งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การออกแบบสื่อสารสนเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การออกแบบสื่อสารสนเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกแบบสื่อสารสนเทศ
WHAT IS DESIGN? DESIGN ELEMENTS COMPOSITION DESIGN TECHNIQUE GRAPHIC AS A COMMUNICATION

2 OBJECTIVES วัตถุประสงค์รายสัปดาห์
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้และเข้าใจถึง ความหมายและประเภทของศิลปะแขนงต่างๆ หลักการออกแบบเบื้องต้น องค์ประกอบในการออกแบบ (ELEMENTS) การจัดวางองค์ประกอบ (COMPOSITION) เทคนิคการอกแบบ เทคนิคการสร้างภาพเพื่อสื่อความหมาย OBJECTIVES

3 LAST TIME ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบ สื่อสารสนเทศ
1. KNOWLEDGE OF PRODUCT ความรู้ในผลิตภัณฑ์ 2. DESIGN PROCESS กระบวนการออกแบบ 3. DESIGN PRINCIPLES หลักการออกแบบ LAST TIME

4 LAST TIME ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบ สื่อสารสนเทศ
KNOWLEDGE OF PRODUCT : The form of graphic media 1. รูปร่าง Shape 2. ขนาด Size 3. วัสดุ Materials 4. สี Color LAST TIME

5 LAST TIME ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบสื่อสารสนเทศ DESIGN PROCESS
1. Codifying - สิ่งที่ผู้สื่อสารต้องการสื่อ - ธรรมชาติของผู้รับสาร LAST TIME

6 LAST TIME ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบสื่อสารสนเทศ DESIGN PROCESS
2. Creating การกำหนดรูปแบบและขนาด ทำร่างหยาบ ทำร่างแบบสมบูรณ์ ทำรูปแบบจำลอง LAST TIME

7 LAST TIME ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบสื่อสารสนเทศ DESIGN PROCESS
3. Producing การเตรียมงานก่อนพิมพ์ การพิมพ์ งานพิมพ์สำเร็จ DESIGN PRINCIPLES LAST TIME

8 TODAY DESIGNING THE GRAPHIC PRODUCTหัวข้อศึกษา WHAT IS DESIGN?
DESIGN ELEMENTS COMPOSITION DESIGN TECHNIQUE GRAPHIC AS A COMMUNICATION TODAY

9 TODAY สิ่งที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ สื่อสารสนเทศ
1. ลักษณะของผู้รับสาร (Nature of audience) มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และแต่ละกลุ่มมีความต้องการแตกต่างกัน 2. เทคโนโลยี (New Technology) สามารถผลิตงานที่มีทั้งคุณภาพและปริมาณมากขึ้นได้ในราคาที่ถูกลง TODAY

10 DESIGN WHAT IS DESIGN? การออกแบบคือศิลปะ ศิลปะคือการออกแบบ
การออกแบบคือศิลปะ ศิลปะคือการออกแบบ การออกแบบ คือ การจัดองค์ประกอบของหลายสิ่ง สร้างสรรค์ให้มีความสัมพันธ์กัน ไม่ว่าจะมีความคล้ายคลึงกัน หรือแตกต่างกัน นำมาจัดด้วยการใช้สายตา ทำให้มีจุดสนใจ เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ต่างๆ DESIGN

11 ELEMENTS DESIGN ELEMENTS 1. CONCEPTUAL ELEMENTS ได้แก่ จุด POINT
เส้น LINE ระนาบ PLANE ปริมาตร VOLUME 2. VISUAL ELEMENTS ได้แก่ รูปร่าง SHAPE ขนาด SIZE สี COLOR ผิวสัมผัส TEXTURE ELEMENTS

12 ELEMENTS DESIGN ELEMENTS 3. RELATIONAL ELEMENTS ได้แก่
ทิศทาง DIRECTION ตำแหน่ง POSITION ที่ว่าง SPACE แรงดึงดูด GRAVITY ELEMENTS

13 ELEMENTS DESIGN ELEMENTS สิ่งที่ต้องคำนึงในการสร้างสรรค์งานศิลปะ
กรอบ FRAME พื้นภาพ PICTURE PLANE องค์ประกอบ ELEMENTS ELEMENTS

