งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิส จากแม่สู่ลูกในประเทศไทย สิ่งท้าทายและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents,

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิส จากแม่สู่ลูกในประเทศไทย สิ่งท้าทายและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents,"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิส จากแม่สู่ลูกในประเทศไทย สิ่งท้าทายและก้าวต่อไป
พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents, and Family Section Global AIDS Program Thailand/Asia Regional Office CDC Southeast Asia Regional Office

2 Outlines ทำไมต้องยุติปัญหาซิฟิลิสแต่กำเนิด?
เป้าหมายของ EMTCT (HIV, syphilis) ในประเทศไทย สถานการณ์ซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์และซิฟิลิสแต่กำเนิดในประเทศไทย สิ่งที่พบและข้อแนะนำจาก WHO regional validation team ที่มารับรองการยุติการถ่ายทอด เชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก ก้าวต่อไปเพื่อการยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูกที่ยั่งยืนในประเทศไทย

3 Untreated active syphilis causes adverse outcomes in 52% of affected pregnancies
A systematic review and meta-analysis of reported estimates of adverse pregnancy outcomes among untreated women with syphilis and women without syphilis Of the 3258 citations identified, only six, all case-control studies, were included in the analysis Gomez et al. WHO Bulletin 2013

4 ทำไมต้องยุติปัญหาซิฟิลิสแต่กำเนิด?
Investing in screening and treatment for syphilis in pregnant women ranks as one of the most cost-effective antenatal interventions Screening all pregnant women, using simple and low-cost technologies, is feasible, even in low-resource settings Syphilis is easily cured with penicillin, and MTCT of syphilis is easily prevented when pregnant mothers with syphilis infection are identified early and treated promptly Achievement of MDGs 4, 5 and 6, and strengthening underlying health systems WHO 2012

5 For 1 Year For 2 Years

6 สถานการณ์ซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์และซิฟิลิสแต่กำเนิดในประเทศไทย

7 รายงานผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประเทศไทย ปี พศ. 2548-2557
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข

8 อัตราการป่วยด้วยซิฟิลิสต่อประชากร 100,000 รายในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น: 2543-2557
Bureau of Epidemiology

9 อัตราการป่วยด้วยซิฟิลิสต่อประชากร 100,000 รายจำแนกตามอายุ: 2552-2557
Bureau of Epidemiology

10

11

12 อัตราความชุกของซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์ (ไทยและต่างด้าว) ตามจังหวัด 2557-2558
กรุงเทพฯ 0.36% สมุทรปราการ 0.29% ฉะเชิงเทรา 0.25% ลำปาง 0.18% ระยอง 0.17% พิษณุโลก สมุทรสาคร สุโขทัย 0.16% ชลบุรี นครนายก 0.15% นครราชสีมา 0.14% กระบี่ 0.13% ลพบุรี จันทบุรี 0.12% ตาก นนทบุรี ราชบุรี No data 0 – 0.02 0.02 – 0.04 0.04 – 0.06 0.06 – 0.36 อุตรดิตถ์ 0.27% กรุงเทพฯ 0.23% นนทบุรี สุโขทัย 0.20% สมุทรปราการ 0.19% ระยอง ชลบุรี 0.16% สงขลา จันทบุรี 0.15% ตราด 0.14% พิษณุโลก 0.13% Min=0.00% Max =0.27% Mean=0.07% Median=0.03% Min=0.00% Max =0.36% Mean=0.08% Median=0.04% 2014 2015

13 อัตราความชุกของซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์ (ไทยและต่างด้าว) ตามจังหวัด 2559
ค่าตัวชี้วัด (%) กทม 0.55 สมุทรปราการ 0.4 นนทบุรี 0.39 สมุทรสาคร 0.37 ลพบุรี 0.23 ระนอง 0.22 ลำปาง 0.21 นครนายก 0.19 ปทุมธานี พิษณุโลก 0.18 ระยอง จันทบุรี 0.16 ชลบุรี ชัยภูมิ สุโขทัย กาฬสินธุ์ 0.15 เพชรบุรี 0.14 สระบุรี 0.13 กระบี่ 0.11 ขอนแก่น พระนครศรีอยุธยา 0.1 No data 0 – 0.02 0.02 – 0.04 0.04 – 0.06 0.06 – 0.55 Min=0.00% Max =0.55% Mean=0.11% Median=0.05% 2016

