งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การป้องกันกำจัด ด้วงหนวดยาวอ้อย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การป้องกันกำจัด ด้วงหนวดยาวอ้อย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การป้องกันกำจัด ด้วงหนวดยาวอ้อย
กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดลพบุรี

2

3 ด้วงหนวดยาวอ้อย หรือ ชาวบ้านเรียก ด้วงเจาะลำต้น วงจรชีวิต ( ๖-๒๐ วัน) ๗-๑๘วัน ตัวเต็มวัย ๑๑-๑๒ วัน ดักแด้ ระยะไข่ (อายุ ๑- ๒ เดือน) ระยะตัวหนอน มี ๗-๘ ระยะ

4 ตัวอ่อน หนอน   ลำตัวสีขาวนวลตลอดทั้งตัว  รูปร่างแบนทรงกระบอกและแบนเล็กน้อย บริเวณอกกว้างกว่าส่วนท้องเล็กน้อย หัวกะโหลกมีสีน้ำตาลและมีขนาดเล็กกว่าลำตัวมาก ปากขนาดเล็กแต่มีเขี้ยวแข็งแรง ขามีขนาดเล็กมาจนแทบมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เมื่อโตเต็มที่มีขนาดใหญ่มาก คือ ยาว มิลลิเมตร กว้าง มิลลิเมตร หัวกะโหลกกว้าง 12 มิลลิเมตร

5 ระยะดักแด้  ระยะดักแด้ อายุดักแด้ประมาณ 7-18 วัน ก็ออกเป็นตัวเต็มวัย ดักแด้ เป็นแบบ exarate หนวด ขา และปีกเคลื่อนไหวเป็นอิสระ เห็นได้ชัดเจน ยาวประมาณ มม. กว้าง มม รังดักแด้เป็นรูปไข่ขนาดยาวประมาณ มม. กว้าง มม. หนอนที่เข้าดักแด้ใหม่ๆ มีสีขาวนวล แล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง ส่วนใหญ่พบหนอน 1-3 ตัว ต่อกออ้อย 1 กอ

6 ตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัย มีสีน้ำตาลแดง ยาวประมาณ มม. กว้าง มม. ตรงปลายปล้องสุดท้ายของส่วนท้องเพศเมียมีลักษณะมน ส่วนเพศผู้ตรงปลายเว้าและมีขนที่ด้านล่างของส่วน ตัวเต็มวัยออกจากดักแด้ในดินหลังจากฝนตก วัน ในเวลากลางคืน ตั้งแต่เดือนมีนาคม – มิถุนายน และพบว่าออกมากที่สุดในเดือนเมษายน มีนิสัยว่องไวมากในเวลากลางคืนเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วในบริเวณไร่อ้อยส่วนในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวอยู่นิ่งๆ ตามโคนต้นอ้อย ถึงแม้ว่าตัวเต็มวัยจะมีปีกแข็งแรงแต่ไม่ชอบบิน

7 ลักษณะการทำลาย ลักษณะการทำลายของแมลง หนอนเริ่มเข้าทำลายอ้อยเกือบตลอดอายุการเจริญเติบโต หนอนเริ่มเข้าทำลายตั้งแต่ระยะเริ่มปลูกอ้อย โดยเจาะไชเข้าไปกัดกินเนื้ออ้อยภายในท่อนพันธุ์ ทำให้ท่อนพันธุ์อ้อยไม่งอก หน่ออ้อยอายุ 1-3 เดือนจะถูกกัดกินตรงส่วนโคนที่ติดกับเหง้าให้ขาดออกทำให้หน่ออ้อยแห้งตายเมื่อหนอนโตขึ้นมีขนาดยาวประมาณ 40 มม. จะเริ่มเจาะไชจากส่วนโคนลำต้นขึ้นไปเพื่อกินเนื้ออ้อย ความเสียหายที่เกิดกับอ้อย  เข้าทำลายทางโคนต้นใต้ดินแล้วเจาะไชเข้ากัดกินภายในลำต้น   กัดกินหน่ออ้อยส่วนโคนจนขาดทำให้แห้งตาย   

8 การแพร่ระบาด ระยะเวลาที่แพร่ระบาด ตัวเต็มวัยออกจากดักแด้ในดินหลังจากฝนตก วัน ในเวลากลางคืน ตั้งแต่เดือนมีนาคม – มิถุนายน และพบว่าออกมากที่สุดในเดือนเมษายน สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการแพร่ระบาด พบระบาดมากในสภาพดินร่วนปนทรายที่มี pH 6.9 ดินมีอินทรีย์วัตถุ %

9 พืชอาหาร อ้อย และ มันสำปะหลัง
อ้อย และ มันสำปะหลัง การสุ่มตัวอย่างหลังจากตัดอ้อยเข้าโรงงาน ควรสุ่มตัวอย่างโดยวิธีเส้นทะแยงมุม หรือ ซีเควนเชียล ถ้าอ้อยถูกทำลายมากกว่า 24%กอ หรือ 7.23%ลำ ควรไถทิ้งและปลูกใหม่ ถ้าไว้ตออาจไม่คุ้มค่า จะถูกกินหมด และไม่ได้เก็บเกี่ยว

