ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยอมร หงสกุล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว โรงพยาบาลวานรนิวาส ยินดีต้อนรับ
โรงพยาบาลวานรนิวาส ยินดีต้อนรับ
2
โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 60 เตียง
โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 60 เตียง ที่อยู่ บ้านเลขที่ 1 หมู่ 9 ตำบลคอนสวรรค์ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร โทรศัพท์
3
นโยบายสายใยรักแห่งครอบครัว
1. ให้บริการแบบองค์รวมและผสมผสานตามมาตรฐาน โรงพยาบาลลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย โรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่ลูก โรงเรียนพ่อ-แม่ คลินิกนมแม่ มุมโภชนาการ พัฒนาการเด็กและทันตกรรม
4
นโยบายสายใยรักแห่งครอบครัว
2. ส่งเสริมและพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก โดยเน้นให้สามี ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วม รวมถึงการจัดตั้งชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว และพัฒนากิจกรรมของชมรม ให้สามารถเชื่อมกับเครือข่ายชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวในระดับจังหวัด ได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน
5
นโยบายสายใยรักแห่งครอบครัว
3. พัฒนาระบบคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ในเรื่อง การอนามัยแม่และเด็ก ตั้งแต่การฝากครรภ์ การคลอด บริการหลังคลอด คลินิกเด็กดี คลินิกนมแม่ เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างต่อเนื่อง ถึง 6 เดือน และส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัว ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญให้เกิดพัฒนาการสมวัย เติบใหญ่เป็นเด็กที่ดี ที่เก่ง ที่ฉลาดต่อไปในอนาคต
6
สรุปรายงานตามตัวชี้วัดงานอนามัยแม่และเด็ก คปสอ. วานรนิวาส
สรุปรายงานตามตัวชี้วัดงานอนามัยแม่และเด็ก คปสอ. วานรนิวาส ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2552 2553 2554 (ต.ค.53-พ.ค.54) อัตราการขาดออกซิเจน ในทารกแรกเกิด ไม่เกิน30/1,000การเกิดมีชีพ 15.15 ( 13 / 858 ) 9.93 ( 8 / 806 ) 4.18 ( 2 / 479 ) อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกิน ร้อยละ 7 6.07 ( 52 / 857 ) ( 49 / 806 ) 5.01 ( 24 / 479 ) อัตราเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 98.07 10,704/10,915 99.90 28,047/28,075 99.74 8,538/8,560 อัตราทารกกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 50 48.12 435 / 904 56.55 470 / 831 56.89 355/624
7
1. ทารกขาดออกซิเจนในขณะคลอด (BA)
เป้าหมาย 30:1000 การเกิดมีชีพ
8
สาเหตุทารกขาดออกซิเจนในขณะคลอด
2552 2553 2554 (ต.ค.53-พ.ค.54) 1.การคลอดติดไหล่/ทำหัตถการ 23.07 % 3 / 13 12.50 % 1 / 8 50 % 1 / 2 2. มารดาภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ เช่น ซีด , PIH 25 % 2 / 8 (จากบ้านม่วง 1 ราย) 0 / 2 3. การคลอดก่อนกำหนด 2 / 8 ( จาด แพด 1 ราย) 4. น้ำคร่ำผิดปกติ/ สะดือพันคอ 15.38 % 2 / 13 2 / 8 5. ทารกพิการแต่กำเนิด 12.5 %
9
สาเหตุทารกขาดออกซิเจนในขณะคลอด
การวิเคราะห์ข้อมูล : ไม่เกินเป้าหมาย และมีแนวโน้มลดลงปัญหาส่วนใหญ่ พบว่า เกิดจาก ด้านมารดา มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ เช่น ซีด HCT ≤ 33 %,ภาวะครรภ์เป็นพิษ,ครรภ์แฝด,การคลอดติดไหล่ ด้านทารก การคลอดก่อนกำหนด,ความพิการแต่กำเนิด