14 ความครอบคลุมของการตรวจซิฟิลิสและการรักษาซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์ไทยและต่างด้าว
Oct 2014-Sep 2015 (N= 521,613 vs. 42,207) Reporting units Thai: 838/913 (92%) hospitals Non-Thai: 350/913 (38%) hospitals ~750,000 deliveries per year Syphilis+ 0.08% Syphilis+ 0.1% % In 2014, the PHIMS began to include data on syphilis in pregnant women. The data show that 99% of these women received syphilis screening and 0.06% were found to be syphilis-positive. Of these cases, 95% were treated in which achieve the EMTCT targets. As you see, the coverage was largely similar for both Thai in green and non-Thai women in orange. ANC rate = 98% (Thai), Non-Thai (95%) Source: PHIMS, DOH (Accessed 25 Feb 2016)

15 รายงานจำนวนผู้ป่วยซิฟิลิสในเด็กอายุ 0–2 ปี, พศ 2550-2558
ประเทศไทยมีการป้องกันควบคุมซิฟิลิสแต่กำเนิดตั้งแต่ พ.ศ โดยทำการตรวจคัดกรองซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่มาฝากครรภ์ในสถานบริการสาธารณสุข จำนวนคนไข้ (คน) Bureau of Epidemiology, Report Form 506

16

17 Assessment of Congenital Syphilis Situation in Thailand, 2008-2009
123 hospitals in 8 provinces + BKK from all regions of Thailand (80% governmental and 20% private hospitals) 119,679 pregnant women (91% Thai) 119,200 (99.6%) were screened for syphilis by RPR or VDRL 188 (0.16%) were screen positive for syphilis 168 (0.14%) were confirmed to have syphilis (by TPHA, FTA/ABS or immunochromatography)* * 76% เคยตั้งครรภ์มาก่อน 13% ติดเชื้อซิฟิลิสตามนิยามการศึกษาตั้งแต่ครรภ์ ที่แล้ว และเคยได้รับการรักษาด้วยยาเพนนิซิลิน ในจำนวนนี้ , 77.8% ยังพบมีการติดเชื้อซิฟิลิสในครรภ์นี้ ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยเลือกกรุงเทพมหานคร และจังหวัดตัวแทนจาก 4 ภาคของประเทศ ภาคละ 2 จังหวัด ซึ่ง เป็นจังหวัดที่มีโรงพยาบาลศูนย์ และจังหวัดที่มีโรงพยาบาลทั่วไป รายชื่อจังหวัดที่ได้รับการเลือก ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี สมุทรปราการ นครราชสีมา ชัยภูมิ เชียงราย พะเยา ชุมพร และ สุราษฎร์ธานี ในแต่ละจังหวัดเก็บข้อมูลจากทุกโรงพยาบาลและ ในกรุงเทพมหานครเลือกโรงพยาบาลที่มีหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ จำนวนมากที่สุดในปีงบประมาณ 2552 จำนวน 3 โรงพยาบาล ได้แก่ คณะแพทย์ศาสตร์ วชิรพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลราชวิถี Tanprasert S. WESR 2013;44:81-88.

18 เป้าหมาย : อัตราการเกิดโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด
ไม่เกิน 0.05 ต่อเด็กเกิดมีชีพ 1 พันราย ภายในปี พ.ศ. 2563

19

20 สิ่งที่พบและข้อแนะนำจาก WHO regional validation team ที่มารับรองการยุติการ ถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก

21 สิ่งที่พบจากการรับรองการยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก
ทุกตัวชี้วัดผ่านเป้าหมายการรับรองของ WHO EMTCT for syphilis ระบบการให้บริการ การเฝ้าระวังและประเมินติดตามผล การยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูกไม่ เข้มแข็งเท่ากับระบบที่ใช้ในการยุติการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลุก การติดตามหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อซิฟิลิสและทารกยังไม่เข้มข้นเท่ากับการติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี และทารก ในกรณีหญิงตั้งครรภ์ไม่ได้ฝากครรภ์ มาคลอดยังไม่มีระบบการเจาะเลือดด่วนเพื่อให้ได้ผลโดยเร็วที่สุดในหลาย รพ Algorithm ของการตรวจเลือดซิฟิลิสไม่ชัดเจนว่าต้องเริ่ม test ใดและtest ถัดไปคืออะไร ในบางสถานที่ ขาด test kit และระบบ QA/QC ยังไม่ชัดเจน ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ยังไม่ได้รวมการตรวจซิฟิลิสให้กับคู่ของหญิงตั้งครรภ์ฟรี จะให้เฉพาะรายที่มี อาการหรือหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อ การติดตามผลลัพธ์ของซิฟิลิสแต่กำเนิดเป็นเรื่องท้าทาย ขึ้นกับระบบเฝ้าระวัง การสำรวจหาสาเหตุการติดเชื้อซิฟิลิสแต่กำเนิดรายใหม่ยังไม่มีการทำให้เป็นระบบ

22 สิ่งที่พบจากการรับรองการยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก
ไม่มีระบบการควบคุมกำกับการใช้ Syphilis test kits ในประเทศไทย บริษัทใดก็ขึ้นทะเบียน test kit ขาย ได้ โดยไม่ต้องมีการตรวจสอบในระดับชาติถึงความไว ความจำเพาะของ test ไม่มีศูนย์ห้องปฏิบัติการระดับประเทศที่รับผิดชอบในการดูแล การยืนยันการตรวจซิฟิลิส การประเมิน test kits และการทำ EQA สำหรับห้องปฏิบัติการในไทย มี 3 สถาบันที่ดูแลเรื่อง Syphilis EQA และบางสถาบันเข้าร่วม WHO / CDC syphilis EQA program แต่การเข้าร่วม syphilis EQA ไม่ได้เป็นข้อบังคับ Algorithms ที่ใช้ปัจจุบันไม่ได้รับรองการใช้ rapid immunochromatographic tests ในการ คัดกรองซึ่ง จริงๆแล้วการเลือกใช้ high-quality rapid tests อาจมีประโยชน์สำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ ฝากครรภ์ Syphilis algorithms ในประเทศไทยแนะนำว่าถ้า ตรวจ test แรกบวกให้ทำ test ที่สองเพื่อยืนยัน แต่ ในทางปฏิบัติขึ้นกับว่าคุณหมอจะสั่งตรวจยืนยันหรือไม่ พบว่าบางรพ ไม่มีระบบการส่งตรวจ ยืนยันผล และ วินิจฉัยโรคโดยใช้การคัดกรองวิธีเดียว

23 ปัจจัยเสี่ยงต่อการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก
No ANC Late ANC presenter Maternal characteristics e.g., use of illicit drugs, poverty, poor education  interfere with proper ANC No syphilis screening in some populations e.g., migrants, no ANC, high socioeconomic Eleonor G Lago. Cureus. 2016 What are main causes for MTCT of syphilis in Thailand?

24 Stages to be followed in the prevention of mother-to-child transmission of syphilis
Eleonor G Lago. Cureus. 2016

25 The four pillars that represent the strategy of the World Health Organization for elimination of congenital syphilis Eleonor G Lago. Cureus. 2016

26 ก้าวต่อไปเพื่อการยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูกที่ยั่งยืนในประเทศไทย (I)
Ensure sustained political commitment and advocacy จัดหางบประมาณของรัฐที่จะให้การสนับสนุนงานด้านการป้องกันและยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก สร้างความเข้มแข็งของการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ทำงานด้านซิฟิลิสในแม่และเด็ก เช่น กรมควบคุม โรค กรมอนามัย เป็นต้น และผู้รับผิดชอบหลักของงาน ร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ ในการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อซิฟิลิสรายใหม่ในหญิงตั้งครรภ์ และ ประชากรทั่วไป และลดอัตราการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก จัดตั้งระบบการควบคุมกำกับสำหรับ syphilis test kits เช่น เกณฑ์ความไว ความจำเพาะสำหรับ test ที่จะขึ้น ทะเบียนใช้ในประเทศ Recommendations from WHO RVT team during EMTCT validation visit and from informal discussion during the site visit

