ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
ธราธร ชอบไร่2 สุชาดา พรหมโคตร1,2,3 วิชัย พัวรุ่งโรจน์1,2 ปาริชาติ แสงระชัฎ1,4 1สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4สาขาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
2
บทนำ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
3
บทนำ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
4
บทนำ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
5
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เพื่อเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
6
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
7
1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Requirement Analysis)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้บริการจากบริษัทหนังสือต่างประเทศ เช่น EBSCO, Gale, IG, Springer Link เป็นต้น ความต้องการของผู้ใช้งานจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกที่ต้องการเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แก่ผู้ใช้งาน เช่น หนังสือ วารสาร คู่มือ รายงาน เป็นต้น ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
8
2. ขั้นตอนการออกแบบระบบ (Design)
ผู้ดูแลระบบ (Admin) ผู้ใช้งาน (User) ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
9
2. ขั้นตอนการออกแบบระบบ (Design)
ผู้ดูแลระบบ (Admin) สามารถจัดการข้อมูลผู้ใช้งานได้ สามารถจัดการข้อมูลหนังสือได้ สามารถจัดการข้อมูลหมวดหนังสือได้ สามารถเก็บสถิติในการเข้ามาอ่านหนังสือได้ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
10
2. ขั้นตอนการออกแบบระบบ (Design)
ผู้ใช้งาน (User) สามารถสมัครสมาชิกได้ สามารถค้นหาหนังสือได้ สามารถอ่านหนังสือแบบ Filbook ได้ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
11
ความสามารถการใช้งานของผู้ดูแลระบบและผู้ใช้งานระบบ
ความสามารถในการใช้งาน ผู้ดูแลระบบ ผู้ใช้งานระบบ จัดการข้อมูลหนังสือ √ X จัดการข้อมูลผู้ใช้งาน ค้นหาหนังสือได้ สามารถเพิ่มหนังสือ สามารถจัดการข้อมูลหนังสือ สามารถอ่านหนังสือ สามารถสมัครสมาชิกได้ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System) นายธราธร ชอบไร่
12
กระบวนการดำเนินงาน ของระบบ
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
13
3. ขั้นตอนการพัฒนาระบบ (Implementation)
ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ Notebook 1 เครื่อง หน่วยประมลผล: Intel(R) Core(TM) i5-5200U 2.80 GHz2.50 -หน่วยความจำ : GB (3.89 GB usable) -System type : 64 bit Operating System ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
14
ระบบปฏิบัติการ windows 10 pro
Web Server Xampp Sublime ภาษา PHP ภาษา HTML5 ภาษา Java script jQuery mobile Bootstrap CSS3 Flipbook
15
Data Flow Diagram : Context diagram
16
Data Flow Diagram : Level 0
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
17
Entity Relationship Diagram
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
18
ผลการศึกษา การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
19
การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฟลิ๊บบุ๊ค
ผลการศึกษา การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฟลิ๊บบุ๊ค ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
20
การเก็บสถิติในการเข้ามาอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้
ผลการศึกษา การเก็บสถิติในการเข้ามาอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
21
การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แนะนำแก่ผู้อ่าน
ผลการศึกษา การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แนะนำแก่ผู้อ่าน ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
22
การเพิ่มข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ผลการศึกษา การเพิ่มข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
23
การจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ผลการศึกษา การจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
24
4. ขั้นตอนการทดสอบโปรแกรม (Testing and Setting)
จากการทดสอบการใช้งานโปรแกรมได้ประเมินความพึงพอใจจากการใช้งาน พบว่า ผู้ใช้งานมีความ พึงพอใจอยู่ในระดับ “มาก” และยังมีความคิดเห็นเพิ่มเติมในการพัฒนา เช่น เพิ่มจำนวนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้มากขึ้น เป็นต้น ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
25
การประเมินการใช้งานระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
รายการ ค่าเฉลี่ ย S.D. ผลการ ประเมิน 1.ด้านตรงตามความต้องการ (Function Requirement) 4.32 0.51 มาก 2.ด้านความสามารถทำงานได้ตามหน้าที่ (Function) 4.35 0.54 3.ด้านความง่ายต่อการใช้งาน (Usabilit y) 4.36 0.55 4.ด้านประสิทธิภาพ (Performance) 4.38 0.58 5.ด้านความปลอดภัยของข้อมูล (Securit y) 4.37 0.56 รวมทั้งหมด ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
26
5. ขั้นตอนการบำรุงรักษา ประเมินผล และปรับปรุงระบบ (Evolution)
การนำระบบเข้าสู่ระบบศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (Server) ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ผู้ใช้งานได้ใช้บริการทั่วไป พร้อมทั้งเก็บสถิติ คำแนะนำ และแก้ไขปัญหาการใช้งาน ฝึกอบรมการใช้งานให้กับเจ้าหน้าที่ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติจากการใช้งานเพื่อนำมาปรับปรุงโปรแกรมต่อไป ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
27
อภิปรายผล ในการพัฒนาระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักศึกษา เจ้าหน้าที่และบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย และบุคคลภายนอก ซึ่งได้มีการนำการออกแบบเว็บไซต์แบบรีสปอนซีฟ (Responsive Web Design : RWD) และการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบฟลิ๊บบุ๊ค (Flip Book) ทำให้เกิดความสะดวกสบาย รวดเร็วต่อการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ต้องเสียเวลาในการยืม-คืนหนังสือ และเป็นการส่งเสริมการเข้าใช้บริการของศูนย์วิทยบริการ รวมทั้งเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)
28
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
ธราธร ชอบไร่2 สุชาดา พรหมโคตร1,2,3 วิชัย พัวรุ่งโรจน์1,2 ปาริชาติ แสงระชัฎ1,4 1สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4สาขาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.