10
การพัฒนาการดูแลทารกขาดออกซิเจนในขณะคลอด
ประชุมเจ้าหน้าที่ เพื่อค้นหาและวิเคราะห์ปัญหาการคลอดติดไหล่,ครรภ์เป็นพิษ โดยจัดอบรมวิชาการ ทำFlow Chart คลอดติดไหล่ ติดไว้ ในห้องคลอด มีกิจกรรมการทบทวน Case ที่มีปัญหา ทุกราย
11
การพัฒนาการดูแลทารกขาดออกซิเจนในขณะคลอด
กระบวนการพัฒนาคุณภาพ เตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ สำหรับ NCPR พร้อมใช้ทุกรายที่ใกล้คลอด ทุกเวร การประสานงาน / เตรียมความพร้อมของทีม NCPR
12
กระบวนการพัฒนาคุณภาพ
ฝึกซ้อม NCPR จัดประชุมและซ้อมแผน NCPR 2 ครั้ง / ปี กระบวนการพัฒนาคุณภาพ พัฒนาศักยภาพการดูแลและเฝ้าระวังมารดา – ทารก ระยะรอคลอด ระยะคลอด หลังคลอดและ NCPR
13
ซ้อมอย่างสนุกสนานและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
กระบวนการพัฒนาคุณภาพ อบรม การช่วยคลอดติดไหล่ , NCPR , TrainingProgram 2 ครั้ง / ปี
14
การพัฒนาการดูแลทารกขาดออกซิเจนในขณะคลอด
ผลการดำเนินงาน มีระบบการส่งต่อมารดาที่มีปัญหาความเสี่ยงสูง จาก ANC ใช้แบบคัดกรองผู้คลอดที่มีปัจจัยเสี่ยง และปฏิบัติตามเกณฑ์ การรายงานแพทย์ ทำ NST ,mornitor FHS ทุกรายในมารดาที่มีภาวะเสี่ยง
15
การพัฒนาการดูแลทารกขาดออกซิเจนในขณะคลอด
ผลการดำเนินงาน มีระบบรายงานแพทย์ Second Call โดยกุมารแพทย์ 3 ท่าน ตลอด 24 ชั่วโมง แบบบันทึกรถ Emergency แบบประเมินความเสี่ยง
16
Flow chart ขั้นตอนการCPR
ติดไว้ในห้องคลอด
17
2. ทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า2,500 (LBW)
เป้าหมาย ร้อยละ7 ปีงบประมาณ 2552 2553 2554 ก่อนกำหนด 24 21 14 ครบกำหนด 28 10 รวม 52 49
18
อุบัติการณ์ ทารก 24 ราย / ทารกทั้งหมด 479 ราย
สาเหตุทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า2,500 (LBW) ปีงบประมาณ (ต.ค.53 – พ.ค. 54 ) อุบัติการณ์ ทารก 24 ราย / ทารกทั้งหมด ราย ร้อยละ (เป้าหมาย < ร้อยละ 7 ) 1. คลอดก่อนกำหนด อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ (14 ราย) 2. มารดาฝากครรภ์ไม่ครบ 4 ครั้งคุณภาพ(10 ราย) 3. น้ำหนักมารดาก่อนคลอดน้อยกว่า 45 กิโลกรัม( 9 ราย ) 4. หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี(6 ราย) ,มากกว่า 35 ปี (2 ราย) 5. ภาวะโลหิตจาง Hct <33% , Hb <11g/dl ( 2 ราย) 6. มารดาฝากครรภ์จากที่อื่น ( 3 ราย)
19
สาเหตุทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า2,500 (LBW) ปีงบประมาณ 2554 (ต. ค
อาชีพมารดา ทำนา ราย รับจ้าง / ค้าขาย ราย แม่บ้าน 2 ราย นักเรียน/ นักศึกษา 2 ราย
20
โครงการป้องกันภาวะ LBW
สถานีอนามัยภาคีเครือข่าย พัฒนาศักยภาพ ผู้รับผิดชอบงาน ในเรื่องANC คุณภาพคัดกรองภาวะLBW โรงเรียนพ่อแม่สัญจร สนับสนุนงบประมาณ ทักษะชีวิต, ANC ก่อน 12 wks โภชนาการ จัดโปรแกรมอาหารเพิ่มน้ำหนัก ให้คำปรึกษา แจกนมสำหรับหญิงมีครรภ์ ANC แบบคัดกรองค้นหาLBW สติ๊กเกอร์รูปดาวสีเหลือง ให้HE.คุณภาพ โรงเรียนพ่อ-แม่ ห้องคลอด CPG Premature Contraction อย่างมีประสิทธิภาพ โครงการป้องกันภาวะ LBW WELL BABY CLINIC ติดตามทารกแรกเกิดที่มีภาวะLBW ติดตามน้ำหนัก,พัฒนาการของทารก แพทย์ANC ค้นหาสาเหตุ,แก้ไขปัญหา ติดตามประเมินผล
21
โครงการป้องกันและแก้ไขภาวะทารกแรกเกิด น้ำหนักน้อยกว่า2,500กรัม (LBW)
