่งมีจำนวนจำกัด ทำให้สามารถควบคุมจำนวนโครงการได้ การปรับเปลี่ยนลักษณะโครงการดังกล่าว ถือเป็นนโยบายที่ต้องกำหนดในระดับกระทรวงฯ และมีการแจ้งให้ทราบและถือปฏิบัติเป็นทางการ ส่วนการดำเนินการปรับเปลี่ยน ให้เป็นบทบาทของเจ้าหน้าที่ระดับที่ใกล้ชิดกับประชาชนที่สุด และต้องมีการประสานความร่วมมือและเพิ่มพูนสมรรถนะของภาคประชาชนเพื่อให้รับบทบาทดังกล่าวได้ต่อไปในอนาคต

25 ตัวอย่างการปฏิรูปโครงการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ต. ท่ากว้าง อ. สารภี จ
ตัวอย่างการปฏิรูปโครงการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ กิจกรรมจาก SRM ADL โรคไม่ติดต่อ โภชนาการ พฤติกรรม ชุดงาน/ค่าใช้จ่าย 1. การพัฒนา/บริการ กลุ่มเป้าหมาย ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ทำคลินิก NCD ทำคลินิก DPAC สร้างเสริมวามสุข 5 มิติ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ (บาท) 2. การเฝ้าระวัง/ คัดกรองโดยประชาชน สำรวจ 2Q, ADL วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด สารพิษในเลือด ชั่ง นน. วัดส่วนสูง คำนวณ BMI รอบเอว สำรวจพฤติกรรมสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการสุขภาพ (บาท) 3. การดำเนิน มาตรการ ทางสังคม ปฏิบัติการชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ สร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. เกษตรอินทรีย์ ตลาดผักปลอดภัย ปั่นจักรยานทุกวันอาทิตย์ แอโรบิก ทุกเย็น ผู้สูงอายุ วันอังคารและวันศุกร์ ธรรมนูญสุขภาพตำบล (บาท) 4. การสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยน ประชุม /อบรม เยี่ยมบ้าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ บุคคลต้นแบบ ประชุม /อบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาคม อสม. บุคคลต้นแบบ สื่อ การพัฒนาศักยภาพวิทยากรกระบวนการ (บาท) 5. การปรับ โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล โครงการสุขใจไม่คิดสั้น โครงการลดเค็มครึ่งหนึ่งคนท่ากว้างห่างไกลโรค โครงการลดละ เลิกบุหรี่ สุรา ยาเสพติด โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โรงเรียนร่มโพธิ์ (บาท) โครงการรายประเด็น โครงการรายกิจกรรม

26 แผนที่แสดงการกำหนดจุดเสี่ยง
หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3

27 การวิเคราะห์ความเสี่ยง
กลุ่มวัยผู้สงอายุ

28 การวิเคราะห์ความเสี่ยง ด้านสุภาพของกลุ่มเป้าหมาย

29 1. การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสุภาพของกลุ่มเป้าหมาย
1.1. ให้พื้นที่วิเคราะห์และจัดทำเกณฑ์ความเสี่ยงด้านสุภาพกลุ่มผู้สูงอายุ สภาวะทางสุขภาพ คะแนนความเสี่ยง เกณฑ์การให้คะแนน การประเมิน สมรรถภาพในการช่วยเหลือตนเอง (ADL) Activity Daily Living 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก ติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง ด้านโรคไม่ติดต่อ มีความเสี่ยง โรคเบาหวาน หรือ ความดัน ไม่มีโรคแทรก โรคเบาหวาน และ ความดัน มีโรคแทรกซ้อน ด้านโภชนาการ ค่าดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีมวลกาย มากกว่า 25 น้อยกว่า 18.5 ด้านพฤติกรรม ไม่ล้างมือ ไม่ใช้ช้อนกลาง และดื่มน้ำอัดลม ชอบหวาน มัน เค็ม ดื่มสุรา สูบบุหรี่

30 1.2. ให้วิเคราะห์ห้อมูลจากใบงานที่ 1 ลงสู่แบบประเมินด้านสุขภาพ

31 1.3 สรุปคะแนนความเสี่ยงของกลุ่มผู้สูงอายุแยกรายหมู่บ้าน.................
คะแนนรวม หมู่ที่ รวม ตำบล 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

32 1.4. สรุปภาพรวมระดับความเสี่ยงของกลุ่มผู้สูงอายุตำบลสาภี
1.4. สรุปภาพรวมระดับความเสี่ยงของกลุ่มผู้สูงอายุตำบลสาภี คะแนน จำนวน (คน) หมายเหตุ 4 คะแนน 4-6 เสี่ยงน้อย 5 6 7 คะแนน 7-9 เสี่ยงปานกลาง 8 9 10 คะแนน 10-12 เสี่ยงมาก 11 12 รวม

