ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
2.3 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ปี 2559/60
ประชุมชี้แจงข้อมูลการกำกับติดตามแผนการผลิตและและการตลาดข้าวครบวงจร วันที่ 28 ตุลาคม 2559 ณ ห้องประชุมสำนักตรวจราชการ กษ. โดย นายขจร เราประเสริฐ ผอ. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว กรมการข้าว
2
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ปี 2559/60
1. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ปีการผลิต 2559/60 ด้านการผลิต รอบที่ 1 รอบที่ 2 1. โครงการส่งเสริมสนับสนุนการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพดี ปี 2559/60 1. โครงการปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวไปปลูกพืชลากหลายฤดูนาปรัง ปี 2560 2. โครงการสนับสนุนสินเชื่อแปลงใหญ่ให้กลุ่มชาวนาผู้ผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ ปีการผลิต 2559/60 2. โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด 3. โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงกระบือ 3. โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 4. โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ 5. โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงแพะ 6. โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการทำนาหญ้า 7. โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นเกษตรกรรมทางเลือกอื่น 2. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร และรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2559/60 ด้านการตลาด 1.โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร 2. โครงการสินเชื่อเกษตรกรเพื่อชะลอการขายข้าวเปลือก 3. โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว 4. โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก 3. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2559/60 ด้านการเงิน 1. โครงการสนับสนุนเงินช่วยเหลือต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2559/60 2. โครงการพักชำระหนี้ต้นเงินและลดดอกเบี้ยเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2559/60 3. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อยกระดับประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกรรายย่อย 4. โครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2559 4. มาตรการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเกษตรกรรายย่อย 1. มาตรการเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้มีรายได้น้อย 2. มาตรการย่อยช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย ผ่านระบบ ธ.ก.ส.
3
1. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ปีการผลิต 2559/60 ด้านการผลิต
ปีการผลิต 2559/60 ด้านการผลิต มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ปลูกข้าว ปี 2559/60 รอบที่ 1 โครงการส่งเสริมสนับสนุนการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพ (กรมการข้าว) โครงการสนับสนุนสินเชื่อให้กลุ่มชาวนาผู้ผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ (ธ.ก.ส.) ครม.อนุมัติ เมื่อ 31 พฤษภาคม 2559 โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่การทำนาไม่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงปศุสัตว์(กระบือ โคเนื้อ แพะ และนาหญ้า) โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่เพาะปลูกไม่เหมาะสมเป็นเกษตรกรรมทางเลือกอื่น ครม.อนุมัติ เมื่อ 31 พฤษภาคม 2559 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ปลูกข้าว ปี 2559/60 รอบที่ 2 ครม.อนุมัติ เมื่อ 31 พฤษภาคม 2559 โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่การปลูกข้าวไปปลูกพืชหลากหลายฤดูนาปรัง ปี 25560 โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผ่าน นบข. เมื่อ 14 กย.59 โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด
4
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ปลูกข้าว
ปี 2559/60 รอบที่ 1
5
1.1 โครงการส่งเสริมสนับสนุน การใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพ (กข.)
วัตถุประสงค์ - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวหอมมะลิในเขตพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิคุณภาพ - เพื่อส่งเสริมให้ชาวนามีความรู้และสามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพดีไว้ใช้เอง กลุ่มเป้าหมาย - เกษตรกรในแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิ จำนวน 1,280 หมู่บ้าน 64,000 ครัวเรือน พื้นที่ 640,000 ไร่ - พื้นที่ 23 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บึงกาฬ บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานี เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา การสนับสนุน - สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าว 1,280 หมู่บ้านๆละประมาณ 50 ครัวเรือนๆละไม่เกิน 125 กก. (อัตรา กก./ไร่) รวม 64,000 ครัวเรือน - ติดตามให้คำแนะนำการปลูก และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่เดือนเมษายน 2559 – มกราคม 2560 งบประมาณ วงเงิน 206 ล้านบาท (ของบประมาณเพิ่มเติมจากงบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ประจำปีงบประมาณ 2559) ครม.อนุมัติ เมื่อ 31 พฤษภาคม 2559
6
1.2 โครงการสนับสนุนสินเชื่อ
