ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
งานเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2560 (แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม) โดย กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม บรรยายวันที่ 2-3 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมอมารี แอร์พอร์ท ดอนเมือง กรุงเทพมหานคร
2
บันทึกปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2556 ประเด็นขยะ จ.กาฬสินธุ์ &บุรีรัมย์ การร้องเรียนกรณีแหล้งทิ้งกากของเสียอันตราย จ.สระบุรี การร้องเรียนกรณีโรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติจะนะ จ.สงขลา ปัญหาสารหนู กระณีเหมืองทองวังสะพุง จ.เลย ประเด็นปัญหามาบตาพุด จ.ระยอง ปัญหาสารตะกั่วอุ้มผาง จ.ตาก ไหม้บ่อขยะ จ.สมุทรปราการ จ.อยุธยา 2530 2535 2540 2545 2550 2555 2560 ปัญหาเหมืองทองคำ จ.พิจิตร เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก พบผู้ป่วยพิษสารหนูเรื้อรังรายแรก อ.ร่อนพิบูล จ.นครศรีธรรมราช ไฟไหม้ท่าเรือเก็บสารเคมีคลองเตย กรุงเทพฯ การรั่วไหลของตะกั๋วในห้วยคลิตี้ โรงถลุงแร่ตะกั่ว จ.กาญจนบุรี พบ Cd ในข้าว จ.ตาก การร้องเรียนเสียงจากสนามบินสุวรรณภูมิ มหาอุทกภัย (น้ำท่วม) พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2541 ร้องเรียนเปิด โรงงานเหล็ก บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2534 มลพิษอากาศจากเผาขยะฉลองกรุง กทม. ประกาศพื้นที่ อ.พุทธบาท และใกล้เคียง จ.สระบุรี เป็นเขตควบคุมมลพิษ ปัญหาน้ำมันดิบรั่ว จ.ระยอง SO2 รั่วที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จ.ลำปาง CO-60 รั่ว ที่ จ.สมุทรปราการ พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2555 พ.ศ พ.ศ. 2543 พบปรอทในปลา และลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรม จ.ปราจีนบุรี พ.ศ. 2535 ปัญหาหมอกควันจากไฟป่าภาคเหนือรุนแรง ปัญหาลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรม จ.ฉะเชิงเทรา การร้องเรียนกรณีเหมืองโปแตส (ในวงกว้าง) พ.ศ. 2547 ที่มา : งานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม, 2559. เริ่ม พ.ศ. 2545 วงกว้าง พ.ศ.2559 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556
3
ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ที่ส่งผลต่อสุขภาพในประเทศไทย
ก๊าซ SO2 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จ.ลำปาง หมอกควันจากไฟป่า ในภาคเหนือตอนบน ปัญหาจากการบริโภค เหมืองทองคำ จ.เลย และรอยต่อ พิจิตร เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก การรับสัมผัสสารตะกั่ว ในเด็กปฐมวัย จากสิ่งแวดล้อม เหมืองโปแตส อุดร สกลนคร ชัยภูมิ นครราชสีมา (มีดำเนินการที่ชัยภูมิ) การปนเปื้อนของแคดเมียม ในนาข้าว อ.แม่สอด จ.ตาก โรงฟ้าชีวมวล ร้อยเอ็ด ศรีษะเกษ ปัญหาการใช้สารเคมีทางการเกษตร ส่งต่อถึงผู้บริโภค ตะกั่วลำห้วยคลิตี้ จ.กาญจนบุรี ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ กาฬสินธุ์ บุรีรัมย์ อุบลฯ สารหนูจากเหมือง จ.สุพรรณบุรี ฝุ่นหิน/ซิลิโคซีส สระบุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ฝุ่นละออง , ฝุ่นหินทราย และปัญหาบ่อขยะ จ.สระบุรี การอาศัยในพื้นที่เสี่ยง ปัญหาการจัดการขยะ จ.ประจวบคีรีขันธ์ การอาศัยในพื้นที่มีมลพิษสิ่งแวดล้อมจากการอุตสาหกรรม (สารตะกั่วในเด็กเล็ก, โรคปอดในกลุ่มเคนชรา เด็ก และสตรีมีครรภ์) นิคมอุตสาหกรรม และโรงงาน เขตภาคกลาง และตะวันออก (สารระเหย VOC พื้นที่ จ.ระยอง) ปัญหาการจัดการขยะ จ.พระนครศรีอยุธยา, สมุทรปราการ ปราจีนบุรี สารหนูที่ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช ปัญหาเพลิงไหม้ สารเคมีรั่วไหลคลองเตย กรุงเทพฯ ปัญหาร้องเรียนเสียงดัง สนามบินสุวรรณภูมิ จ.สมุทรปราการ โรงไฟฟ้าถ่านหิน อ.เทพา จ.สงขลา ที่มาข้อมูล: ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ 2559 หมอกควันจากไฟป่า ในพื้นที่ภาคใต้