14 การจัดองค์ประกอบ COMPOSITION COMPOSITION
การจัดองค์ประกอบ คือ การนำเอาสิ่งต่างๆ มาจัดให้เกิดเป็นเรื่องราวหรือ ความหมาย ที่สามารถสื่อความหรือมองเห็นได้ การจัดองค์ประกอบแบ่งออกเป็น การจัดองค์ประกอบในงาน 2 มิติ การจัดองค์ประกอบในงาน 3 มิติ COMPOSITION

15 ความเข้าใจในการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
การรักษาสภาวะสมดุล BALANCE COMPOSITION

16 ความเข้าใจในการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
ความต่างขั้ว POLARITY COMPOSITION

17 ความเข้าใจในการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
การดึงดูดและการจับกลุ่ม TENSION COMPOSITION

18 ความเข้าใจในการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
สภาวะบวกและสภาวะลบ COMPOSITION

19 ความเข้าใจในการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
การลวงตา COMPOSITION

20 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
เลือกองค์ประกอบให้เหมาะสมกับเนื้อหา เรื่องราวที่จะนำเสนอ เลือกใช้เทคนิคที่เหมาะสมที่จะสื่อสารเรื่องราวที่ต้องการ COMPOSITION

21 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
การเลือกตัวอักษร งานที่มีข้อความเชิงบรรยายที่ต้องใช้ตัวอักษรจำนวนมากควรเป็นแบบที่อ่านง่าย ไม่ควรใช้ ตัวประดิษฐ์ แบบอักษรควรกลมกลืนกับเนื้อหา เช่น ผู้ชาย ตัวอักษรเป็นแบบที่มั่นคง แข็งแกร่ง ผู้หญิงใช้แบบอักษรที่บาง มีส่วนโค้งมาก แสดงถึงความอ่อนโยน ไม่ควรใช้แบบอักษรมากเกินไปในหน้าเดียวกัน COMPOSITION

22 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
ประเภทของแบบอักษร ตัวอักษรแบบเซอริฟ (Serif) Time New Roman Garamond Century Schoolbook COMPOSITION

23 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
ประเภทของแบบอักษร ตัวอักษรแบบไม่มีเซอริฟ (San Serif) Arial Comic Sans MS AvantGarde Md B T Century Gothic COMPOSITION

24 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
ประเภทของแบบอักษร ตัวอักษรแบบตัวประดิษฐ์ (Decorative or Display) BONES Impact Broadway KissMeKissMeKiss COMPOSITION

25 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
ประเภทของแบบอักษร ตัวอักษรแบบตัวเขียน (Script) Brush Script MT Lucida Calligraphy Bradley Hand ITC Viner Hand ITC COMPOSITION

26 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
การเลือกตัวอักษร งานที่มีข้อความเชิงบรรยายที่ต้องใช้ตัวอักษรจำนวนมากควรเป็นแบบที่อ่านง่าย ไม่ควรใช้ ตัวประดิษฐ์ แบบอักษรควรกลมกลืนกับเนื้อหา เช่น ผู้ชาย ตัวอักษรเป็นแบบที่มั่นคง แข็งแกร่ง ผู้หญิงใช้แบบอักษรที่บาง มีส่วนโค้งมาก แสดงถึงความอ่อนโยน ไม่ควรใช้แบบอักษรมากเกินไปในหน้าเดียวกัน COMPOSITION

27 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
ขนาดตัวอักษร 1. กลุ่มผู้อ่าน นักศึกษาและผู้ใหญ่วัยทำงาน พอยต์ (Th) 8-12 พอยต์ (Eng) เด็กและผู้สูงอายุ พอยต์ (Th) พอยต์ (Eng) COMPOSITION

28 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
ขนาดตัวอักษร 2. ขนาดของสิ่งพิมพ์ A4 : พอยต์ (Th) พอยต์ (Eng) A5 : พอยต์ (Th) พอยต์ (Eng) ไม่ควรใช้ตัวพิมพ์ขนาดเล็กในสิ่งพิมพ์ขนาดใหญ่และ ไม่ควรใช้ตัวพิมพ์ขนาดใหญ่ในสิ่งพิมพ์ขนาดเล็ก การกำหนดขนาดอักษรขึ้นอยู่กับรูปแบบของ ตัวพิมพ์ด้วย COMPOSITION

