งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ

2 Performance Agreement บริหารจัดการ HR,Finance พัสดุโปร่งใส
เป้าหมาย: ประสิทธิภาพในการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ ๑๐) โครงสร้างการทำงาน ด้านบริหารจัดการ ด้านข้อมูล ติดตามและประมวลผล คกก.พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการเงินการคลังหน่วยบริการ/จังหวัด/เขตสุขภาพ/สธ. ๑.ทำแผนประมาณการรายได้ ควบคุมค่าใช้จ่าย (PLANFIN) ๒.พัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ (Unit Cost) ๓.ตัวชี้วัดทางการเงินการคลังระดับเขต/จังหวัด กระบวนการสร้างประสิทธิภาพทางการเงินด้วย FAI (Financial administration Index) ๔. จัดระบบตรวจสอบ Internal audit ในรพช.และ External audit ในรพศ./รพท.นำร่อง พัฒนา standard dataset การเงิน/การคลัง 1.แผนประมาณการรายได้ ค่าใช้จ่าย 2.แผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ วัสดุการแพทย์ วัสดุ วิทยาศาสตร์ 3.แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ 4.แผนบริหารจัดการลูกหนี้ 5.แผนการลงทุน 6.แผนสนับสนุน รพ.สต. Quick Win 3 เดือน 6เดือน 9เดือน 12 เดือน ๑.แผน planfin ครบทุกหน่วยบริการ ๑๐๐% ๒.หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๖๐% ๓.สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๒๖% ๑.แผน planfin และผลการดำเนินงานมีความต่างไม่เกินร้อยละ ๒๐ ๒.หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๗๐% ๓.สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๒๓% ๔. หน่วยบริการระดับ ๗ ไม่เกิน ๑๕% ๑.แผน planfin และผลการดำเนินงานมีความต่างไม่เกินร้อยละ ๑๕ ๒.หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๘๐% ๓.สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๒๐% ๔. หน่วยบริการระดับ ๗ ไม่เกิน ๑๓% ๑.แผน planfin และผลการดำเนินงานมีความต่างไม่เกินร้อยละ ๑๐ ๒.หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๙๐% ๓.สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๑๗% ๔. หน่วยบริการระดับ ๗ ไม่เกิน ๑๐%

3 ตารางสรุปข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง Financial Administration Index (FAI) ในภาพรวม โดยแบ่งตามเขตสุขภาพ 12 เขต ดังนี้

4 จำนวนจังหวัดภายในเขต (จังหวัด) จำนวนโรงพยาบาลภายในเขต (แห่ง)
เขตสุขภาพที่ จำนวนจังหวัดภายในเขต (จังหวัด) จำนวนโรงพยาบาลภายในเขต (แห่ง) คะแนนเฉลี่ยระดับเขต 1 8 100 89.18 2 5 47 90.80 3 53 92.13 4 71 90.02 66 89.02 6 72 88.46 7 67 92.79 87 96.48 9 99.40 10 95.78 11 76 84.06 12 78 96.73 คะแนนเฉลี่ย จากจำนวนเขตสุขภาพ 12 เขต 92.07

5 หมายเหตุ คำนวณคะแนนเฉลี่ย โดยคิดจากจำนวนโรงพยาบาลที่ส่ง 873 แห่ง
เขต สุขภาพ คะแนนเฉลี่ยระดับความสำเร็จของ FAI ทั้ง ๔ กิจกรรม ๑.การควบคุมภายใน ๒.การพัฒนาคุณภาพบัญชี ๓.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลัง ๔.การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ 90.40 92.00 89.60 83.40 92.77 93.19 94.47 88.68 90.94 92.83 95.09 83.38 98.03 92.96 87.61 86.67 96.36 95.45 78.48 84.72 81.94 92.22 83.33 79.70 87.16 97.61 99.40 95.86 93.56 97.93 99.77 100.00 97.70 ๑๐ 95.49 96.62 99.44 ๑๑ 75.79 82.11 87.89 71.58 ๑๒ 92.56 98.21 95.90 99.49 รวม 89.32 92.62 94.57 90.49 หมายเหตุ คำนวณคะแนนเฉลี่ย โดยคิดจากจำนวนโรงพยาบาลที่ส่ง 873 แห่ง