ให้กลุ่มชาวนาผู้ผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ (ธ.ก.ส.) วัตถุประสงค์ - เพื่อสนับสนุนสินเชื่อแก่กลุ่มชาวนาผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ให้พัฒนาสมรรถนะในการบริหาร จัดการข้าวของชุมชนแบบครบวงจรตั้งแต่การผลิต คุณภาพ และการจัดการด้านการตลาด - เพื่อให้เกษตรกรมีต้นทุนที่เหมาะสม มีรายได้เพิ่มขึ้น และสามารถพึ่งพาตนเองได้ในที่สุด กลุ่มเป้าหมาย - สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชนที่ผ่านความเห็นชอบเป็นกลุ่มการผลิตข้าว แบบแปลงใหญ่จากคณะอนุกรรมการนโยบายและพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด (คพจ.) 426 กลุ่ม การสนับสนุน - รัฐบาลสนับสนุนชดเชยดอกเบี้ยผ่อนปรนสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการทำนา ปีการผลิต 2559/60 ให้กับสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชนที่ผ่านควาเห็นชอบ จาก คพจ. กลุ่มละไม่เกิน 5 ล้านบาท ขึ้นกับแผนธุรกิจ - กลุ่มชาวนาจะรับภาระดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 0.01 ต่อปี รัฐบาลเป็นผู้รับภาระดอกเบี้ยอัตรา ร้อยละ 3.50 ต่อปี - ระยะเวลาชดเชยดอกเบี้ยจากรัฐบาลไม่เกิน 12 เดือน เป็นเงิน ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินการ - ระยะเวลาการจ่ายเงินกู้ ตั้งแต่ มิถุนายน – 31 ตุลาคม 2559 ยกเว้นภาคใต้ เริ่มตั้งแต่ มิถุนายน 2559 – 28 กุมภาพันธ์ 2560 งบประมาณ รวม 2, ล้านบาท - วงเงินสินเชื่อจาก ธ.ก.ส. รวม 2,130 ล้านบาท - วงเงินชดเชยดอกเบี้ยจากรัฐบาลไม่เกิน 12 เดือน เป็นเงิน ล้านบาท ปัญหาอุปสรรค ข้อสั่งการของ รมว.กษ. เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2559 - กลุ่มชาวนาไม่สามารถเข้าถึงการขอรับสินเชื่อ - ธ.ก.ส. ยังคงใช้ระเบียบปฏิบัติเช่นเดียวกับกลุ่มชาวนาทั่วไป ไม่มีการลดหย่อนเกณฑ์ต่างๆ - ธ.ก.ส. ไม่ได้แยกบัญชีออกจากการดำเนินการปกติ ให้ ธ.ก.ส. พิจารณาแนวทางการขับเคลื่อนการสนับสนุนสินเชื่อ ทบทวนเงื่อนไข หากติดขัดในขั้นตอนใด และต้องแก้ไขในระดับนโยบาย ขอให้นำเสนอ นบข. พิจารณา เพื่อนำเสนอ ครม.พิจารณาแก้ไขต่อไป
7
1.3 โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ทำนาไม่เหมาะสม
เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงกระบือ (ปศ.) วัตถุประสงค์ - เพื่อลดพื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม - เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงกระบือให้แก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน วางโครงสร้างการพัฒนาผลิตกระบือทั้งระบบ กลุ่มเป้าหมาย - เกษตรกรจำนวน 5,000 ราย (500 กลุ่ม) เลี้ยงกระบือรายละ 5 ตัว รวมกระบือ 25,000 ตัว - เกษตรกรปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าว เพื่อปลูกพืชอาหารสัตว์ทดแทน รายละ 5 ไร่ จำนวน 25,000 ไร่ - พื้นที่ 55 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ราชบุรี สระแก้ว กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี เชียงใหม่ แพร่ ชัยภูมินครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ศรีษะเกษ สุรินทร์ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี นครสวรรค์อุตรดิตถ์พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย นครนายก ระยอง ชลบุรี พัทลุง เชียงราย พะเยา น่าน สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน กำแพงเพชร ตาก พิจิตร อุทัยธานี ลพบุรี สระบุรี ชัยนาท ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา จันทบุรี นครปฐม เพชรบุรี การสนับสนุน - สนับสนุนสินเชื่อ เพื่อเป็นค่าแม่กระบือ 5,000 รายๆ ละ 5 ตัวๆ ละ ไม่เกิน 50,000 บาท และค่าจัดสร้าง โรงเรือนเลี้ยงกระบือ 5,000 รายๆ ละ 50,000 บาท - สนับสนุนค่าจัดทำแปลงหญ้าและระบบน้ำ 5,000 รายๆ ละ 5 ไร่ๆละ 4,000 บาท รวม 20,000 บาท/ราย - การถ่ายทอดความรู้ การดูแลสุขภาพกระบือ และการให้บริการผสมพันธุ์ ระยะเวลาดำเนินการ - ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 ปี (เริ่มดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2559 – 30 กันยายน 2565) - ระยะเวลาการจ่ายเงินกู้ เริ่ม 1 สิงหาคม 2559 – 30 กันยายน 2560 งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 1, ล้านบาท - วงเงินสินเชื่อ 1, ล้านบาท (ค่าแม่กระบือ 1,250 ล้านบาท และค่าจัดสร้างโรงเรือน 250 ล้านบาท) - งบดำเนินงาน ล้านบาท แบ่งเป็น ค่าจัดทำแปลงหญ้าและระบบน้ำ เป็นเงิน ล้านบาท ค่าบริหารจัดการโครงการ เป็นเงิน ล้านบาท ค่าชดเชยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 3 ต่อปี รวม 6 ปี เป็นเงิน ล้านบาท (การเบิกจ่ายของ ธ.ก.ส. จะเป็นไปตามภาระที่เกิดขึ้นจริง) ครม. อนุมัติ เมื่อ 17 สิงหาคม 2559
8
1.4 โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ทำนาไม่เหมาะสม
เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ (ปศ.) วัตถุประสงค์ - เพื่อลดพื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม - เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อให้แก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน วางโครงสร้างการพัฒนาผลิตโคเนื้อทั้งระบบ กลุ่มเป้าหมาย - เกษตรกรจำนวน 24,000 ราย (2,400 กลุ่ม) เลี้ยงโคเนื้อรายละ 5 ตัว รวม 120,000 ตัว - เกษตรกรปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าว เพื่อปลูกพืชอาหารสัตว์ทดแทน รายละ 5 ไร่ จำนวน 120,000 ไร่ - พื้นที่ 55 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ราชบุรี สระแก้ว กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี เชียงใหม่ แพร่ ชัยภูมินครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ศรีษะเกษ สุรินทร์ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี นครสวรรค์อุตรดิตถ์พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย นครนายก ระยอง ชลบุรี พัทลุง เชียงราย พะเยา น่าน สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน กำแพงเพชร ตาก พิจิตร อุทัยธานี ลพบุรี สระบุรี ชัยนาท ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา จันทบุรี นครปฐม เพชรบุรี การสนับสนุน - สนับสนุนสินเชื่อ เพื่อเป็นค่าแม่โคเนื้อ 24,000 รายๆ ละ 5 ตัวๆ ละ ไม่เกิน 65,000 บาท และค่าจัดสร้าง โรงเรือนเลี้ยงโคเนื้อ 24,000 รายๆ ละ 50,000 บาท - สนับสนุนค่าจัดทำแปลงหญ้าและระบบน้ำ 24,000 รายๆ ละ 5 ไร่ๆละ 4,000 บาท รวม 20,000 บาท/ราย - การถ่ายทอดความรู้ การดูแลสุขภาพโคเนื้อ และการให้บริการผสมพันธุ์ ระยะเวลาดำเนินการ - ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 ปี (เริ่มดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2559 – 30 กันยายน 2565) - ระยะเวลาการจ่ายเงินกู้ เริ่ม 1 สิงหาคม 2559 – 30 กันยายน 2560 งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 10, ล้านบาท - วงเงินสินเชื่อ 9,000 ล้านบาท (ค่าแม่โคเนื้อ 7,800 ล้านบาท และค่าจัดสร้างโรงเรือน 1,200 ล้านบาท) - งบดำเนินงาน 1, ล้านบาท แบ่งเป็น ค่าจัดทำแปลงหญ้าและระบบน้ำ เป็นเงิน ล้านบาท ค่าบริหารจัดการโครงการ เป็นเงิน ล้านบาท ค่าชดเชยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 3 ต่อปี รวม 6 ปี เป็นเงิน 1, ล้านบาท (การเบิกจ่ายของ ธ.ก.ส. จะเป็นไปตามภาระที่เกิดขึ้นจริง) ครม. อนุมัติ เมื่อ 17 สิงหาคม 2559
9
1.5 โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ทำนาไม่เหมาะสม
เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงแพะ (ปศ.) วัตถุประสงค์ - เพื่อลดพื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม - เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงแพะให้แก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน วางโครงสร้างการพัฒนาผลิตแพะทั้งระบบ กลุ่มเป้าหมาย - เกษตรกรจำนวน 500 ราย (50 กลุ่ม) เลี้ยงแพะรายละ 32 ตัว (ตัวเมีย 30 ตัว ตัวผู้ 2 ตัว) รวม 16,000 ตัว - เกษตรกรปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าว เพื่อปลูกพืชอาหารสัตว์ทดแทน รายละ 5 ไร่ จำนวน 2,500 ไร่ - พื้นที่ 55 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ราชบุรี สระแก้ว กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี เชียงใหม่ แพร่ ชัยภูมินครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ศรีษะเกษ สุรินทร์ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี นครสวรรค์อุตรดิตถ์พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย นครนายก ระยอง ชลบุรี พัทลุง เชียงราย พะเยา น่าน สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน กำแพงเพชร ตาก พิจิตร อุทัยธานี ลพบุรี สระบุรี ชัยนาท ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา จันทบุรี นครปฐม เพชรบุรี การสนับสนุน - สนับสนุนสินเชื่อ เพื่อเป็นค่าพันธุ์แพะ รายละ 132,000 บาท (เพศเมีย 30 ตัวๆ ละ 4,000 บาท/เพศผู้ 2 ตัวๆ ละ 6,000 บาท) และค่าก่อสร้างโรงเรือน แปลงพืชอาหารสัตว์ ระบบน้ำ เครื่องสับพืชอาหารสัตว์ ถังพลาสติก สำหรับหมักพืชอาหารสัตว์ รายละ 100,000 บาท - การถ่ายทอดความรู้ การดูแลสุขภาพแพะ และการให้บริการผสมพันธุ์ ระยะเวลาดำเนินการ - ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 ปี (เริ่มดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2559 – 30 กันยายน 2564) - ระยะเวลาการจ่ายเงินกู้ เริ่ม 1 สิงหาคม 2559 – 30 กันยายน 2560 งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ล้านบาท - วงเงินสินเชื่อ ล้านบาท (ค่าพันธุ์แพะ ล้านบาท และค่าก่อสร้างโรงเรือน แปลงพืชอาหารสัตว์ ระบบน้ำ เครื่องสับพืชอาหารสัตว์ ถังพลาสติกสำหรับหมักพืชอาหารสัตว์ ล้านบาท) - งบดำเนินงาน จำนวน ล้านบาท แบ่งเป็น ค่าจัดทำแปลงหญ้าและระบบน้ำ เป็นเงิน ล้านบาท ค่าบริหารจัดการโครงการ เป็นเงิน ล้านบาท ค่าชดเชยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 3 ต่อปี รวม 5 ปี เป็นเงิน ล้านบาท (การเบิกจ่ายของ ธ.ก.ส. จะเป็นไปตามภาระที่เกิดขึ้นจริง) ครม. อนุมัติ เมื่อ 17 สิงหาคม 2559
10
1.6 โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ทำนาไม่เหมาะสม
เพื่อส่งเสริมการทำนาหญ้า (ปศ.) วัตถุประสงค์ - เพื่อลดพื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม - เพื่อส่งเสริมการปลูกพืชอาหารสัตว์เป็นการค้าให้แก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน กลุ่มเป้าหมาย - เกษตรกรลดพื้นที่ปลูกข้าว เพื่อปลูกพืชอาหารสัตว์ทดแทน จำนวน 500 ราย (50 กลุ่ม) รายละ 5 ไร่ รวม 2,500 ไร่ - พื้นที่ 55 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ราชบุรี สระแก้ว กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี เชียงใหม่ แพร่ ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ศรีษะเกษ สุรินทร์ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี นครสวรรค์อุตรดิตถ์พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย นครนายก ระยอง ชลบุรี พัทลุง เชียงราย พะเยา น่าน สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน กำแพงเพชร ตาก พิจิตร อุทัยธานี ลพบุรี สระบุรี ชัยนาท ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา จันทบุรี นครปฐม เพชรบุรี การสนับสนุน - สนับสนุนสินเชื่อ เพื่อเป็นค่าเตรียมดิน ค่าแรงงานปลูกหญ้า 500 รายๆ ละ 40,000 บาท และค่าเครื่องหั่นสับ พืชอาหารสัตว์ 500 ชุดๆ ละ 100,000 บาท - สนับสนุนค่าวางระบบน้ำ 2,500 รายๆ ละ 5 ไร่ๆละ 4,000 บาท รวม 20,000 บาท/ราย - ถ่ายทอดความรู้ ดูแลแปลงพืชอาหารสัตว์ จำหน่ายพืชอาหารสัตว์ และติดตามประเมินผลโครงการ ระยะเวลาดำเนินการ - ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 ปี (เริ่มดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2559 – 30 กันยายน 2562) - ระยะเวลาการจ่ายเงินกู้ เริ่ม 1 สิงหาคม 2559 – 30 มิถุนายน 2560 งบประมาณ รวมทั้งสิ้น ล้านบาท - วงเงินเชื่อ ล้านบาท (ค่าเตรียมดิน ค่าแรงงานปลูกหญ้า ล้านบาท และค่าเครื่องหั่นสับพืชอาหารสัตว์ ล้านบาท) - งบดำเนินงาน ล้านบาท แบ่งเป็น ค่าวางระบบน้ำ เป็นเงิน ล้านบาท ค่าบริหารจัดการโครงการ เป็นเงิน ล้านบาท ค่าชดเชยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 3 ต่อปี รวม 3 ปี เป็นเงิน ล้านบาท (การเบิกจ่ายของ ธ.ก.ส. จะเป็นไปตามภาระที่เกิดขึ้นจริง) ครม. อนุมัติ เมื่อ 17 สิงหาคม 2559
11
1.7 โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสม
เป็นเกษตรกรรมทางเลือกอื่น (กสก.) วัตถุประสงค์ - เพื่อลดพื้นที่การปลูกข้าวในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม เป็นเกษตรกรรมทางเลือกอื่นที่เหมาะสมกับพื้นที่ - เพื่อปรับเปลี่ยนระบบการผลิตของชาวนาให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เพื่อสร้างความยั่งยืนในอาชีพ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ 420,000 ไร่ ทุกจังหวัดยกเว้น 14 จังหวัดภาคใต้ การสนับสนุน - สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการปรับเปลี่ยนพื้นที่และปัจจัยการผลิต รายละ 5 ไร่ๆละ 5,000 บาท - สนับสนุนค่าพันธุ์สัตว์น้ำ 2,300 บาท/ราย - สนับสนุนค่าพันธุ์สัตว์ปีก 2,844 บาท/ราย - จัดถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตและการตลาดพืชทางเลือก - ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจำหน่ายผลผลิต ระยะเวลาดำเนินการ สิงหาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 งบประมาณ รวมงบกลางรายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นทั้งสิ้น 2, ล้านบาท - สนับสนุนค่าใช้จ่าย จำนวน 2, ล้านบาท - ค่าบริหารจัดการโครงการ จำนวน ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 17 สิงหาคม 2559
12
มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ปลูกข้าว
ปี 2559/60 รอบที่ 2
13
1.8 โครงการปรับเปลี่ยนการปลูกข้าว ไปปลูกพืชที่หลากหลาย (กสก.)
วัตถุประสงค์ - ลดรอบการทำนาในฤดูนาปรังด้วยการพักการทำนาสลับปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่น - สร้างรายได้จากการปลูกพืชอื่นทดแทนการปลูกข้าว - สร้างโอกาสให้กับชาวนาได้เรียนรู้การเพาะปลูกพืชอื่นในพื้นที่นาเพื่อเป็นเกษตรกรรม ทางเลือก กลุ่มเป้าหมาย - ชาวนา 60,000 ครัวเรือน พื้นที่ 300,000 ไร่ - 22 จังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยา ประกอบด้วย จังหวัดกรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร สุพรรณบุรี นครปฐม และสมุทรสาคร การสนับสนุน - สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานกิจกรรมบางส่วน รายละไม่เกิน 5 ไร่ๆละ 2,000 บาท - ประสานงานกับผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการตลาด ติดตามให้คำแนะนำ - จัดงานรณรงค์และถ่ายทอดเทคโนโลยี ระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่เดือนเมษายน 2559 – เมษายน 2560 งบประมาณ วงเงิน ล้านบาท แบ่งเป็น งบดำเนินงาน จำนวน ล้านบาท งบเงินอุดหนุน จำนวน ล้านบาท ครม.อนุมัติ เมื่อ 31 พฤษภาคม 2559
14
1.9 โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด (พด.)
วัตถุประสงค์ - ลดพื้นที่ปลูกข้าว ปี 2559/60 รอบที่ 2 - ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด - ปรับปรุงบำรุงดิน กลุ่มเป้าหมาย - พื้นที่ 200,000 ไร่ - 19 จังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยา ได้แก่ สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ชัยนาท สระบุรี นครนายก อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร การสนับสนุน ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด 50,000 ไร่ สนับสนุนค่าไถเตรียมดินครั้งแรก ไร่ละ 500 บาท โดยเกษตรกรรวมกลุ่มจัดหารถไถมาดำเนินการ หากไม่สามารถดำเนินการได้ กรมพัฒนาที่ดินจะจัดจ้างรถไถให้ สนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสดให้เกษตรกร ครัวเรือนละไม่เกิน 20 ไร่ อัตรา 5 กก.ต่อไร่ กรมพัฒนาที่ดินรับซื้อเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสดจากเกษตรกรในราคา กก.ละ 20 บาท โดยต้องตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ปลูกพืชปุ๋ยสดและไถกลบ 150,000 ไร่ สนับสนุนค่าไถเตรียมดินครั้งแรก ไร่ละ 500 บาท และค่าไถกลบพืชปุ๋ยสด ไร่ละ 500 บาท โดยเกษตรกรรวมกลุ่มจัดหารถไถมาดำเนินการ หากไม่สามารถดำเนินการได้ กรมพัฒนาที่ดินจะจัดจ้างรถไถให้ ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม 2559 ถึง พฤษภาคม 2560 งบประมาณ งบกลางรายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ปีงบประมาณ 2559 จำนวน ล้านบาท นบข. เห็นชอบเมื่อ 14 ก.ย. 59 อยู่ระหว่างเสนอ ครม. อนุมัติ
15
1.10 โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (กสก.)