22
การดำเนินงานโครงการป้องกันภาวะทารกแรกเกิด น้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม
ANC แบบคัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง LBW สติ๊กเกอร์รูปดาวสีเหลือง ให้สุขศึกษาคุณภาพ โรงเรียนพ่อ-แม่ แนะนำอาการของการเจ็บครรภ์ คลอดก่อนกำหนด เน้น Plot curve แนวโน้มน้ำหนัก
23
การดำเนินงานโครงการ ป้องกันภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม
สถานีอนามัย/ ชุมชน/ ภาคีเครือข่าย * พัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบงาน ในเรื่องANC คุณภาพ * คัดกรองภาวะLBW ตามแบบคัดกรอง LBW *โรงเรียนพ่อแม่สัญจร * ชุมชน จูงแม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์,ทักษะชีวิต ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
24
การดำเนินงานโครงการป้องกันภาวะทารกแรกเกิด น้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม
โภชนาการ จัดโปรแกรมอาหารเพิ่มน้ำหนัก , ให้คำปรึกษา เกี่ยวกับอาหาร
25
การดำเนินงานโครงการป้องกันภาวะทารกแรกเกิด น้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม
แพทย์ ANC ค้นหาสาเหตุ Estimate Fetal weigh แก้ไขปัญหา ติดตามประเมินผล ประเมินน้ำหนักแม่
26
การดำเนินงานโครงการป้องกันภาวะทารกแรกเกิด น้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม
ห้องคลอด ปฏิบัติตาม CPG Premature Contraction อย่างมีประสิทธิภาพ
27
การดำเนินงานโครงการป้องกันภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม
WELL BABY CLINIC ติดตามทารกแรกเกิดที่มีภาวะLBW ติดตามน้ำหนัก,พัฒนาการของทารก
28
ANCแผนการพัฒนา เพื่อแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
กิจกรรมที่ 1 - ประชุมผู้นำชุมชน อปท. อสม.เพื่อทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ - อมรมทักษะชีวิตให้แกนนำนักเรียนเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น - แต่งตั้งคณะกรรมการระดับอำเภอดำเนินงานเพื่อป้องกันภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย โดยเน้นตำบลที่มีปัญหา 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลกุดเรือคำ ตำบลวานรนิวาส ตำบลโพนแพง ตำบลเดื่อศรีคันไชย และตำบลหนองแวง
29
ANCแผนการพัฒนา เพื่อแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
กิจกรรมที่ 2 - จัดทำ CPG ดูแลหญิงตั้งครรภ์ให้ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพเพื่อป้องกันการคลอดทารกน้ำหนักตัวน้อย - ปรับปรุงสื่อการสอนโรงเรียนพ่อแม่ - มีแบบคัดกรองความเสี่ยง ประเมินโภชนาการ การให้สุขศึกษาหญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยง และให้การดูแลตามปัญหาที่พบ - ติดตามน้ำหนักทารกแรกเกิดในรายที่มีความเสี่ยงเพื่อติดตามผลการดำเนินงาน
30
3. เลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน (BF)
เป้าหมาย ร้อยละ 50
31
3. เลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน (BF)
การวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ทารกกินนมแม่อย่างเดียว 6เดือน เกินเป้าหมาย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปัญหาที่พบ ส่วนใหญ่ เกิดจาก 1. มารดากลุ่มข้าราชการ ลูกจ้าง ผู้ประกันตน ลาคลอดได้น้อย (45 – 90 วัน) มีความยุ่งยากในการบีบเก็บน้ำนม ร้อยละ 2. มารดาอายุน้อย ยังไม่พร้อมดูแลบุตร เด็กถูกนำไปฝากเลี้ยง กับผู้อื่น จากวิถีชีวิต และความเชื่อของผู้ดูแล ที่มีมานาน เช่น “อายุ3-4 เดือนต้องป้อนข้าว เพราะมารดาน้ำนมไม่พอ”, “ ลูกกินไม่อิ่ม” , “มารดาผิดกรรม” เป็นต้น ร้อยละ 58.94 3. มารดาขาดความรู้และยากจน ต้องหาเลี้ยงชีพอยู่ต่างจังหวัด ร้อยละ 7