6 เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI
เกณฑ์ประเมินการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ (Financial Administration Index: FAI ) หมายถึง เกณฑ์ที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขใช้เป็นเครื่องมือประเมินคุณภาพการบริหารจัดการการเงินการคลังโรงพยาบาลในสังกัด ๔ กิจกรรมหลัก ได้แก่ ๑. การพัฒนาระบบการควบคุมภายใน (Internal Control :IC) น้ำหนักร้อยละ ๒๐ ๒. การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) น้ำหนักร้อยละ ๒๐ ๓. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Management: FM) น้ำหนักร้อยละ ๓๐ ๔. การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ (Unit Cost :UC)น้ำหนักร้อยละ ๓๐

7 มิติด้านการเงิน มิติด้านพัสดุ
มิติด้านระบบการควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. มิติด้านการเงิน มิติด้านพัสดุ มิติด้านบัญชีและงบการเงิน มิติด้านการจัดเก็บรายได้ ค่ารักษาพยาบาลสิทธิต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ

8 วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน และ
ขั้นตอนการประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 การควบคุมภายใน(Internal Control : IC ) (5 มิติ) แต่งตั้งคณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบขององค์กรเสนอหัวหน้าส่วนราชการ หน่วยบริการประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ ๑. มิติด้านการจัดเก็บ รายได้ค่ารักษาพยาบาล สิทธิต่าง ๆ ๒. มิติด้านการเงิน ๓. มิติด้านพัสดุ ๔. มิติด้านบัญชีและ งบการเงิน ๕. มิติด้านการประเมิน ระบบการควบคุม ภายในตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดิน พ.ศ. 2544 วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน และ จัดทำแผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ จากผลการประเมินระบบการควบคุมภายในที่พบจุดอ่อน จัดส่งผลให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560) ดังนี้ 1. แบบประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ 2. ผลการวิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน 3. แผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ รายงานเปรียบเทียบแผน-ผลการพัฒนาองค์กร 5 มิติ จัดส่งให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2560)

9 เพื่อให้หน่วยบริการมีระบบการควบคุมภายใน
2558 2559 2560 หน่วยบริการต้องประเมินระบบการควบคุมภายในตามนโยบายสำคัญ 9 กระบวนงาน หน่วยบริการต้องประเมินระบบการควบคุมภายในครอบคลุม 3 ภารกิจ บริหาร บริการ วิชาการ และตามนโยบายสำคัญ 9 กระบวนงาน หน่วยบริการผ่านการประเมินระบบการควบคุมภายในแต่ละมิติร้อยละ 70 1. กระบวนงานจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลางสิทธิข้าราชการ 1. มิติด้านการจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิต่าง ๆ 2. กระบวนงานจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC 2. มิติด้านการเงิน 3. กระบวนงานการควบคุม เก็บรักษา (บริหารคลังยา เวชภัณฑ์ และวัสดุ) 3. มิติด้านพัสดุ 4. กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุประจำปี (วัสดุสำนักงานเงินบำรุง) 4. มิติด้านบัญชีและงบการเงิน 5. กระบวนงานการจัดทำแผนประมาณการรายได้และควบคุมค่าใช้จ่าย 5. มิติด้านการประเมินระบบการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๔ 6. กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ 7. กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดหางบลงทุน 7.กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ 8. กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ 8. กระบวนการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุการแพทย์ 9. กระบวนการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุ ทันตกรรม 9.กระบวนงานจัดทำแผนบริหารจัดการเจ้าหนี้