วัตถุประสงค์ - เพื่อลดพื้นที่และผลผลิตข้าว เพิ่มพื้นที่และผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - เพื่อให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวได้เรียนรู้การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง นำไปสู่การปรับระบบการปลูก ข้าวที่ถูกต้อง มั่นคง และยั่งยืน - เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าข้าว กลุ่มเป้าหมาย - พื้นที่ 2,000,000 ไร่ - 35 จังหวัด ได้แก่ กำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุดรธานี อุบลราชธานี ชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี นครปฐม เพชรบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี การสนับสนุน - สนับสนุนสินเชื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกรไร่ละ 4,000 บาท งวดที่ 1 จำนวน 1,800 บาทต่อไร่ สำหรับเป็นค่าเตรียมดิน ค่าเมล็ดพันธุ์ ค่าปุ๋ยเคมีรองพื้น และค่าสารเคมีคุมวัชพืช งวดที่ 2 จำนวน 1,200 บาทต่อไร่ สำหรับเป็นค่าปุ๋ยเคมีครั้งที่ 2 (ปุ๋ยแต่งหน้า) และค่าดูแลรักษา งวดที่ 3 จำนวน 1,000 บาทต่อไร่ สำหรับเป็นค่าเก็บเกี่ยว - รัฐบาลชดเชยดอกเบี้ยให้ ธ.ก.ส. ในอัตราร้อยละ 3 ต่อปี ตลอดระยะเวลาโครงการ - ภาคเอกชนรับซื่อข้าวโพดชนิดเมล็ดในราคาประกัน ไม่ต่ำกว่า 8 บาท ต่อ กก. - ถ่ายทอดความรู้ ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม 2559 ถึง เมษายน 2560 งบประมาณ งบประมาณตามกิจกรรมกรอบวงเงิน ล้านบาท แบ่งเป็น 1. ค่าดำเนินงาน จำนวน ล้าน 2. ค่าชดเชยดอกเบี้ย จำนวน ล้านบาท นบข. เห็นชอบเมื่อ 14 ก.ย. 59 อยู่ระหว่างเสนอ ครม. อนุมัติ
16
2. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร และรักษาเสถียรภาพราคาข้าว ปีการผลิต 2559/60
ครม. อนุมัติ เมื่อ 14 มิถุนายน 2559 โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร (กสส./กตส./ธ.ก.ส.) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี (ธ.ก.ส.) โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว (คน.) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก (คน)
17
2.1 โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร (กสส./กตส./ธ.ก.ส.)
วัตถุประสงค์ - เพื่อช่วยชะลอปริมาณข้าวเปลือกที่เข้าสู่ตลาดในช่วงที่ข้าวออกมามาก เพื่อเก็บข้าวเปลือกไว้แปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการแปรรูปเป็นข้าวสาร กลุ่มเป้าหมาย สถาบันเกษตรกร ได้แก่ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน การสนับสนุน สนับสนุนสินเชื่อให้แก่สถาบันเกษตรกร โดยให้สถาบันเกษตรกรรับภาระดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี รัฐบาลรับภาระดอกเบี้ยในอัตราไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปี ระยะเวลาไม่เกิน 12 เดือน ระยะเวลาดำเนินการ 1 ตุลาคม กันยายน 2560 งบประมาณ วงเงินงบประมาณรวม ล้านบาท วงเงินชดเชยดอกเบี้ย 375 ล้านบาท ค่าเบี้ยประกันภัยและค่าบริหารจัดการโครงการ ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 14 มิถุนายน 2559
18
2.2 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี
(ธ.ก.ส.) วัตถุประสงค์ - เพื่อชะลอการขายข้าวเปลือกในช่วงออกสู่ตลาดในปริมาณมากเกินความต้องการของตลาด เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในครัวเรือนและภาระหนี้สิน เพื่อรักษาระดับราคาข้าวเปลือกให้มีเสถียรภาพ กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ผลิตข้าวหอมมะลิและข้าวเหนียว การสนับสนุน สนับสนุนสินเชื่อแก่เกษตรกรวงเงินร้อยละ 90 ของราคาตลาด ให้ค่าเก็บรักษาตันละ 1,500 บาท และค่าขนส่งข้าวออกจากยุ้งฉางไม่เกินตันละ 300 บาท ระยะเวลาดำเนินการ 1 พฤศจิกายน 2559 – 31 ธันวาคม 2560 งบประมาณ วงเงินงบประมาณรวม 3, ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 14 มิถุนายน 2559 ปัญหาอุปสรรค รมว.กษ. สั่งการ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2559 1.ชาวนายังไม่มั่นใจในการดำเนินโครงการของ ธ.ก.ส. 2.โครงการยังขาดการสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์ให้ชาวนารับทราบ 3. มติ ครม. วันที่ 11 ตุลาคม 2559 ทำให้ ธ.ก.ส. ให้ พณ. และ ธ.ก.ส. ไปพิจารณาทบทวน แนวทางการดำเนินงานโครงการเพื่อจูงใจให้เกษตรกรมาเข้าร่วมโครงการ และนำเสนอ นบข. พิจารณาโดยเร็วต่อไป
19
2.3 โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว (คน.)