27 ก้าวต่อไปเพื่อการยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูกที่ยั่งยืนในประเทศไทย (II)
2. Increase access to, and quality of, maternal and newborn health services เพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์ให้กับทุกประชากร รวมทั้งคนไทย ต่างด้าวและ วัยรุ่นอายุต่ำกว่า 18 ปี ส่งเสริมให้สามีหญิงตั้งครรภ์สามารถตรวจหาการติดเชื้อซิฟิลิสได้ใน สิทธิประกันสุขภาพแห่งชาติ Recommendations from WHO RVT team during EMTCT validation visit and from informal discussion during the site visit

28 ก้าวต่อไปเพื่อการยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูกที่ยั่งยืนในประเทศไทย (II)
3. Screen and treat all pregnant women ฟื้นฟูความรู้เจ้าหน้าที่ในเรื่องการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อซิฟิลิสและทารกที่คลอดจากแม่ที่ติดเชื้อ ซิฟิลิส ดูแลไม่ให้มีการขาดยา Benzathine penicillin จัดระบบบริการให้มีการ tracking หญิงตั้งครรภ์และคู่ที่ติดเชื้อซิฟิลิสและทารกที่คลอดจากแม่ติดเชื้อ เพื่อให้มั่นใจว่าได้รับบริการที่เหมาะสม Recommendations from WHO RVT team during EMTCT validation visit and from informal discussion during the site visit

29 Thailand national guideline on EMTCT of syphilis 2015
Consultants Royal college of pediatrics Royal college of OB/GYN Pediatric infectious disease society of Thailand STI society of Thailand Technical support Bangrak, STI cluster, Bureau of AIDS, TB, STI, DDC, MOPH Bureau of health promotion, DOH, MOPH Thailand MOPH-US. CDC Collaboration Authors from Bangrak hospital, Queen Sirikit National Institute of Child Health, Siriraj Hospital, Rajvithi Hospital, Nakornping Hospital, Kampangphet hospital, Bureau of epidemiology, ODPC region 8/10, TUC

30 ก้าวต่อไปเพื่อการยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูกที่ยั่งยืนในประเทศไทย (III)
3. Screen and treat all pregnant women (Lab) จัดตั้งระบบการประเมินสมรรถภาพของ syphilis test kits ในระดับประเทศและตีพิมพ์ รายชื่อของ test ที่ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน จัดตั้งระบบ EQA for syphilis lab ระดับชาติ standard algorithm, minimum standards of sensitivity and specificity for syphilis test kits ส่งเสริมให้ห้องปฏิบัติการที่ทำการตรวจ syphilis testing เข้าร่วม EQA สำรวจความเป็นไปได้ของการนำ rapid test kits for syphilis มาใช้ในกรณีเร่งด่วนเช่น “emergency” testing สำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ฝากครรภ์หรือยังไม่มีผลตรวจซิฟิลิส จัดระบบให้มีการตรวจยืนยันผลซิฟิลิสในกรณีที่พบผลการคัดกรองซิฟิลิสเป็นบวก Recommendations from WHO RVT team during EMTCT validation visit and from informal discussion during the site visit

31 ก้าวต่อไปเพื่อการยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูกที่ยั่งยืนในประเทศไทย (IV)
4. Establish surveillance, monitoring, and evaluation systems สร้างระบบติดตามประเมินสถานการณ์ความชุกซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์และซิฟิลิสแต่กำเนิด และติดตาม อุบัติการณ์การติดเชื้อซิฟิลิสแต่กำเนิดรายปี ต่อแสนประชากร หากพบปัญหาควรมีแนวทางแก้ไขที่เป็น ระบบ จัดทำ คำจำกัดความของ congenital syphilis และวิธีการเก็บและรายงานข้อมูลที่ชัดเจนในระบบ ICD10 พัฒนาระบบการสำรวจหาสาเหตุการติดเชื้อซิฟิลิสแต่กำเนิดรายใหม่และวิธีการรายงาน Recommendations from WHO RVT team during EMTCT validation visit and from informal discussion during the site visit