4
สรุปประเด็นการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ผ่องถ่าย สคร. - เหมืองทองคำ 3 จังหวัดรอยต่อ - ปัญหาขยะ 20 จังหวัด - ตะกั่วในเด็ก - เหมืองเก่า (ตะกั่ว สารหนู แคดเมียม) - หมอกควันภาคเหนือ+ภาคใต้ - โรงไฟฟ้าแม่เมาะ, จะนะ - มลพิษอากาศสระบุรี - เหมืองโปแตซ Hot issue ปี 2560 - มลพิษอากาศในเขตเมือง - มลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม/พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ - โรงไฟฟ้าชีวมวล - การจัดบริการเวชกรรม สวล. (บูรณาการ) Model development
5
แผนยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะ
และสิ่งแวดล้อม
6
แผนยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม
ความเชื่อมโยงกับแผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมาย&ตัวชี้วัด: บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและลดมลพิษให้มีคุณภาพดีขึ้น โดยขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกต้องและนำไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของเสียอันตรายชุมชนกำจัดได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 กากอุตสาหกรรมที่เป็นอันตรายทั้งหมดเข้าสู่ระบบการจัดการที่ถูกต้อง ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ เป้าหมาย&ตัวชี้วัด: ค่าเฉลี่ยสารอินทรีย์ระเหยง่ายในพื้นที่อุตสาหกรรมหลักบริเวณมาบตาพุดไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน แก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศในเมืองสำคัญ อาทิ กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล ผ.14 ผ.15 เป้าหมายแผนบูรณาการ จัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง ลดปริมาณการผลิตขยะ ขยะที่เกิดขึ้นได้รับการกำจัดอย่างถูกต้องฯ แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศที่เป็นปัญหาเฉพาะที่เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1.1 ลดขยะมูลฝอยที่จะเกิดใหม่ 2.6 ล้านตันต่อปี ตัวชี้วัดที่ 1.2 ขยะมูลฝอย ของเสียอันตรายชุมชน มูลฝอยติดเชื้อ และกากอุตสาหกรรมได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง 36.5 ล้านตัน/ปี ตัวชี้วัดที่ 2.1 ค่าเฉลี่ยสารอินทรีย์ระเหยง่าย มีค่าไม่เกิน 2.5 µg3/m3 และฝุ่นละอองอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 73 ตัวชี้วัดที่ 2.2 ฝุ่นละอองอยู่ในเกณฑ์ฯเพิ่มเป็นร้อยละ 98 แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมการลดการเกิดขยะมูลฝอย และของเสียอันตรายฯ เพิ่มศักยภาพการจัดเก็บ ขนส่ง และกำจัดขยะฯ เพิ่มศักยภาพการจัดการกากอุตสาหกรรม พัฒนากฎระเบียบ มาตรการการบังคับใช้กฎหมายฯ ควบคุมมลพิษในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ ( ลบ.) 1.พื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง - แหล่งกำเนิดมลพิษ/โรงงานถูกตรวจสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - แหล่งกำเนิดปฏิบัติตามมาตรการ 100% 2.พื้นหน้าพระลาน จ.สระบุรี - แหล่งกำเนิดมลพิษ/โรงงานถูกตรวจสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - แหล่งกำเนิดปฏิบัติตามมาตรการ 100% 1.พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย 3 เรื่อง 2.กลุ่มเป้าหมายมีการเฝ้าระวัง ป้องกันด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพและประชาชนที่สัมผัสขยะ 20 จังหวัด ตัวชี้วัด หน่วยงาน กรมอนามัย โครงการพัฒนากฎหมาย ระเบียบ มาตรการแนวทางปฏิบัติและการกำกับดูแลบังคับใช้กฎหมายในการจัดการขยะอย่างเข้มงวด กรมควบคุมโรค โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผู้สัมผัสขยะ (14.9 ลบ.) 3.กรมควบคุมโรค โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (0.8 ลบ.) 3.กรมควบคุมโรค โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (1.7 ลบ.)