29 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
การจัดวางภาพประกอบ ควรจัดให้มีภาพเด่นในหน้าเพียงภาพเดียว จัดวางภาพที่เด่นไว้ที่บริเวณซ้ายของหน้า เลือกลงเฉพาะภาพที่สำคัญและสื่อความหมาย หากมีหลายภาพในหนึ่งหน้าให้ขยายภาพสำคัญให้ใหญ่ที่สุด ควรเลือกใช้ภาพขนาดใหญ่แต่จำนวนน้อยมากกว่าการใช้ภาพขนาดเล็กแต่มีจำนวนมาก COMPOSITION

30 วิธีการจัดองค์ประกอบ COMPOSITION
การจัดวางภาพประกอบ หลีกเลี่ยงการวางภาพในรูปตัว T เพราะหากมี คำบรรยายหลายภาพจะทำให้ดูสับสน กรณีที่มีการแสดงลำดับภาพอย่างต่อเนื่อง ควรจัดภาพขนาดใหญ่ไว้ที่มุมขวาล่าง กรณีมีชุดภาพหลายภาพไม่ควรมีคำบรรยายซ้ำซ้อนกัน อาจจัดวางไว้ด้านข้างของภาพแทนด้านล่าง ไม่ควรจัดวางภาพในลักษณะที่ดูคล้ายกันทุกครั้ง COMPOSITION

31 เทคนิคในการออกแบบ DESIGN TECHNIQUES
ในการออกแบบงานศิลปะสองมิติ สามารถทำได้โดยการนำองค์ประกอบ (จุด เส้น ระนาบ รูปทรงที่มีลักษณะ รูปร่าง ขนาด สี ผิวสัมผัสที่แตกต่างกัน) มาจัดวางตามหลักการจัดภาพและเทคนิคการจัดภาพ เพื่อให้องค์ประกอบนั้นมีความสัมพันธ์กันบนพื้นภาพหรือที่ว่าง ที่สามารถสื่อความหมายตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ DESIGN TECHNIQUES

32 เทคนิคเบื้องต้นในการออกแบบ
เอกภาพ UNITY การเน้น EMPHASIS สมดุล BALANCE สัดส่วน PROPORTION จังหวะ RHYTHM ความแตกต่าง CONTRAST DESIGN TECHNIQUES

33 UNITY เอกภาพ ความมีเอกภาพทางแนวความคิด (INTELLECTUAL UNITY)
เอกภาพ ได้แก่ การแสดงภาพจากจินตนาการที่ องค์ประกอบในภาพมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความมีเอกภาพ (UNITY) หมายถึงความเหมาะสม ไม่ขัดแย้ง หรืออยู่ร่วมกันได้ดีระหว่างองค์ประกอบ ความมีเอกภาพขององค์ประกอบแบ่งเป็น ความมีเอกภาพทางแนวความคิด (INTELLECTUAL UNITY) ความมีเอกภาพทางสายตา (VISUAL UNITY) UNITY

34 เอกภาพ 4 ปีที่รอคอย 4 ปีที่รอคอย UNITY VISUAL UNITY INTELLECTUAL UNITY

35 UNITY วิธีการสร้างความมีเอกภาพ ความใกล้ชิด (PROXIMITY)
เราสามารถสร้าง ความมีเอกภาพ ให้กับชิ้นงานได้โดยอาศัยเทคนิคต่อไปนี้ ความใกล้ชิด (PROXIMITY) ความซ้ำ (REPETITION) ความต่อเนื่อง (CONTINUATION) ความหลากหลาย (VARIETY) UNITY

36 ความใกล้ชิด : PROXIMITY
UNITY

37 ความซ้ำ : REPETITION UNITY

38 ความต่อเนื่อง: CONTINUATION
UNITY

39 ความหลากหลาย : VARIETY
UNITY

40 EMPHASIS การเน้นในการจัดองค์ประกอบ
สิ่งที่สำคัญสำหรับการเน้น จะต้องไม่สร้างความสำคัญให้องค์ประกอบจนกระทั่งดูแปลกปลอมไปจากส่วนอื่นจนทำให้ขาดความมีเอกภาพ EMPHASIS