วัตถุประสงค์ - เพื่อช่วยลดภาระดอกเบี้ยแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว เพื่อให้เกษตรกรมีเงินเหลือจากการลดภาระการชำระดอกเบี้ยเงินกู้ สามารถนำไปเป็นค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในครัวเรือนเพื่อการดำรงชีพเพิ่มขึ้น และเกิดการหมุนเวียนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2559/60 ที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการผลิตข้าวอยู่กับ ธ.ก.ส. หรือสถาบันเกษตรกร ประมาณ 1,200,000 ราย การสนับสนุน ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตราร้อยละ 3 ต่อปี สำหรับเกษตรกรที่มีต้นเงินกู้รายละไม่เกิน 80,000 บาท ระยะเวลาไม่เกิน 6 เดือน ระยะเวลาดำเนินการ 1 กรกฎาคม 2559 – 31 ตุลาคม 2561 งบประมาณ วงเงินงบประมาณรวม 1,440 ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 14 มิถุนายน 2559
20
2.4 โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก (คน.)
วัตถุประสงค์ - เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการดูดซับผลผลิตประมาณ 8 ล้านตันข้าวเปลือก เป็นระยะเวลา 2-6 เดือน กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการค้าข้าว การสนับสนุน รัฐบาลชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวที่จะเข้าร่วมโครงการฯ ผ่านธนาคารพาณิชย์หรือธนาคารของรัฐ ที่ผู้ประกอบการค้าข้าวเป็นลูกค้าอยู่ ตามมูลค่าข้าวเปลือกที่ผู้เข้าร่วมโครงการเก็บสต็อกไว้ในอัตราร้อยละ 3 ต่อปี ตามระยะเวลาที่เก็บสต็อกไว้ วัน นับแต่วันที่รับซื้อ (เบิกจ่ายเงินหรือออกตั๋วสัญญาใช้เงิน) เพื่อรับซื้อข้าวเปลือก ปีการผลิต 2559/60 ระยะเวลาดำเนินการ 1 กรกฎาคม 2559 – 31 ตุลาคม 2561 งบประมาณ วงเงินงบประมาณรวม ล้านบาท ค่าชดเชยดอกเบี้ย ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 2.50 ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 14 มิถุนายน 2559
21
3. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว
ปีการผลิต 2559/60 ด้านการเงินของ ธ.ก.ส. ครม. อนุมัติ เมื่อ 21 มิถุนายน 2559 โครงการสนับสนุนเงินช่วยเหลือต้นทุนการผลิตให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว (ธ.ก.ส.) โครงการพักชำระหนี้ต้นเงินและลดดอกเบี้ยให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว (ธ.ก.ส.) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อยกระดับประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกร รายย่อย (ธ.ก.ส.) โครงการประกันภัยข้าวนาปี (ธ.ก.ส.)
22
3.1 โครงการสนับสนุนเงินช่วยเหลือต้นทุนการผลิต
ให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว (ธ.ก.ส.) วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น กระตุ้นการขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับฐานราก กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการเพาะปลูก 2557/58 หรือเป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการเพาะปลูก 2559/60 ชาวนา จำนวนประมาณ 3.7 ล้านราย การสนับสนุน สนับสนุนเงินช่วยเหลือต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดไร่ละ 1,000 บาท รายละไม่เกิน 10 ไร่ ระยะเวลาดำเนินการ 1 กรกฎาคม – 31 ธันวาคม 2559 ยกเว้นภาคใต้สิ้นสุดไม่เกิน 28 กุมภาพันธ์ 2560 งบประมาณ วงเงินงบประมาณรวม 37, ล้านบาท วงเงินที่จ่ายให้เกษตรกร 37,000 ล้านบาท ค่าชดเชยต้นทุนเงิน ล้านบาท ค่าบริหารจัดการของ ธ.ก.ส. วงเงิน ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 21 มิถุนายน 2559
23
3.2 โครงการพักชำระหนี้ต้นเงินและลดดอกเบี้ยให้เกษตรกร
ผู้ปลูกข้าว (ธ.ก.ส.) วัตถุประสงค์ เพื่อบรรเทาภาระหนี้สิน เพื่อให้ลูกค้า ธ.ก.ส. มีโอกาสนำเงินที่ต้องส่งชำระหนี้ไปเป็นค่าใช่จ่ายที่จำเป็นในครัวเรือน เพื่อฟื้นฟูการประกอบอาชีพ และปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของครัวเรือน กลุ่มเป้าหมาย เป็นเกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. ที่มีหนี้เงินกู้วัตถุประสงค์เพื่อการผลิตข้าวกับ ธ.ก.ส. ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 ไม่เกิน 500,000 บาท จำนวน 2,000,000 ราย ต้นเงินกู้ 180,000 ล้านบาท การสนับสนุน พักชำระต้นเงิน โดยเลื่อนกำหนดชำระคืนต้นเงินเป็นระยะเวลา 2 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 ถึงวันที่ 30 มิถถุนายน 2561 ลดดอกเบี้ยเงินกู้ร้อยละ 3.00 ต่อปีให้เกษตรกร โดยรัฐบาลชดเชยดอกเบี้ยแทนเกษตรกร ร้อยละ 1.50 ต่อปี และ ธ.ก.ส. รับภาระดอกเบี้ยแทนเกษตรกร ร้อยละ 1.50 ต่อปี ระยะเวลาดำเนินการ 1 กรกฎาคม 2559 – 30 มิถุนายน 2561 งบประมาณ รัฐบาลชดเชยดอกเบี้ยแทนเกษตรกรร้อยละ 1.50 ต่อปี เป็นเงินปีละ 2,700 ล้านบาท ระยะเวลา 2 ปี จำนวนเงินชดเชยรวม 5,400 ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 21 มิถุนายน 2559
24
ครม.อนุมัติ เมื่อ 21 มิถุนายน 2559
3.3 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อยกระดับประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกรรายย่อย (ธ.ก.ส.) วัตถุประสงค์ - เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกร มุ่งเน้นให้เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์วาง แผนการผลิตเพื่อเพิ่มรายได้ และการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม เพื่อสนับสนุนให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ ดูแล และให้คำปรึกษาแนะนำการจัดการทางการเงิน และการแก้ไขปัญหาหนี้สินในครัวเรือนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกรรายย่อยให้หาทางเพิ่มรายได้สุทธิครัวเรือนด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และแสวงหาโอกาสใหม่ในการประกอบอาชีพ กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรรายย่อยที่มีความสมัครใจเข้าร่วมโครงการ 300,000 ราย ที่ไม่เคยผ่านการอบรมโครงการที่มีลักษณะการให้ความรู้ทางการเงินและการผลิตจากหน่วยงานอื่นภายใน 1 ปี การสนับสนุน ธ.ก.ส. พิจารณาคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ การจัดอบรมแบ่งเป็น 2 ระยะ - ระยะที่ 1 “รู้กระแสเงินสด อนาคตมั่นคง” เน้นการวิเคราะห์กระแสเงินสด - ระยะที่ 2 “ปรับเปลี่ยนการผลิต สู่ชีวิตที่มั่นคง” เน้นให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนเพื่อเพิ่มรายได้ - การติดตามประเมินผลโครงการ ติดตามการเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรที่เข้าร่วมโครงการ ระยะเวลาดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ก.ค. 59 – 31 ธ.ค. 60 ระยะเวลาจัดอบรม ก.ค. 59 – 31 ธ.ค. 60 ระยะเวลาประเมินผล มิ.ย. 59 – 31 ธ.ค. 60 งบประมาณ วงเงิน ล้านบาท ครม.อนุมัติ เมื่อ 21 มิถุนายน 2559
25
3.4 โครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2559 (ธ.ก.ส.)