7
กรอบการดำเนินงานภายใต้แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2560
12.1 ลบ. 2.25 ลบ. 1.12 ลบ. 0.735 ลบ. การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พัฒนาการจัดบริการอาชีว อนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบบริหารจัดการและการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาและบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศ 1.1 พัฒนาเชิงประเด็น Hazard 1.2 พัฒนากลไกการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 1.3 โครงการ/งานพิเศษ สารเคมี+สารอันตราย มลพิษทางอากาศ มลพิษอุตสาหกรรมและเขตเศรษฐกิจพิเศษ การขับเคลื่อนงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย พัฒนาระบบการจัดบริการ ขยะ (20 จังหวัด) มลพิษอากาศมาบตาพุด จ.ระยอง นิคมอุตสาหกรรม พัฒนา Model การบูรณาการเกณฑ์การประเมินการจัดบริการฯ ท่าน นพ.สุวรรณชัย (รองปลัด สธ.) เป็นประธาน คทง. - วางระบบพัฒนาศักยภาพ จนท. EnvOcc ส่วนกลาง&ภูมิภาค - วางระบบฐานข้อมูล EnvOcc เหมืองทองคำ มลพิษอากาศฝุ่นหน้าพระลาน จ.สระบุรี พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด ตะกั่วในเด็กปฐมวัย ประชุมพัฒนาทีม Auditor การจัดบริการอช.+สวล. โรงไฟฟ้าถ่านหิน หมอกควันภาคเหนือ+ภาคใต้ พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก 3 จว. ประชุมพัฒนาศักยภาพบุคลากรในพื้นที่ Hot zone โครงการ สสส. เหมืองเก่า โรงไฟฟ้าชีวมวล แผนยุทธศาสตร์ชาติ CC ด้านสาธารณสุข เหมืองโปแตส พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพประชาชนในระดับจังหวัด และ อปท. การพัฒนา Model ระบบการเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนจากมลพิษอุตสาหกรรม มลพิษอากาศเขตเมือง การประชุม 4 ภาคเพื่อพัฒนาบุคลากร สาธารณสุข + อปท. CC.= ร่วมเป็นคณะทำงานกับกรมอนามัย Climate Chang
8
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสำคัญ
ปีงบประมาณ 2560
9
งานขยะ 58 59 60 -สนับสนุนคู่มือ/แนวทาง 1
- ประชุมเครือข่ายในการเฝ้าระวังฯ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ วันที่ มิย 58 - จัดกิจกรรม Kick off โครงการในพื้นที่ 8 จังหวัด - จัดทำและสนับสนุนคู่มือการทำงานสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ แผ่นพับสำหรับประชาชน / รายการบ่ายนี้มีคำตอบ ช่อง9 - ดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย 8 จังหวัด - จัดประชุมคณะทำงานพัฒนาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ จำนวน 4 ครั้ง และประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่เสี่ยง 8 จังหวัดฯ วันที่ 4-5 ก.พ. 2559 -สนับสนุนคู่มือ/แนวทาง - พัฒนาแนวทางการดำเนินงาน และลงพื้นที่นำร่องในพื้นที่ จ.นนทบุรีและกาฬสินธุ์ - ผลการดำเนินงานคัดกรองสุขภาพรวม เท่ากับ ร้อยละ 33.9 - ขยายการดำเนินงานในพื้นที่ 20 จังหวัด - เฝ้าระวังปัญหาสุขภาพต่อเนื่องในพื้นที่ดำเนินการปี 2559 - จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่เป้าหมาย 20 จังหวัด (ประมาณ ธ.ค.59) - จัดทำและสนับสนุนคู่มือ/แผ่นพับ ฯ
10
งานตะกั่วในเด็ก ทำการขยาย Model ในพื้นที่ที่มีปัญหา ภายใต้กลุ่ม :
2 ทำการขยาย Model ในพื้นที่ที่มีปัญหา ภายใต้กลุ่ม : กลุ่มที่ 1 ผู้ปกครองทำงานสัมผัสสารตะกั่ว : จังหวัดพังงา และสมุทรสาคร กลุ่มที่ 2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก : ปทุมธานี การดำเนินงาน ได้แก่ การตรวจวัดทางสิ่งแวดล้อม (wipe sampling) , การเจาะเลือด (ใช้ Lead care II), การสื่อสารและให้ความรู้, และการจัดการที่ Source ทำการผลักดันเชิงนโยบาย ผ่าน กระทรวงมหาดไทย >> โดยทำหนังสือถึง อปท. รณรงค์การใช้สีปลอดสารตะกั่ว (ทำการสำรวจด้วยแบบสอบถามด้านการเลือกใช้สีใน อปท. ก่อน) พัฒนาแนวทาง Recommendation ของการสื่อสารเรื่องสารตะกั่ว พัฒนาระบบ Well Child Clinic และบูรณาการงานป้องกันสารตะกั่วในเด็กในโครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ของสำนักโรคติดต่อ การดำเนินงานภายใต้โครงการตามพระราชดำริ >>> อ.อุ้มผาง จ.ตาก (สคร.2 และ สสจ.ตาก)
11
เหมืองทองคำ สนับสนุนด้านวิชาการ เป็นแกนดำเนินงานประเด็นด้านสุขภาพ
3 สนับสนุนด้านวิชาการ - พัฒนาความรู้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ - ลงพื้นที่ติดตามและสนับสนุนแก่เจ้าหน้าที่ - พัฒนาคู่มือและเอกสารทางวิชาการ เป็นแกนดำเนินงานประเด็นด้านสุขภาพ - เป็นผู้ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกกระทรวง - เป็นเลขานุการในการประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานทั้งส่วนกลางและพื้นที่ การจัดประชุมพัฒนาองค์ความรู้กรณีเหมืองทองคำระดับนานาชาติ การจัดตั้งศูนย์เวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม (จัดหาบุคลากรประจำในพื้นที่) - จัดทีมนักวิชาการสาธารณสุขที่ชำนาญการระบาดวิทยา จำนวน 2 คน - จัดทีม รพ. (พยาบาล จำนวน 3 คน และจะให้ สคร. มาช่วย - ทำแผนการกำหนดให้แพทย์ลงพื้นที่เดือนละ 1 ครั้ง - ทำการ Training ให้กับเจ้าหน้าที่ระดับพื้นที่ - ทำการ Follow up กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงสูง การศึกษาวิจัย
12
มลพิษอุตสาหกรรม และพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ
4 พื้นที่อุตสาหกรรม : 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี สมุทรสาคร ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง และสมุทรปราการ พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ : 10 จังหวัด พัฒนา Model การเฝ้าระวังสุขภาพประชาชน จากโรงงาอุตสาหกรรม - Community profile - Industry profile - Health profile - Exposure profile (พื้นที่นำร่อง : สงขลา ตาก)
13
มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศเขตเมือง
5 มลพิษทางอากาศเขตเมือง - พัฒนา Model ในพื้นที่นำร่อง : นนทบุรี ชลบุรี สระบุรี และขอนแก่น มลพิษอากาศพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง - พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ จังหวัดระยอง - มีการดำเนินงานเฝ้าระวัง/คัดกรอง หมอกควันภาคเหนือ+ภาคใต้ - เฝ้าระวังเชิงรุกทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (โดยการอบรมหน่วยบริการสุขภาพ/ อบรมบุคลากรใน อปท./อบรมในประชาชน/ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน) - เฝ้าระวังเชิงรับและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - สื่อสารความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อดูแลสุขภาพประชาชน ฝุ่นหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี - พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ ดำเนินการหลักโดย สคร.4 สระบุรี ***โรงไฟฟ้าชีวมวล ให้ไฟรวมกับกรณีโรงฟ้าถ่านหินแล้ว
14
โรงไฟฟ้า และ เหมืองโปแตซ
6 ทำการทบทวนสถานการณ์ทั้งในและต่างประเทศ พัฒนา Model ระบบการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ จัดทำคู่มือแนวทางและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา ติดตามผลการดำเนินงาน ในพื้นที่ (Update สถานการณ์)
15
เหมืองเก่า ประสาน/สนับสนุน การดำเนินงานที่จำเป็นแก่ สคร. ในพื้นที่
7 กรณี : ตะกั่ว ในคลิตี้ จังหวัดกาญจนบุรี แคดเมียม ในแม่ตาว อ.แม่สอด จังหวัดตาก สารหนู ในร่อนพิบูล จ.นครศรีธรรมราช, อุทัยธานี , สุพรรณบุรี ประสาน/สนับสนุน การดำเนินงานที่จำเป็นแก่ สคร. ในพื้นที่ ติดตามผลการดำเนินงาน ในพื้นที่ (Update สถานการณ์)
16
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
17
แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย : ลดโรค/ลดเสี่ยง ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ประเด็น แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พรบ.งบประมาณ (ขาวคาดแดง) มาตรการแผนงานควบคุมโรค ตรวจบูรณาการกับสำนักนายกฯ ตัวชี้วัด 1.1 จำนวนจังหวัดจังหวัดมีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน (ประเด็นที่ 6 สนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม) 46 จังหวัด ผลผลิตที่ 14 (ขยะ) 3.1 จำนวนจังหวัดจังหวัดมีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงจาก สวล. เพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการฯ(ประเด็นที่ 6 สนับสนุนการจัดบริการฯ) 46 จังหวัด - ตรวจบูรณาการร่วมกับสำนักนายกฯ = ประเด็นขยะติดเชื้อ - จังหวัดจัดทำรายงาน PPR1 2.1 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพฯ 20 จว. ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 2.2 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะมีความพึงพอใจต่อบริการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพฯ 20 จว. 3.2 ร้อยละของการสนับสนุนให้ รพศ./รพท. สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้ 76 จังหวัด 1.2 ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด 2.3 โครงการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคฯ ใน ปชช. สัมผัสขยะ แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด 3.3 ระดับความสำเร็จของ อปท. มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ผลผลิตที่ 15 (มลพิษอากาศ) 2.4 ร้อยละเครือข่ายเป้าหมายดำเนินการเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านมลพิษทางอากาศในพื้นที่เสี่ยงตามแนวทางมาตรฐานกรม คร. 2.5 จำนวนเครือข่ายเป้าหมายได้รับการสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศ 2.6 ร้อยละเครือข่ายเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศ 2.7 ร้อยละของโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศ แล้วเสร็จตามที่กำหนด
18
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
(ด้านสาธารณสุข)
19
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
(ร่าง) KPI Template แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ตัวชี้วัด ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN hospital จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
20
คำนิยาม เกณฑ์เป้าหมาย
ปรับ ณ วันที่ ตัวชี้วัด : จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน คำนิยาม จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน หมายถึง จังหวัดมีระบบและกลไกเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ใน 6 ประเด็น ดังนี้ มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ มีกลไกการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการโดยผ่านคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลรพศ./รพท./รพช สังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย ร้อยละ 100 มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน มีการดำเนินงานเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน มีการส่งเสริมการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน เกณฑ์เป้าหมาย ปีงบประมาณ 60 ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 ร้อยละ 100 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 80 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับดี ร้อยละ 100 ของจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับดี ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก ร้อยละ 100 ของจังหวัด
21
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) จัดส่งข้อมูลให้ศูนย์อนามัย ศูนย์อนามัยรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของเขตและจัดส่งข้อมูลให้ส่วนกลาง หน่วยงานส่วนกลางรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลระดับประเทศ การรายงานผ่านระบบการตรวจราชการกระทรวง เกณฑ์การประเมิน ปี 2560 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน จังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ จังหวัดประเมินตนเองตามเกณฑ์ที่กำหนด และมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 50 ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ (ประเมินโดยศอ.) ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดยศอ.)