10 คำแนะนำการป้องกันกำจัด
ขณะที่ไถไร่ ควรเดินเก็บหนอนตามรอยไถ 1-2 ครั้ง ก่อนปลูกอ้อย ควรส่งเสริมให้มีการนำตัวหนอนไปประกอบอาการ ปลูกพืชหมุนเวียน โดยปลูกมันสำปะหลัง แม้ว่าหนอนชนิดนี้จะเข้าทำลายมันสำปะหลังโดยเจาะเข้าไปที่โคนต้นมันสำปะหลังให้เป็นโพรง และหักล้มในที่สุด บางครั้งพบเจาะเข้าไปกินในหัวมัน แต่การเข้าทำลายมันสำปะหลังก็รุนแรงน้อยกว่าในอ้อยมาก ในแหล่งที่พบการระบาด หลังวางท่อนพันธุ์ควรมีการฉีดพ่นด้วยสารแขวนลอยของเชื้อราเขียว จึงกลบ จะสามารถป้องกันตัวหนอนได้ประมาณ 1 ปีในกรณีที่ไม่มีตัวหนอนเข้าทำลายอ้อย แต่หากมีหนอนได้รับเชื้อราเข้าทำลาย  เชื้อราสามารถกระจายต่อไปได้เรื่อย ๆ จากตัวหนอนที่ตาย

11 อาจใช้สารเคมีโรยในร่องอ้อย endosuldan + fenobucarb (Thiocorb 4
อาจใช้สารเคมีโรยในร่องอ้อย  endosuldan + fenobucarb (Thiocorb 4.5% G) อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วจึงกลบร่อง หรือ ฉuดพ่นด้วยสาร fipronil (Asscend 5% SC) อัตรา 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดแล้วกลบดิน ในช่วงปลายมีนาคม-เมษายนของทุกปี ด้วงหนวดยาวอ้อยเริ่มออกจากดักแด้มาเป็นตัวเต็มวัย ใช้วิธีกลคือ ขุดหลุมดักจับ โดยตัวเมียหลังจากออกจากดักแด้จะปล่อยสารล่อทางเพศออกมา ตัวผู้ก็เดินตาม เมื่อตกลงไปในหลุมก็จะไม่สามารถขึ้นมาได้ และควรรองก้นหลุมด้วยพลาสติก เพื่อป้องกันการวางไข่ของด้วงหนวดยาวได้

12 การใช้สารเคมี สารเคมีป้องกันและวิธีการใช้   ๑ carbofuran    ในแหล่งระบาดใช้สารเคมีอัตรา 10 กก./ไร่ โรยบนท่อนพันธุ์ตอนปลูก หรือตอนแต่งกอโรยข้างกออ้อยทั้งสองด้านและใส่ซ้ำอัตราเดิมหลังปลูกหรือสับตอ 45 วัน    ๒ chlordane    อัตราการใช้ 200 มล. / น้ำ 20 ลิตร หลังวางท่อนพันธุ์อ้อยพ่นสารฆ่าแมลงในร่องอ้อยแล้วกลบดินใช้น้ำประมาณ 80 ลิตร/ไร่    ๓ Fipronil    ในแหล่งที่มีการระบาด หลังวางท่อนพันธุ์อ้อยแล้วให้พ่นในอัตรา 80 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร   

13 การควบคุมกำจัดแมลง ๑. ขณะไถไร่ ควรเดินเก็บหนอนตามรอยไถ 1-2 ครั้ง , ปลูกพืชหมุนเวียนมันสำปะหลังหรือสับปะรด, ปลายมีนาคม-ต้นเมษายนด้วงหนวดยาวเริ่มออกเป็นตัวเต็มวัยให้ใช้วิธีกลขุดหลุมดักจับตัวเต็มวัย ๒ สารเคมีป้องกันและวิธีการใช้ ๑ carbofuran ในแหล่งระบาดใช้สารเคมีอัตรา 10 กก./ไร่ โรยบนท่อนพันธุ์ตอนปลูก หรือตอนแต่งกอโรยข้างกออ้อยทั้งสองด้านและใส่ซ้ำอัตราเดิมหลังปลูกหรือสับตอ 45 วัน ๒ chlordane อัตราการใช้ 200 มล. / น้ำ 20 ลิตร หลังวางท่อนพันธุ์อ้อยพ่นสารฆ่าแมลงในร่องอ้อยแล้วกลบดินใช้น้ำประมาณ 80 ลิตร/ไร่ ๓ Fipronil ในแหล่งที่มีการระบาด หลังวางท่อนพันธุ์อ้อยแล้วให้พ่นในอัตรา 80 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร

14 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การป้องกันกำจัด ด้วงหนวดยาวอ้อย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google