32
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ระยะที่ 1 ( ปี2551) จัดตั้งคลินิกนมแม่ , Mrs นมแม่ ระยะที่ 2 ( ปี2552 – 2553) สร้างเครือข่ายแกนนำอาสาสมัครนมแม่ ประจำหมู่บ้าน ( 2 คน / 1หมู่บ้าน) ระยะที่ 3 ( ปี2554 ) บูรณาการหมู่บ้านสายใยรักเป็นหมู่บ้านต้นแบบนมแม่ (บ้านขาม)
33
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน ผลการดำเนินงาน ระยะที่ 1 ( ปี 2551) จัดตั้งคลินิกนมแม่ , Miss นมแม่ ใน รพ. ,CUP โดยอบรมให้ความรู้บุคลากรและแกนนำ ,ประชาสัมพันธ์สร้างกระแสนมแม่โดยการจัดวิทยุชุมชน
34
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน ผลการดำเนินงาน ระยะที่ 2 ( ปี2552 – 2553) สร้างเครือข่ายแกนนำอาสาสมัครนมแม่ ประจำหมู่บ้าน ( 2 คน / 1หมู่บ้าน ) จำนวน 364 คน / 182 หมู่บ้านเพื่อเยี่ยมและให้คำแนะนำมารดาหลังคลอด แก้ไขปัญหาเบื้องต้น การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จัดตั้งกลุ่มแม่อาสาประจำหมู่บ้าน
35
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน ผลการดำเนินงาน ระยะที่ 2 ( ปี2552 – 2553) แผนกฝากครรภ์ ตรวจเต้านม และแก้ไขปัญหาหัวนมขณะตั้งครรภ์ กลุ่มโรงเรียนพ่อแม่
36
หลังคลอดร่วมกับนวดแผนไทย
ประคบเต้านมด้วยลูกประคบสมุนไพรโดยแพทย์แผนไทย บีบนวดเต้านมและสาธิตวิธีเก็บน้ำนม ให้บริการน้ำขิงกระตุ้นน้ำนมทุกวัน
37
จัดทำสวนสาธิต สมุนไพรบำรุงน้ำนมในโรงพยาบาลวานรนิวาส
จัดทำสวนสาธิต สมุนไพรบำรุงน้ำนมในโรงพยาบาลวานรนิวาส
38
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน ผลการดำเนินงาน ระยะที่ 3 ( ปี2554 ) บูรณาการหมู่บ้านสายใยรักเป็นหมู่บ้านต้นแบบนมแม่ (บ้านขาม) พัฒนาระบบบริการคลินิกนมแม่ เข้าถึงบริการได้ทั่วถึง มีระบบการติดตาม เพื่อช่วยเหลือ ,สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พัฒนาศักยภาพ Mrs. นมแม่ ทุกสถานีอนามัย
39
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน ผลการดำเนินงาน ระยะที่ 3 ( ปี2554 ) ประชาสัมพันธ์สร้างกระแสนมแม่โดยยุวทูต โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับ เพชร (โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส) ฟื้นฟูทักษะการเลี้ยงลูกด้วนนมมารดา แก่เจ้าหน้าที่ ห้องคลอด หลังคลอด ต่อเนื่องทุกปี มีแบบประเมิน 2 tick, Training Program ครั้ง/ปี
40
4. เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
เป้าหมาย ร้อยละ 90
41
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เด็ก อายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เกินเกณฑ์ พัฒนาการที่ยังพบว่าผิดปกติ คือพัฒนาการ ด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก ด้านสังคม และด้านภาษา สาเหตุ พ่อแม่ ประกอบอาชีพนอกบ้าน ปล่อยให้เด็กอยู่กับผู้สูงอายุ หรือญาติ, ขาดการเลี้ยงดูด้วยความรัก ความอบอุ่น ขาดการกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการ
42