22
เป้าหมาย : ร้อยละ 100 ของจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน
บันได 3 ขั้นในการพัฒนาจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ผ่านระดับพื้นฐาน 1. มีฐานข้อมูลด้านอวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 5 ประเด็น /มีกาเฝ้าระวัง อวล. พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่อย่างน้อย 2 ประเด็น /นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 2. มีผู้รับผิดชอบ/แผนจัดประชุม/ผลักดัน/ขับเคลื่อนงานอวล. อย่างน้อย 2 เรื่อง /มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 2 เรื่อง /มีรายงานการประชุม 3. รพ.สังกัด กสธ. (รพศ. รพท. รพช. รพ.สังกัดกรมวิชาการ) มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ร้อยละ 100 4. มีนโยบาย/ตัวชี้วัด/แผนงาน/ฐานข้อมูลEHA 5. มีแผนงาน/มีตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพศักยภาพในการจัดการอวล. ร้อยละ 100 6. มีแผนงานสนับสนุนหน่วยบริการสุขภาพ(รพศ./ รพท.,รพช.,รพ.สต.) จัดบริการ Env.Occ. ตามเกณฑ์กรม คร. ผ่านระดับดี 1. มีฐานข้อมูลด้านอวล. พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 5 ประเด็น โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS /มีการเฝ้าระวัง อวล. พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมหรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 3 ประเด็น และนำข้อมูล ไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ 2. มีการผลักดัน/ขับเคลื่อนงานอวล.อย่างน้อย เรื่อง /มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 3 เรื่อง /กำหนดรูปแบบการขับเคลื่อน/สรุปผลการประชุม 3. รพ.สังกัด กสธ. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย (รพศ. รพท. รพช. รพ.สังกัดกรมวิชาการ ร้อยละ 100 / รพ.สต. ร้อยละ 10) 4. ผ่านระดับพื้นฐานข้อ 4 และมี Instructorอย่างน้อย 1 คน และร้อยละ 50 ของ อปท. ในพื้นที่ผ่านการประเมินรับรองฯ 5. ผ่านระดับพื้นฐานข้อ 5 และ เกิดนวัตกรรมชุมชนด้านอวล.ตามบริบทของพื้นที่ 6. มีการสนับสนุนหน่วยบริการสุขภาพ(รพศ./รพท., รพช., รพ.สต.) Env.Occ. ตามเกณฑ์กรม คร.โดยได้คะแนน 80 คะแนนขึ้นไป ผ่านระดับดีมาก 1. มีฐานข้อมูลด้านอวล. พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่อย่างน้อย 9 ประเด็น โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS และมีการเฝ้าระวัง อวล. พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมหรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย ประเด็น และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ รวมทั้งมีการจัดการเรื่องความน่าเชื่อถือ และทันสมัยของข้อมูล 2. มีการผลักดัน/ขับเคลื่อนงานอวล.อย่างน้อย 5 เรื่อง / มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 5 เรื่อง /สรุปผลการดำเนินงาน 3. รพ.สังกัด กสธ. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย (รพศ. รพท. รพช. รพ.สังกัดกรมวิชาการ ร้อยละ 100 / รพ.สต. ร้อยละ 30) 4. ผ่านระดับดีข้อ 4 และร้อยละ 50 ของ อปท. ในพื้นที่ผ่านการประเมินรับรองฯ ระดับเกียรติบัตรอย่างน้อย 1 แห่ง และเป็นต้นแบบการจัดการด้าน อวล. 5. ผ่านระดับดีข้อ 5 และมีแหล่งเรียนรู้นวัตกรรมชุมชนด้าน อวล.เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่าย 6. มีการสนับสนุนหน่วยบริการสุขภาพ (รพศ./รพท., รพช., รพ.สต.) Env.Occ. ตามเกณฑ์ กรม คร. โดยได้คะแนน 100 คะแนน
23
เป้าหมายพื้นที่เสี่ยง ปี 2560 (46 จังหวัด) 1.3 พื้นที่ที่มีปัญหาขยะ
1. พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษ สารเคมีและสารอันตราย พื้นที่เสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังและรายชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่เสี่ยง 1.1. พื้นที่เหมืองทอง 1.2 พื้นที่เหมืองเก่า 1.3 พื้นที่ที่มีปัญหาขยะ 1.4 เหมืองโปแตช เขต 2 เพชรบูรณ์ พิษณุโลก เขต 3 พิจิตร เขต 8 เลย เขต 2 ตาก (แคดเมียม) เขต 3 *อุทัยธานี (สารหนู) เขต 5 กาญจนบุรี (ตะกั่ว) *สุพรรณบุรี (สารหนู) เขต 11 นครศรีธรรมราช (สารหนู) เขต 1 ลำพูน เขต 2 พิษณุโลก เขต 3 *นครสวรรค์ เขต 4 สระบุรี เขต 5 *เพชรบุรี กาญจนบุรี เขต 6 ปราจีนบุรี สมุทรปราการ เขต 7 ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ * ขอนแก่น เขต 8 อุดรธานี เขต 9 *นครราชสีมา บุรีรัมย์ เขต 10 มุกดาหาร อุบลราชธานี เขต 11 *สุราษฎร์ธานี นครศรีฯ เขต 12 สงขลา เขต 13 พระนครศรีอยุธยา เขต 8 อุดรธานี เขต 9 ชัยภูมิ หมายเหตุ : * คือ จังหวัดที่เพิ่มจากเป้าหมายปี 2559
24
เป้าหมายพื้นที่เสี่ยง ปี 2560 (46 จังหวัด)
2. พื้นที่มีมลพิษทางอากาศ พื้นที่เสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวัง รายชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่เสี่ยง 2.1 ฝุ่นหน้าพระลาน เขต 4 สระบุรี 2.2 ฝุ่นหิน เขต 6 ชลบุรี เขต 9 นครราชสีมา สุรินทร์ 2.3 หมอกควัน เขต 1 เชียงใหม่ เชียงราย แพร่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา น่าน ลำปาง เขต 2 ตาก 2.4 มลพิษอากาศจากโรงไฟฟ้าชีวมวล เขต 7 ร้อยเอ็ด เขต 9 บุรีรัมย์ สุรินทร์ นครราชสีมา หมายเหตุ : * คือ จังหวัดที่เพิ่มจากเป้าหมายปี 2559
