ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสุชาติ พันธุเมธา ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย
เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน N60=77 N61=76 ที่มา : ระบบเฝ้าระวัง กรมอนามัย 17 ก.ค.61 การตายจากสาเหตุ PPH ลดลงร้อยละ (ตุลาคม2560-มิถุนายน 2561) การตายจากสาเหตุ PIH เพิ่มขึ้นร้อยละ 40.0 (ตุลาคม2560-มิถุนายน 2561) PPH PIH การตายจากสาเหตุ PPH ลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 30 เป้าหมาย : ผลการดำเนินงาน : การตายจากสาเหตุ PIH ลดลงจากปี2560 ร้อยละ 30
2
ปัจจัย ความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค Best Practice What Next
ตัวชี้วัดระดับสากล ตัวชี้วัดระดับประเทศ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ ขับเคลื่อนนโยบายผ่าน MCH Board อย่างเป็นระบบ และเข้มแข็ง มีระบบเฝ้าระวังและการรายงานข้อมูลเพื่อสนับสนุนและกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง มีการสอบสวนการตายมารดาทุกราย ระบบโซนนิ่งและเครือข่ายแข็งแรง ปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานเชิงรุกผ่าน MCH Board ในบางพื้นที่ยังไม่เข้มแข็ง ทักษะการคัดกรองความเสี่ยงที่ ANC : ค้นไม่เจอ จัดการไม่ได้ การส่งต่อเพื่อการดูแลหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีโรค อายุรกรรม เช่น อายุรกรรมรุนแรงไม่ควรตั้งครรภ์/หญิงตั้งครรภ์ป่วย อายุรกรรมที่มาฝากครรภ์ต้องพบแพทย์อายุรกรรมทุกราย Best Practice การใช้ถุงตวงเลือดขยายผลทั่วประเทศและได้รับรางวัลระดับประเทศ มาตรฐานเครือข่ายเพื่อลดการตายมารดา : PNC What Next มาตรการเข้มข้นในพื้นที่ที่มีการตายสูง เน้นการจัดการหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง ANC High Risk และการ เฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงโดยครอบครัว ชุมชน พัฒนาระบบเฝ้าระวังที่มีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้น ชี้เป้าพื้นที่เสี่ยงและกำกับติดตามเพิ่มศักยภาพการดำเนินงานคัดกรอง เน้นป้องกันการตายจากโรคที่ป้องกันได้ (PIH&PPH) และโรคทางอายุรกรรม สร้างเครือข่ายสุขภาพเพื่อลดการตายมารดาให้ครอบคลุมทุกจังหวัด (PNC)
3
ประเด็นที่ควรติดตามในปีงบประมาณ 2562
KPI Proxy : การตายจากสาเหตุ PPH ลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 30 PPH&PIH การตายจากสาเหตุ PIH ลดลงจากปี2560 ร้อยละ 30 แผนการดำเนินงานร่วมกันของ Service Plan สูติ, MCH board เขต Set Zero MMR จาก PPH พร้อมทั้งการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายอย่างเป็นรูปธรรมร่วมกันภายใต้มาตรการของเขตสู่การปฏิบัติ ระบบการดูแลแบบสหวิชาชีพระหว่างสูติแพทย์และอายุรแพทย์เพื่อวางแผนการดูแลร่วมกัน แบบ Case Management ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและหลังคลอด การบริการเชิงรุก และการเยี่ยมบ้าน “ค้นให้เจอ จัดการให้ได้” เยี่ยมเสริมพลังและประเมินรับรองมาตรฐาน จากทีมระดับเขต ระดับจังหวัด และระดับอำเภอตามลำดับ เพื่อสร้างสัมพันธภาพระหว่างเครือข่ายและความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพบริการของเครือข่าย การบูรณาการและสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีทุกภาคส่วนในพื้นที่ ตั้งแต่ ครอบครัว โรงเรียน อปท และชุมชน เช่น อปท.จัดรถฉุกเฉินไว้บริการ/บ้านพักรอคลอด, อสม./หน่วยบริการ ให้ความรู้เรื่องที่เป็นความเสี่ยงต่อหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด/ FP การคุมกำเนิด ,การสนับสนุนให้เข้าถึงบริการ RSA, การกินไตรเฟอดีนในหญิงวัยเจริญพันธุ์ เป็นต้น
4
ข คุ ณ อ บ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.