วัตถุประสงค์ - เพื่อให้เกษตรกรมีการจัดการความเสี่ยงด้านการผลิตผ่านการประกันภัยและบรรเทาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากภัยธรรมชาติ กลุ่มเป้าหมาย - พื้นที่เป้าหมาย 30 ล้านไร่ แบ่งเป็น พื้นที่เป้าหมายขั้นต่ำสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี จำนวน 25 ล้านไร่ และพื้นที่ปลูกข้าวนาปีเพิ่มเติมอีก 5 ไร่ การสนับสนุน เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับความคุ้มครองจากภัยธรรมชาติ 7 ประเภท สมาคมประกันวินาศภัยไทย เป็นผู้รับประกันในส่วนที่เพิ่มเติมจากมาตรการช่วยเหลือผู้ประสบภัยของรัฐ ธ.ก.ส. เป็นตัวกลางระหว่างเกษตรกรผู้เอาประกันภัยกับผู้รับประกันภัยในการดำเนินมาตรการต่างๆ ผ่านแรงจูงใจ กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยงานหลักในการขึ้นทะเบียนเกษตรกร ระยะเวลาดำเนินการ ลูกค้าทั่วไป ก.ค. 59 – 15 ส.ค. 59 ลูกค้า ธ.ก.ส. 15 ก.ค. 59 – 30 ส.ค. 59 งบประมาณ รวม 2, ล้านบาท ครม.อนุมัติ เมื่อ 21 มิถุนายน 2559
26
4. มาตรการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเกษตรกรรายย่อย
ครม.เห็นชอบ เมื่อ 27 กันยายน 2559 มาตรการเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้มีรายได้น้อย มาตรการย่อยช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย ผ่านระบบ ธ.ก.ส. หมายเหตุ: ธ.ก.ส. อยู่ระหว่างจัดทำรายละเอียดโครงการ
27
4.1 มาตรการเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้มีรายได้น้อย
วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรที่มีรายได้น้อยหรือไม่มีรายได้ที่ได้ร่วมโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ เพื่อบรรเทาผลกระทบจากปัญหาราคาพืชผลเกษตรตกต่ำ และยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรผู้มีรายได้น้อยในระยะเร่งด่วน กลุ่มเป้าหมาย เป็นเกษตรกรที่ลงทะเบียนในโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐระหว่างวันที่ 15 กค. – 15 สค. 59 ที่ได้รับการตรวจสอบและรับรองเบื้องต้นจากหน่วยงานราชการแล้ว การสนับสนุน ใช้หลักการให้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกรที่มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน (30,000 บาท/ปี) ในจำนวนที่มากกว่าเกษตรกรที่มีรายได้สูงกว่าเส้นความยากจน โดยมีอัตราเงินโอน จำนวนผู้มีสิทธิ์ และวงเงินงบประมาณที่ใช้ ดังนี้ ธ.ก.ส.โอนเงินเข้าบัญชีให้แก่เกษตรกรตามเกณฑ์ ระยะเวลาดำเนินการ อยู่ระหว่างจัดทำรายละเอียดโครงการ งบประมาณ งบประมาณไม่เกิน 6,540 ล้านบาท เบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ในส่วนของงบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น เกษตรกรผู้ลงทะเบียน อัตราเงินโอน (ให้ครั้งเดียว) ประมาณการ ผู้มีสิทธิ์ งบประมาณ ผู้ที่ไม่มีรายได้ หรือมีรายได้ ไม่เกิน 30,000 บาท/ปี 3,000 บาท/คน 1.51 ล้านคน 4,530 ล้านบาท 2. ผู้ที่มีรายได้สูงกว่า 30,000 บาท/ปี แต่ไม่เกิน 1 แสนบาท/ปี 1,500 บาท/คน 1.34 ล้านคน 2,010 ล้านบาท รวม 2.85 ล้านคน 6,540 ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 27 กันยายน 2559
28
4.2 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย
ผ่านระบบ ธ.ก.ส. วัตถุประสงค์ เพื่อบรรเทาภาระหนี้สินของเกษตรกร ช่วยเหลือเกษตรกรให้กลับมาทำการผลิตต่อไปได้ และคืนกำไรให้กับเกษตรกรที่ชำระดี กลุ่มเป้าหมาย เป็นเกษตรกรลูกค้ารายย่อยที่มีหนี้สินต้นเงินกู้รายละไม่เกิน 300,000 บาท จำนวนประมาณ 2,897,000 ราย หนี้สินจำนวน 334,525 ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินการ 1 พฤศจิกายน 2559 – 31 มีนาคม 2561 ประกอบด้วย 3 โครงการ 1. โครงการปลดเปลื้องหนี้สินให้เกษตรกรรายย่อยที่มีเหตุผิดปกติ 2. โครงการปรับปรุงโครงสร้างหนี้และลดภาระหนี้สินให้เกษตรกร 3. โครงการชำระดีมีคืนแก่เกษตรกรที่ไม่มีปัญหาการชำระหนี้