25
เป้าหมายพื้นที่เสี่ยง ปี 2560 (46 จังหวัด)
3. พื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหาสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ พื้นที่เสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวัง รายชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่เสี่ยง 3.1 พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ เขต 1 เชียงราย (อ.แม่สาย/อ.เชียงแสน/อ.เชียงของ) เขต 2 ตาก (อ.แม่สอด/อ.พบพระ/อ.แม่ระมาด) เขต 5 กาญจนบุรี (อ.เมือง) เขต 6 สระแก้ว (อ.อรัญประเทศ/อ.วัฒนานคร) ตราด(อ.คลองใหญ่) เขต 8 *หนองคาย (อ.เมือง/อ.สระใคร) *นครพนม (อ.เมือง/อ.ท่าอุเทน) เขต 10 มุกดาหาร อ.เมือง/อ.หว้านใหญ่/อ.ดอนตาล) เขต 12 สงขลา (อ.สะเดา) *นราธิวาส (อ.สุไหงโก-ลก/อ.ตากใบ/อ.แว้ง/อ.ยี่งอ/อ.เมือง) 3.2. พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม เขต 4 พระนครศรีอยุธยา เขต 5 สมุทรสาคร เขต 6 ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง สมุทรปราการ เขต 13 *ปทุมธานี 3.3 พื้นที่โรงไฟฟ้าถ่านหิน เขต 1 ลำปาง เขต 11 กระบี่ เขต 12 สงขลา หมายเหตุ : * คือ จังหวัดที่เพิ่มจากเป้าหมายปี 2559
26
แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย : ลดโรค/ลดเสี่ยง ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ประเด็น แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พรบ.งบประมาณ (ขาวคาดแดง) มาตรการแผนงานควบคุมโรค ตรวจบูรณาการกับสำนักนายกฯ ตัวชี้วัด 1.1 จำนวนจังหวัดจังหวัดมีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน (ประเด็นที่ 6 สนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม) 46 จังหวัด ผลผลิตที่ 14 (ขยะ) 3.1 จำนวนจังหวัดจังหวัดมีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงจาก สวล. เพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการฯ(ประเด็นที่ 6 สนับสนุนการจัดบริการฯ) 46 จังหวัด - ตรวจบูรณาการร่วมกับสำนักนายกฯ = ประเด็นขยะติดเชื้อ - จังหวัดจัดทำรายงาน PPR1 2.1 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพฯ 20 จว. ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 2.2 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะมีความพึงพอใจต่อบริการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพฯ 20 จว. 3.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้ รพศ./รพท. สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้ 76 จังหวัด 1.2 ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด 2.3 โครงการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคฯ ใน ปชช. สัมผัสขยะ แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด 3.3 ระดับความสำเร็จของ อปท. มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ผลผลิตที่ 15 (มลพิษอากาศ) 2.4 ร้อยละเครือข่ายเป้าหมายดำเนินการเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านมลพิษทางอากาศในพื้นที่เสี่ยงตามแนวทางมาตรฐานกรม คร. 2.5 จำนวนเครือข่ายเป้าหมายได้รับการสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศ 2.6 ร้อยละเครือข่ายเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศ 2.7 ร้อยละของโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศ แล้วเสร็จตามที่กำหนด
27
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ
8 ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม การดูแลสุขภาพและป้องกันโรคและภัยสุขภาพ คือ การดำเนินงานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น 1. การจัดทำข้อมูลความเสี่ยงเกี่ยวกับมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ 2. การดำเนินงานการคัดกรองและเฝ้าระวังทางสุขภาพ 3. การตรวจวินิจฉัย การรักษา และการส่งต่อ 4. การสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5. การมีส่วนร่วมในกระบวนการบูรณาการดำเนินงานในรูปแบบต่างๆ กับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ผู้แทนภาคประชาชน ในพื้นที่
28
อปท. มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพ
9 ตัวชี้วัด : อปท. มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (อปท.ต้นแบบ 12 แห่ง /สคร.ละ 1 แห่ง) ระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม คือ การดำเนินงานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น 1. มีข้อมูลพื้นฐานความเสี่ยงเกี่ยวกับมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ สถานการณ์ปัญหามลพิษที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 2. มีการติดตามเฝ้าระวังมลพิษสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง 3. มีการจัดการ กำหนดมาตรการเพื่อแก้ไขที่แหล่งกำเนิดมลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น การออกนโยบาย ข้อกำหนดต่างๆ หรือ บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรูปแบบคณะทำงาน เพื่อแก้ไขปัญหา 4. มีการเฝ้าระวัง ติดตาม ดูแลสุขภาพประชาชน เช่น การสนับสนุน/ร่วมดำเนินการ คัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงร่วมกับหน่วยบริการสาธารณสุข การจัดสรรงบประมาณในการดูแลสุขภาพประชาชน 5. การสื่อสารความเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