10 เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI
องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การควบคุมภายใน(Internal Control : IC ) (๙ กระบวนงาน) แต่งตั้งคณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบขององค์กรเสนอหัวหน้าส่วนราชการ หน่วยบริการประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ ๑. มิติด้านการจัดเก็บ รายได้ค่ารักษาพยาบาล สิทธิต่าง ๆ ๒. มิติด้านการเงิน ๓. มิติด้านพัสดุ ๔. มิติด้านบัญชีและ งบการเงิน ๕. มิติด้านการประเมิน ระบบการควบคุม ภายในตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดิน พ.ศ. 2544 วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน และ จัดทำแผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ จากผลการประเมินระบบการควบคุมภายในที่พบจุดอ่อน จัดส่งผลให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560) ดังนี้ 1. แบบประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ 2. ผลการวิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน 3. แผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) มีคณะทำงานพัฒนาระบบบัญชีในหน่วยบริการและมีการประชุมอย่างน้อยทุกไตรมาส เพื่อ กำหนดประเด็นปัญหาที่ส่งผลต่อคุณภาพบัญชี คณะทำงาน มีการรายงานถึงความก้าวหน้าของการแก้ไขปัญหาเสนอต่อผู้บริหาร ( ทุกไตรมาส) มีการเสนอรายงานการเงิน การวิเคราะห์สถานะการเงินของ รพ. เสนอต่อผู้บริหาร (ผอ. รพ.) ทุกไตรมาส มีรายงานการเงิน ของลูกข่าย (รพ.สต.) ส่งส่วนกลางได้ครบทุกแห่ง ผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จ เป็นที่ยอมรับ (คุณภาพบัญชีทางอิเล็คทรอนิกส์ หน่วยบริการ แม่ข่าย ผ่านเกณฑ์๑๐๐ %)

11 เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI
องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง (Financial Management : FM) มี คกก.บริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการและมีการประชุมเพื่อกำหนดประเด็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเงินการคลัง มี คกก. จัดทำแผนทางการเงิน(PLANFIN) ของหน่วยบริการ ที่มีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย/กลุ่มงาน มีการติดตามการบริหารแผนทางการเงิน(PLANFIN) ให้เป็นไปตามแผนทุกไตรมาส ใช้เครื่องมือทางการเงิน เพื่อเฝ้าระวังและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร (ดัชนี ๗ ระดับ, ค่ากลางกลุ่มระดับ รพ.,LOIฯลฯ) มีผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จ -ไม่มีความเสี่ยงทางการเงินระดับ ๗ ตามเกณฑ์การประเมินวิกฤติของกระทรวง การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ (Unit Cost:UC) มีแผนการพัฒนาการจัดทำต้นทุน Unit Cost ไว้ในแผนการดำเนินงานประจำปีของหน่วยบริการ มีคณะทำงานพัฒนาต้นทุนประจำหน่วยบริการ (จากแผนกหรือฝ่ายที่เกี่ยวข้อง) มีการตรวจสอบคุณภาพความครบถ้วนของข้อมูลบริการทั้ง OP/IP ประจำเดือน มีการนำเสนอต้นทุนบริการ OP/IP ต่อ ผู้บริหาร (ผอ.รพ.) ประจำทุกไตรมาส มีต้นทุนบริการ OP/IP อยู่ในเกณฑ์เดียวกับกลุ่มระดับบริการด้วยวิธีการ Quick Method (ค่า Mean+๑SD)

12 การประเมินผล ไตรมาส 1/2560 ไตรมาส 2/2560 องค์ประกอบการประเมิน
ความสำเร็จของแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) ไตรมาส 2/2560 องค์ประกอบการประเมิน ความสำเร็จของแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC)

13 วิธีการประเมิน ให้ใช้วิธีการประเมินแบบ “ภายในเขต ข้าม จังหวัด”
วิธีการประเมิน ให้ใช้วิธีการประเมินแบบ “ภายในเขต ข้าม จังหวัด” บุรีรัมย์ สุรินทร์ นครราชสีมา ชัยภูมิ

14 วิธีการประเมินและเก็บข้อมูล
กลุ่มประกันสุขภาพ พัฒนาโปรแกรมการส่งข้อมูลประเมินประดับความสำเร็จตามตัวชี้วัด FAI สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประเมินหน่วยบริการ และกรอกข้อมูลทางเว็บไซต์ (เมนู FAI) เป็นรายไตรมาส (ภายในวันที่ ๓๐ ของสิ้นไตรมาสที่ประเมิน

15 การเข้าใช้งาน วิธีการส่งข้อมูล จังหวัด Userจังหวัด FAI00011
Password รหัส00011 ตรวจสอบข้อมูล เขตสุขภาพ รหัส service_plan1 Password service1

16 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google