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ผลการดำเนินงาน 1. พัฒนาทักษะบุคลากร โรงเรียนพ่อแม่ เน้นการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่เป็นรูปธรรม ครอบคลุมทุกสถานบริการ จัดตั้งคลินิกกระตุ้นพัฒนาการเด็ก โรงพยาบาลวานรนิวาส ทุกวันศุกร์ ช่วงเช้า โดยทีมกุมารแพทย์ และนักกายภาพบำบัด เพื่อกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่ผิดปกติทุกราย ฟื้นฟูสมรรถภาพ ลดความพิการ ให้ความรู้ แก่ผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการ และฝึกต่อที่บ้าน
43
กิจกรรม ส่งเสริมพัฒนาการ
สถานีอนามัย/ชุมชน/ภาคีเครือข่าย นิเทศติดตามการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กมาตรฐาน สนับสนุนน้ำดื่มไอโอดีน/เกลือไอโอดีน อบรมเพิ่มศักยภาพครูพี่เลี้ยง 1 ครั้ง/ปี เล่านิทานโดยผู้สูงอายุ ,ทำของเล่นพื้นบ้าน เพื่อ กระตุ้นพัฒนาการ อสน. ชมรมสายใยรัก 19 แห่ง ค้นหา ติดตามเยี่ยม, กระตุ้นพัฒนาการในเขตหมู่บ้านที่รับผิดชอบ นักกายภาพบำบัด อบรมเชิงปฏิบัติการ การตรวจพัฒนาการแก่ จนท. ตรวจและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ทุกวันศุกร์ ติดตามเยี่ยมบ้าน เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล คลินิกสุขภาพเด็กดี เพิ่มศักยภาพ/ทักษะการตรวจพัฒนาการ การใช้ชุดตรวจพัฒนาการตามมาตรฐาน จัดหาของเล่นตามวัย ส่งเสริมการเล่านิทานเล่ม 2 กิจกรรมโรงเรียน พ่อ แม่ กิจกรรม ส่งเสริมพัฒนาการ หลังคลอด/หลังคลอด ระบบตรวจคัดกรอง ภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมน CPG LBW , CPG Pre term มีปะสิทธิภาพ ระบบส่งต่อ LBW ,BA,Down’s syndrome สาธิตการอ่านนิทานเล่มแรก กุมารแพทย์ ค้นหาสาเหตุ แก้ไขปัญหา ให้การรักษา ติดตามประเมินผล
44
ห้องคลอด และ หลังคลอด ระบบตรวจคัดกรอง ภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมน CPG LBW , CPG Pre term มีปะสิทธิภาพ ระบบส่งต่อ LBW ,BA, Down’s syndrome กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการสาธิตการอ่านหนังสือเล่มแรก
45
คลินิกสุขภาพเด็กดี เพิ่มศักยภาพ/ทักษะการตรวจพัฒนาการ
การใช้ชุดตรวจพัฒนาการตามมาตรฐาน จัดหาของเล่นตามวัย ส่งเสริมการเล่านิทานเล่ม 2 กิจกรรมโรงเรียน พ่อ แม่
46
กุมารแพทย์ ค้นหาสาเหตุ แก้ไขปัญหา ให้การรักษา ติดตามประเมินผล
47
กระตุ้นพัฒนาการเด็ก โดยนักกายภาพบำบัด
48
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ผู้บริหารสนับสนุน ด้านงบประมาณ
ด้านอัตรากำลังให้เพียงพอ ด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ทีมสหสาขาวิชาชีพ ทุกสาขาวิชาชีพให้ความร่วมมือในการดำเนินงานเป็นทีม เช่น แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักกายภาพบำบัด นักโภชนากร ทีม งานอนามัยแม่และเด็ก อสน. เครือข่ายสายใยรัก อบต.
49
“ ก่อให้เกิดคุณภาพและผลลัพธ์บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้”
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ระบบประสานงานที่มีประสิทธิภาพร่วมกับ ภาคีเครือข่าย , ชุมชน บุคลากรได้รับการพัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่อง มีระบบตรวจสอบความพร้อมในการเตรียมอุปกรณ์พร้อมใช้งาน เป็นประจำ มีระบบทบทวนการดูแล ค้นหาสาเหตุ อย่างต่อเนื่องโดยสหวิชาชีพ “ ก่อให้เกิดคุณภาพและผลลัพธ์บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้”
50
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.