29
อปท. มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพ
9 Small success รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน การถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานให้แก่ สคร. รับทราบ - สคร. เลือก อปท. ต้นแบบและส่งข้อมูลตามแบบ “อปท.1” สคร.ลงพื้นที่ทำการสนับสนุน ติดตามการดำเนินงานพัฒนาระบบการดูสุขภาพประชาชนฯ - อปท. ทำการประเมินตนเองตามแบบ “อปท.2” - สคร. ประเมินตามแนวทางที่กำหนด (4 แห่ง) สคร. ประเมินตามแนวทางที่กำหนด (12 แห่ง) - สำนักฯ รวบรวมข้อมูล สรุปและเสนอผู้บริหาร
30
กรอบงบประมาณแผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม
(ผลผลิตที่ 14)
31
แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม
ผลผลิตที่ 14 : โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผู้สัมผัสขยะ โครงการย่อยที่ การประชุมราชการเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผู้สัมผัสขยะ (275,100 บาท) โครงการย่อยที่ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผู้สัมผัสขยะ (8,806,700 บาท) กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม - การประชุมราชการฯ (183,100 บาท) 1. การประชุมพัฒนาการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อมสำหรับบุคลากร สธ. (2,254,100 บาท) 5. การประชุมพยาบาลอาชีวอนามัย ระยะสั้น 60 ชั่วโมง (400,000 บาท) ศูนย์พัฒนาวิชาการจัดบริการฯ จ.สมุทรปราการ 2. การประชุมพัฒนาทีม Auditor (463,000 บาท) 6. การประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโรคและภัยสุขภาพฯ (300,000 บาท) - การประชุมราชการฯ (18,000 บาท) 3. การประชุมพัฒนาบุคลากรฯ ขยะ (463,000 บาท) 7. การประชุมเพื่อพัฒนาเครือข่ายหลักสูตรพื้นฐาน ด้านโรค EnvOcc (300,000 บาท) กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 4. การประชุมเหมืองทองคำ (463,000 บาท) - การประชุมราชการฯ (74,000 บาท) ศูนย์พัฒนาวิชาการจัดบริการฯ จ.สมุทรปราการ กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน นางวีณา ภักดีสิริชัย 8. การประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำหรับการจัดบริการ ใน รพช.(1,200,000 บาท) 11.การประชุมเพื่อจัดทำหลักสูตรการสอบสวนโรค (160,000 บาท) 15. การประชุมเพื่อพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมเพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ(700,000 บาท) 9. การประชุมรับรองผลการประเมินมาตรฐานการจัดบริการฯ (200,000 บาท) 12.การประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนโรคฯ (600,000 บาท) 10. การประชุมเพื่อพัฒนาหน่วยบริการภาคเอกชนฯ (303,600 บาท) 13.การประชุมเพื่อถ่ายทอดแนวทางพัฒนาระบบข้อมูลฯ (450,000 บาท) นายแพทย์ปิยะ แซ่จัง 16.การประชุมเพื่อพัฒนาแพทย์ฯ (500,000 บาท) 14. การประชุมเพื่อพัฒนาระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพฯ(50,000 บาท)
32
แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม
ผลผลิตที่ 14 : โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผู้สัมผัสขยะ โครงการย่อยที่ การสนับสนุนการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผู้สัมผัสขยะ (2,708,000 บาท) โครงการย่อยที่ การติดตาม ประเมินผล และสนับสนุนการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนและผู้สัมผัสขยะและสิ่งแวดล้อม (1,495,000 บาท) กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม+ศูนย์บริการตรวจวัดสิ่งแวดล้อม - การจัดทำคู่มือ แนวทาง องค์ความรู้ฯ (400,000 บาท) 1. การติดตาม และสนับสนุนการดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม และตรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานพื้นที่ปัญหาสำคัญ (850,000 บาท) ศูนย์อ้างอิงทางห้องปฏิบัติการและพิษวิทยา ศูนย์พัฒนาวิชาการจัดบริการอาชีวอนามัย จังหวัดสมุทรปราการ - การสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทางห้องปฏิบัติการและการวิเคราะห์ตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อมและชีวภาพ (2,000,000 บาท) 2. การติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยของหน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐและเอกชน (300,000 บาท) ศูนย์พัฒนาวิชาการจัดบริการฯ จ.สมุทรปราการ กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - การสนับสนุนและเสริมสร้างการดำเนินงานพัฒนามาตรฐานการจัดบริการ ฯ (218,000 บาท) 3. การติดตาม สอบสวนโรค สนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (300,000 บาท) กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 4. การติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาและบริหารจัดการระบบข้อมูลเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (45,000 บาท) - การจ้างดูแลความปลอดภัยระบบการรายงานโรคฯ(TOR) (90,000 บาท)