29
4.2 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย
ผ่านระบบ ธ.ก.ส. (ต่อ) 1. โครงการปลดเปลื้องหนี้สินให้เกษตรกรรายย่อยที่มีเหตุผิดปกติ วิธีดำเนินการ 1.1 หากไม่มีหลักประกันจำนองและไม่มีทายาทรับช่วงการผลิต - จะพิจารณาจำหน่ายหนี้เงินกู้ออกจากบัญชีเป็นหนี้สูญ 1.2 หากมีหลักประกันจำนองและมีทายาทรับช่วงการผลิต - จะปรับปรุงโครงสร้างหนี้ให้แก่ทายาทตามศักยภาพ โดยให้ชำระต้นเงินร้อยละ 50 ภายในระยะเวลา 5 ปี และพักชำระต้นเงินเป็นระยะเวลา 2 ปี - คิดดอกเบี้ยเงินกู้ที่ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ในอัตรา MRR (ปัจจุบัน 7%) ส่วนต้นเงินที่เหลือพร้อมดอกเบี้ยค้างชำระก่อนเข้าโครงการให้พักไว้ เมื่อทายาทชำระหนี้ต้นเงินตามแผนปรับปรุงโครงสร้างหนี้แล้ว ธ.ก.ส. จะลดดอกเบี้ยที่พักไว้ทั้งจำนวน ส่วนต้นเงินที่พักไว้อีกร้อยละ 50 จะพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ตามศักยภาพในภายหลัง เป้าหมายเกษตรกร : ประมาณ 85,000 ราย หนี้สินประมาณ 11,025 ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 27 กันยายน 2559
30
4.2 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย
ผ่านระบบ ธ.ก.ส. (ต่อ) 2. โครงการปรับปรุงโครงสร้างหนี้และลดภาระหนี้สินให้เกษตรกร วิธีดำเนินการ 2.1 หากเป็นเกษตรกรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และเป็นลูกค้า ธ.ก.ส. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี และมีทายาทเข้าเป็นลูกค้าแทน - จะรับทายาทเข้าเป็นลูกค้าแทนเกษตรกรรายเดิม และพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ โดยชำระต้นเงินร้อยละ 50 ภายในระยะเวลา 5 ปี และพักชำระต้นเงินเป็นระยะเวลา 2 ปี - คิดดอกเบี้ยเงินกู้ที่ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ในอัตรา MRR ส่วนต้นเงินที่เหลือพร้อมทั้งดอกเบี้ยค้างชำระก่อนเข้าโครงการให้พักไว้ เมื่อชำระหนี้ต้นเงินตามแผนปรับปรุงโครงสร้างหนี้แล้ว ธ.ก.ส.จะลดดอกเบี้ยที่พักไว้จำนวนร้อยละ 80 ส่วนต้นเงินที่พักไว้อีกร้อยละ 50 จะพิจารณาปรับปรุงในภายหลัง 2.2 เป็นเกษตรกรที่เป็นลูกค้า ธ.ก.ส. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี - จะปรับปรุงโครงสร้างหนี้ โดยชำระต้นเงินร้อยละ 50 ภายในระยะเวลา 5 ปี และพักชำระต้นเงินเป็นระยะเวลา 2 ปี - คิดดอกเบี้ยเงินกู้ที่ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ในอัตรา MRR ส่วนต้นเงินที่เหลือพร้อมทั้งดอกเบี้ยค้างชำระก่อนเข้าโครงการให้พักไว้ เมื่อชำระหนี้ต้นเงินตามแผนปรับปรุงโครงสร้างหนี้แล้ว ธ.ก.ส.จะลดดอกเบี้ยที่พักไว้จำนวนร้อยละ 50 ส่วนต้นเงินที่พักไว้อีกร้อยละ 50 จะพิจารณาปรับปรุงในภายหลัง เป้าหมายเกษตรกร : ประมาณ 200,000 ราย หนี้สินประมาณ 17,000 ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 27 กันยายน 2559
31
4.2 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย
ผ่านระบบ ธ.ก.ส. (ต่อ) 3. โครงการชำระดีมีคืนแก่เกษตรกรที่ไม่มีปัญหาการชำระหนี้ วิธีดำเนินการ 2.1 ธ.ก.ส. จะคืนดอกเบี้ยในส่วนที่ลูกค้าส่งชำระ ระหว่างวันที่ 1 พ.ย ต.ค.60 ในอัตราร้อยละ 30 ของจำนวนดอกเบี้ยที่ชำระ - กรณีลูกค้ามีหนี้คงเหลือ ธ.ก.ส. จะนำดอกเบี้ยที่คืนให้ลูกค้ามาลดภาระหนี้ โดยตัดเงินต้นให้ลูกค้า - กรณีลูกค้าไม่มีหนี้คงเหลือ ธ.ก.ส. จะคืนให้ลูกค้าเป็นเงินสด 2.2 สนับสนุนสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือนกรณีฉุกเฉิน (A-Cash) รายละไม่เกิน 100,000 บาท เป้าหมายเกษตรกร : ประมาณ 2,222,000 ราย หนี้สินประมาณ 272,000 ล้านบาท ครม. อนุมัติ เมื่อ 27 กันยายน 2559
32
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.