41 EMPHASIS วิธีการเน้นในการจัดองค์ประกอบ จุดสนใจ (FOCAL POINT)
ความแตกต่าง (CONTRAST) ความโดดเด่น (ISOLATION) การจัดวาง (PLACEMENT) EMPHASIS

42 จุดสนใจ : FOCAL POINT EMPHASIS

43 ความแตกต่าง : CONTRAST
EMPHASIS

44 ความโดดเด่น : ISOLATION
EMPHASIS

45 การจัดวาง : PLACEMENT EMPHASIS

46 BALANCE สมดุล ความสมดุลแท้ (FORMAL BALANCE) หรือ สมมาตร (SYMMETRICAL)
สมดุล ได้แก่ การจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ของภาพให้มีน้ำหนักที่สมดุลกัน ไม่หนักไปในทางใดทางหนึ่ง ความสมดุลในการจัดวางองค์ประกอบแบ่งเป็น ความสมดุลแท้ (FORMAL BALANCE) หรือ สมมาตร (SYMMETRICAL) ความสมดุลเทียม (INFORMAL BALANCE) หรือ อสมมาตร (ASYMMETRICAL) BALANCE

47 BALANCE วิธีการสร้างความสมดุล
ความสมดุลแท้ (FORMAL BALANCE) จัดวาง น้ำหนักให้เท่ากันระหว่าง บน-ล่าง ซ้าย-ขวา วางจุดสนใจไว้ที่จุดกึ่งกลาง ความสมดุลเทียม (INFORMAL BALANCE) วางจุดสนใจให้พ้นจากจุดกึ่งกลาง ให้น้ำหนักรวมขององค์ประกอบข้างหนึ่งมากกว่าอีกข้างหนึ่ง เล็กน้อย หรือโดยการใช้ระยะเพื่อถ่วงน้ำหนัก BALANCE

48 สมดุลแท้ BALANCE

49 สมดุลเทียม BALANCE

50 สัดส่วน PROPORTION ความสัมพันธ์ของขนาดและรูปร่างขององค์ประกอบที่ปรากฎ
สัดส่วน ได้แก่ การจัดวางองค์ประกอบโดยคำนึงถึง ความสัมพันธ์ของขนาดและรูปร่างขององค์ประกอบที่ปรากฎ ขนาดของสิ่งพิมพ์ ความเหมาะสมของสัดส่วนของขนาด รูปแบบ และรูปเล่มของสิ่งพิมพ์ PROPORTION

51 สัดส่วน PROPORTION ความสัมพันธ์ภายในภาพตามลักษณะของ องค์ประกอบ
ความสัมพันธ์ภายในภาพตามลักษณะของ องค์ประกอบ ขนาดเล็ก : ขนาดใหญ่ รูปร่างกลม : รูปร่างเหลี่ยม รูปร่างอิสระ : รูปร่างมาตรฐาน ความมืด : ความสว่าง ความหนัก : ความเบา สีเข้ม : สีอ่อน PROPORTION

52 สัดส่วน ความสัมพันธ์ของขนาดและรูปร่างของ องค์ประกอบที่ปรากฎ PROPORTION

53 สัดส่วน ความสัมพันธ์กับขนาดของสิ่งพิมพ์ PROPORTION

54 สัดส่วน ความเหมาะสมของสัดส่วนของขนาด รูปแบบ และรูปเล่มของสิ่งพิมพ์ PROPORTION

55 สัดส่วน สัดส่วนโดยทั่วไปของกระดาษ แบ่งตามด้านกว้างและยาวตามลำดับ ได้ดังนี้ 2:3 1:3 3:5 5:8 จุดรวมสายตา (Optical center)หรือ Line of Golden Proportion ตำแหน่งของการวางข้อความที่สำคัญ - แบ่ง 8 ส่วนจะอยู่ที่ ส่วนที่ 3 จากบน - แบ่ง 3 ส่วนจะอยู่ที่ ส่วนที่ 1-2 PROPORTION