33
กรอบงบประมาณแผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม
(ผลผลิตที่ 15)
34
แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม
ผลผลิตที่ 15 : โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ โครงการย่อยที่ การประชุมราชการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (65,000 บาท) โครงการย่อยที่ การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (1,905,000 บาท) โครงการย่อยที่ การสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (30,000 บาท) โครงการย่อยที่ การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศต่อการได้รับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็กในพื้นที่หน้าพระลานและบริเวณใกล้เคียง จังหวัดสระบุรี (500,000 บาท) ศูนย์วิชาการฯ จ.ระยอง กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ศูนย์วิชาการฯ จ.ระยอง 1. การประชุมคณะทำงานเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศในจังหวัดระยอง และพื้นที่ใกล้เคียง (25,000 บาท) 1.การประชุมเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศในพื้นที่ภาคเหนือและภาคใต้ (1,200,000 บาท) 1. การสำรวจพื้นที่เพื่อการเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษทางอากาศ จ.ระยอง และพื้นที่ใกล้เคียง (30,000 บาท) กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 1. การประชุมราชการฯ (36,300 บ.) 2.การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดรูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงฯ จังหวัดสระบุรี (93,900 บาท) 2. การประชุมเพื่อเฝ้าระวังตรวจคัดกรองสุขภาพและการสื่อสารความเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศในพื้นที่ มาบตาพุด (40,000 บาท) ศูนย์วิชาการฯ จ.ระยอง 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจากมลพิษอากาศในจังหวัดระยอง และพื้นที่ใกล้เคียง (705,000 บาท) 3. การสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ จากมลพิษอากาศ (356,000 บาท) 4. การติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯจากมลพิษทางอากาศ (13,800 บ.)
35
การบริหารจัดการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ร่วมกับ สคร. * โครงการ/กิจกรรม พื้นที ผู้รับผิดชอบหลัก โครงการประชุมพัฒนาการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม สำหรับบุคลากรสาธารณสุข และ อปท. สคร. 4, 5 และ 6 สคร.6 โครงการประชุมพัฒนาการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม สำหรับบุคลากรสาธารณสุข และ อปท. สคร.7, 8, 9 และ 10 สคร.9 โครงการประชุมพัฒนาการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม สำหรับบุคลากรสาธารณสุข และ อปท. (จัด อปท. ในเฉพาะพื้นที่ สคร.12) สคร.11 และ 12 สคร.12 โครงการประชุมพัฒนาการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม สำหรับเจ้าหน้าที่ อปท.(เฉพาะ สคร.11) สคร.11
36
การบริหารจัดการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ร่วมกับ สคร. * โครงการ/กิจกรรม พื้นที ผู้รับผิดชอบหลัก การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศต่อการได้รับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็กในพื้นที่หน้าพระลานและบริเวณใกล้เคียง จังหวัดสระบุรี ฝุ่นหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี สคร.4 การเตรียมความพร้อม พฤติกรรมสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลตนเองของประชาชน เจ้าหน้าที่หน่วยดับไฟป่า หน่วยบริการสาธารณสุข และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันและลดผลกระทบทางสุขภาพจากปัญหาหมอกควันในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ สคร.1 การเฝ้าระวังทางสุขภาพจากปัญหามลพิษทางอากาศในพื้นที่ภาคใต้ สคร. 12 สคร.12
37
งบประมาณที่ สบรส. จัดสรรให้จังหวัด(สถานบริการสุขภาพ) ดำเนินงานขยะ
(34 ล้านบาท) 12 จังหวัด 64 จังหวัด สคร. จังหวัด สคร.1 เชียงราย สคร.2 พิษณุโลก สคร.3 นครสวรรค์ สคร.4 นนทบุรี สคร.5 สมุทรสาคร สคร.6 ระยอง สคร.7 กาฬสินธุ์ สคร.8 สกลนคร สคร.9 บุรีรัมย์ สคร.10 อุบลราชธานี สคร.11 พังงา สคร.12 สตูล ได้รับจัดสรรงบประมาณ จังหวัดละ 600,000 บาท ใช้การจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนย์รวม จัดสรรให้สถานบริการสุขภาพ เมื่องบประมาณคงเหลือจึงนำไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ได้รับจัดสรรงบประมาณ จังหวัดละ 250,000 บาท ใช้ในโครงการขยะ จัดสรรให้สถานบริการสุขภาพ เมื่องบประมาณคงเหลือจึงนำไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ
38
Thank you.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.