33 การวิเคราะห์และจัดทำเกณฑ์ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม
กลุ่มวัยผู้สงอายุ

34 สิ่งแวดล้อมของหมู่บ้าน
2.1 ให้พื้นที่วิเคราะห์และจัดทำเกณฑ์ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม 2.2 กำหนดระดับคะแนนความเสี่ยง 3 – 5 คะแนน ความเสี่ยงต่ำ 6 – 7 คะแนน มีความเสี่ยงปานกลาง 8 – 9 คะแนน มีความเสี่ยงสูง สิ่งแวดล้อมของหมู่บ้าน (ตามเกณฑ์ที่กำหนด) คะแนนความเสี่ยง เกณฑ์การให้คะแนน ด้านกายภาพ การจัดการขยะ การใช้ส้วมนั่งยอง การใช้พื้นที่ร่วมกัน 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก มีระบบการจัดการการจัดการขยะ มีการการใช้ส้วมนั่งยอง การใช้พื้นที่ร่วมกัน ด้านสังคม การร่วมกิจกรรมในชุมชน การถ่ายทอดภูมิปัญญา จากรุ่นสู่รุ่น ด้านเศรษฐกิจ อาชีพ รายได้ หนี้สิน 2.3 วิเคราะห์จากใบงานที่ 2 และสรุปความเสี่ยง หมู่ที่ ค่าคะแนน รวม ด้านกายภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ 1 2 3

35 3. การจัดลำดับความเสี่ยงของพื้นที่ (matrix) กลุ่มเป้าหมาย (เสี่ยง)
สภาพแวดล้อม ในหมู่บ้าน (โอกาสเกิด) กลุ่มเป้าหมาย (เสี่ยง) กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มเสี่ยงปานกลาง กลุ่มเสี่ยงต่ำ หมายเหตุ ชุมชน ที่มีความเสี่ยงสูง หมู่ที่.... หมู่ที่ ….. ….. คน รวม คน รวม คน รวม คน ความเสี่ยงปานกลาง หมู่ที่….. ความเสี่ยงน้อย

36 4. แผนที่แสดงการกำหนดจุดเสี่ยง
4. แผนที่แสดงการกำหนดจุดเสี่ยง หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มเสี่ยงปานกลาง เสียงต่ำ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มเสี่ยงปานกลาง เสียงต่ำ หมู่ที่ 3 Mapping สีตามผลวิเคราะห์ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มเสี่ยงปานกลาง เสียงต่ำ

37 3. การจัดลำดับความเสี่ยงของพื้นที่ (matrix)
ลำดับความสำคัญของหมู่บ้าน กิจกรรมสำคัญ งาน (แบ่งบทบาทหน้าที่) นวตกรรม ลำดับที่ 1 ภาครัฐ ภาคประชาชน ลำดับที่ 2 ภาครัฐ ภาคประชาชน ลำดับที่ 3 ภาครัฐ ภาคประชาชน

38 ตัวอย่างการปฏิรูปโครงการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ต. ท่ากว้าง อ. สารภี จ
ตัวอย่างการปฏิรูปโครงการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ กิจกรรมจาก SRM ADL โรคไม่ติดต่อ โภชนาการ พฤติกรรม ชุดงาน/ค่าใช้จ่าย 1. การพัฒนา/บริการ กลุ่มเป้าหมาย ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ทำคลินิก NCD ทำคลินิก DPAC สร้างเสริมวามสุข 5 มิติ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ (บาท) 2. การเฝ้าระวัง/ คัดกรองโดยประชาชน สำรวจ 2Q, ADL วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด สารพิษในเลือด ชั่ง นน. วัดส่วนสูง คำนวณ BMI รอบเอว สำรวจพฤติกรรมสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการสุขภาพ (บาท) 3. การดำเนิน มาตรการ ทางสังคม ปฏิบัติการชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ สร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. เกษตรอินทรีย์ ตลาดผักปลอดภัย ปั่นจักรยานทุกวันอาทิตย์ แอโรบิก ทุกเย็น ผู้สูงอายุ วันอังคารและวันศุกร์ ธรรมนูญสุขภาพตำบล (บาท) 4. การสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยน ประชุม /อบรม เยี่ยมบ้าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ บุคคลต้นแบบ ประชุม /อบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาคม อสม. บุคคลต้นแบบ สื่อ การพัฒนาศักยภาพวิทยากรกระบวนการ (บาท) 5. การปรับ โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล โครงการสุขใจไม่คิดสั้น โครงการลดเค็มครึ่งหนึ่งคนท่ากว้างห่างไกลโรค โครงการลดละ เลิกบุหรี่ สุรา ยาเสพติด โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โรงเรียนร่มโพธิ์ (บาท) โครงการรายประเด็น โครงการรายกิจกรรม

39 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยง ด้านสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google