56 สัดส่วน Line of Golden Proportion 1 1 1 1 PROPORTION 2 3 2 4 3 5 6 7 8

57 สัดส่วน PROPORTION ขอบกระดาษ (Page margins)
- Books ความกว้างจากน้อยไปมาก ขอบใน ขอบบน ขอบนอก(ข้าง) ขอบล่าง - Single Page ความกว้างจากน้อยไปมาก ขอบซ้าย-ขวา เท่ากัน ขอบบน ขอบล่าง PROPORTION

58 สัดส่วน ขอบกระดาษ (Page margins) PROPORTION Books Single pages

59 จังหวะ จังหวะ ได้แก่ การจัดวางองค์ประกอบให้สัมพันธ์กับจังหวะการเคลื่อนที่ของตา (Eye movement) เพื่อนำผู้ชมไปยังทิศทางที่ต้องการ เช่น บน-ล่าง ซ้าย-ขวา หรือการใช้ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อ โดยคำนึงถึงหลักตรรกะและการลำดับความสำคัญ RHYTHM

60 RHYTHM จังหวะ เทคนิคในการสร้างจังหวะ
REPETITION การซ้ำ รูปร่าง ความเข้มสี สี RHYTHIMC LINES การใช้เส้นนำสายตา RHYTHM

61 REPETITION RHYTHM

62 RHYTHIMC LINES RHYTHM 1 2 3

63 RHYTHIMC LINES RHYTHM

64 เทคนิคการสร้างภาพสื่อความหมาย
การสร้างภาพเพื่อสื่อความหมาย มีเทคนิคในการออกแบบที่มีลักษณะเป็นคู่ เช่น ความเป็นเอกภาพ (UNITY) ซึ่งตรงกันข้ามกับ การแตกกระจาย(FRAGMENTATION) เป็นต้น ผู้ออกแบบจะต้องพิจารณาเลือกใช้เทคนิคต่างๆ นำมาจัดองค์ประกอบ ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ที่จะสื่อความหมายนั้นๆ GRAPHICS AS A MEANIG

65 ความแตกต่างและความกลมกลืน
ความแตกต่างและความกลมกลืน มีความสำคัญต่อระบบการมองของมนุษย์ ความแตกต่าง คือ เทคนิคพื้นฐานที่สำคัญในการควบคุมจุดเด่นสำหรับการจัดองค์ประกอบ เพื่อให้เกิดผลต่อการสื่อความหมาย ความแตกต่าง เป็นการใช้องค์ประกอบที่ตรงกันข้าม เพื่อเพิ่มความมีรสชาดของมนุษย์ ถ้าไม่มีความแตกต่าง องค์ประกอบนั้นจะไม่มีชีวิตชีวา GRAPHICS AS A MEANIG

66 เทคนิคการสร้างความแตกต่าง
ความแตกต่างพิจารณาจาก รูปร่าง ขนาด ความเข้มสี สี ผิวสัมผัส ทิศทาง ตำแหน่ง มาตราส่วน ที่ว่าง แรงดึงดูด โครงสร้าง GRAPHICS AS A MEANIG

67 เทคนิคการสร้างภาพสื่อความหมาย
เสถียรภาพ/ไร้เสถียรภาพ สมมาตร/อสมมาตร ปกติ/ผิดปกติ เรียบง่าย/ซับซ้อน เอกภาพ/แตกแยก ประหยัด/ฟุ่มเฟือย GRAPHICS AS A MEANIG

68 เทคนิคการสร้างภาพสื่อความหมาย
เล็กกว่าความจริง/ใหญ่กว่าความจริง คาดเดาได้/อิสระ เคลื่อนไหว/หยุดนิ่ง แอบแฝง/ชัดแจ้ง เป็นกลาง/เน้น โปร่งใส/ทึบ คงที่/แปรเปลี่ยน GRAPHICS AS A MEANIG

69 จงอธิบายถึงเทคนิคการออกแบบที่ใช้ในภาพ
EXERCISE จงอธิบายถึงเทคนิคการออกแบบที่ใช้ในภาพ


ดาวน์โหลด ppt การออกแบบสื่อสารสนเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google