32 ตัวอย่าง วิเคราะห์การดำเนินงานป้องกันโรคซิฟิลิสแต่กำเนิดที่ผ่านมาและแนวทางแก้ไข
ปัญหา ทางแก้ ไม่กลับไปฟังผลเลือด ไม่มีระบบการติดตามผู้ป่วยและระบบการ ควบคุมกำกับ อยู่ห่างไกลหรือเป็นแรงงานที่เคลื่อนย้าย ชุดสิทธิประโยชน์ไม่ได้ระบุให้ครอบคลุมการ ตรวจ 2 ครั้ง รายงานผู้ป่วยโรคซิฟิลิสสูงกว่าความเป็นจริง พัฒนาคุณภาพการให้การปรึกษา สร้างระบบ flowและสัญญาณเตือน นโยบายมีแล้ว “ฝากท้องทุกที่ ฟรีทุกสิทธิ์” ชุดสิทธิประโยชน์ระบุให้ครอบคลุมการตรวจ 2 ครั้ง ปรับปรุงระบบรายงาน 506 (กำลังดำเนินงาน) และพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ (กำลังดำเนินงาน)

33 สรุป ประเทศไทยได้รับการรับรองการยุติซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก เมื่อ มิย 2559
อัตราความชุกซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์และทารกมีแนวโน้มสูงขึ้น ในช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะในกทมและปริมณฑล ควรสร้างความเข้มแข็งของการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก ทั้งในด้านนโยบาย มีงบประมาณ benefit package การอบรมฟื้นฟูเจ้าหน้าที่ การให้บริการที่ได้มาตรฐาน ทั้งในด้านคลินิกและห้องปฏิบัติการ และการเฝ้าระวัง ควรส่งเสริมให้มีการหาสาเหตุการติดเชื้อซิฟิลิสรายใหม่และใช้ข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพ บริการ

34 Thank you for your attention

35 Acknowledgements All hospitals submitting PMTCT of syphilis reports and implemented PMTCT of syphilis services Hospitals participated in the RVT field visits Members of the National validation committee EMTCT working groups National EMTCT syphilis guidelines WHO regional validation team Department of Health Dr. Danai Teewanda Dr. Sarawut Boonsuk Ms. Chaweewan Tondputsa Department of Medical Science Dr. Busarawan Sriwantana Ms. Hansa Thaisri Department of Diseases Control Dr. Petchsri Sirinirund Dr. Sumet Ongwandee Dr. Nisit Kongkergkiat Dr. Angkana Chareonwatanachokechai Mr. Somchai Lokpichat Ms. Prisana Buasakul Ms. Niramon Punsuwan Bangkok Metropolitan Administration NHSO, SSS, CSMB, and BPS Dr. Suchada Chaivooth Global AIDS Program Thailand/Asia Regional office Dr. Rangsima Lolekha Ms. Benjamas Baipluthong Dr. Chonticha Kittinunvorakoon Dr. Michael Martin Dr. Thierry Roels WHO Thailand and SEARO Dr. Mukta Sharma Dr. Razia Narayan Pendse NGOs and human right working group Dr. Suchada Taweesith Ms. Sulaiporn Chonwilai UNAIDS Thailand Ms. Tatiana Shommulan Dr. Patchara Benjarattanaporn Mr. Sompong Chareonsuk UNICEF Thailand and UNICEF EPRO Dr. Beena Kuttparambil Ms. Wing-Sie Cheng

36 ขอขอบคุณผู้จัดทำสไลด์
พญ รังสิมา โล่ห์เลขา ศูนย์ความร่วมมือไทยสหรัฐด้านสาธารณสุข พญ อังคณา เจริญวัฒนาโชคชัย ผู้เชียวชาญกรมควบคุมโรค


ดาวน์โหลด ppt การยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิส จากแม่สู่ลูกในประเทศไทย สิ่งท้าทายและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents,

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google