ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ประชุม คปสจ.ประจำเดือน สิงหาคม ๒๕๕๙
“CD HEART ควบคุมโรคฉับไว ภายใต้หัวใจเดียวกัน” H- Healthy E - Excellent A- Accurate R- Rapid T- Teamwork
2
การบาดเจ็บทางถนน Road Traffic Injury
3
การบาดเจ็บทางถนนจังหวัดสระแก้ว
ปีงบประมาณ 2559 (ต.ค. 58–ก.ค.59) อัตราตายฯ ต่อแสน ปชก. (206 ราย) เฉพาะคนสระแก้วตาย ต่อแสน ปชก. (155 ราย) อัตราการตายฯ สูงกว่าเป้าหมาย (16 ต่อแสน ปชก.) ประเทศไทยปี 2558 อัตราตาย ต่อแสน (12,767 ราย) เขตสุขภาพที่ 6 ปี อัตราตาย ต่อแสน (1,655 ราย) ที่มา; สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข การตายจาก RTI สระแก้ว ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม 2558 17 14 20 23 16 8 13 12 18 186 2559 15 25 28 29 21 19 18 20 206 การเปรียบเทียบ -2 -6 +6 +11 +14 +9 +3 +10 +7 +20
4
การวิเคราะห์ผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนสระแก้ว
ประจำเดือน กรกฎาคม 2559 -ตายทั้งหมด 20 ราย เพศชาย 80.0% (16 ราย) -กลุ่มอายุ 61 ปีขึ้นไป 30.0% (6 ราย) -เวลาเกิดเหตุช่วง น. 26.3% (5 ราย) -พื้นที่วังน้ำเย็น 25.0% (5 ราย) รองลงมาคือเมืองสระแก้ว วัฒนานคร และ อรัญฯ เท่ากัน 15.0% (3 ราย) โดยเป็นคนนอกจังหวัด ร้อยละ 5.0 (1 ราย) -จักรยานยนต์ 60.0% (12 คัน) คู่กรณีเป็นรถกระบะ 1 ตัน และรถบรรทุก เท่ากัน 20.0% (4 คัน) ตายที่จุดเกิดเหตุ 65.0% (13 ราย) -ไม่สวมหมวกนิรภัย 58.33% (7 ราย) และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์20.0% (4 ราย)
5
ผลสะท้อนการเสนอจุดเสี่ยงกรมการจังหวัดสระแก้ว
คณะกรรมการความปลอดภัยทางถนน ประชุมพิจารณาแก้ไขจุดเสี่ยงฯของจังหวัด สสจ.สระแก้ววิเคราะห์จุดเสี่ยง 9 จุด/ไตรมาส ทางกายภาพ กรมทาง ดำเนินการ/แผนดำเนินการทุกแห่ง อำเภอ จุดเสี่ยงบูรณาการ 14 จุด เมืองสระแก้ว สี่แยกสาลาลำดวน 33 /สี่แยกสระขวัญ 317 คลองหาด โค้งเขาจันแดง 3395/โค้งบ้านหินกอง 4024 ตาพระยา สามแยกบายพาส 348/บ้านโคกกราด 3486 วังน้ำเย็น สามแยกหนองปรือ ตาหลังใน/สี่แยกคลองใหญ่ 3486 วัฒนานคร เลยหน้า รพ.วัฒนานคร(ต้นยางใหญ่) 3395 อรัญประเทศ หน้าโรงแรมอินโดจีน เขาฉกรรจ์ ทางหลวงบ้านวังรี 317 โคกสูง สี่แยกหนองแวง /ก่อนถึงจุดตรวจหนองแอก 200 ม. วังสมบูรณ์ ตลาดวังสมบูรณ์ -เน้นให้อำเภอ/ตำรวจ/อปท./สาธารณสุขบูรณาการดำเนินการบังคับกฎหมาย/ปรับเปลี่ยน เชิงพฤติกรรม - หน่วยงานของรัฐเข้มงวดสวมหมวกนิรภัย
6
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (1)
พื้นที่ระบาด ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน ได้แก่ บราซิล โคลอมเบีย เอลซัลวาดอร์ เฟรนช์เกียนา กัวเตมาลา เฮติฮอนดูรัส มาร์ตีนิก เม็กซิโก ปานามา ปารากวัย ซูรินาเม เวเนซุเอลา และ เครือรัฐเปอร์โตริโก เชื้อไวรัสซิกา อยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จําพวกเดียวกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี มียุงลายเป็นแมลงนําโรค ระยะฟักตัวเฉลี่ย 4-7 วัน สั้นสุด 3 วัน และยาวสุด 12 วัน อาการ ไข้ออกผื่น ตาแดง ปวดข้อ ข้อบวม ปวดหลัง ยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์ซึ่งอาจทําให้เด็กทารกที่คลอดมา มีสมองเล็ก (microcephaly) หรือมีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
7
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (2)
กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่เดินทางไปในพื้นที่ที่มีการระบาดอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ อาจติดเชื้อแล้วทําให้ทารกมีศีรษะเล็ก และสมองฝ่อได้ ไทย พบผู้ป่วยยืนยันตั้งแต่ปี 2555 โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 5 ราย ซึ่งประเทศไทยมีระบบเฝ้าระวัง โรคนี้แล้ว ตั้งแต่ปี 2556 กรณี ผู้เดินทางกลับจากประเทศเสี่ยง รวมทั้งหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในไทย มีอาการไข้ออกผื่น ตาแดง หรือปวดข้อ ***เข้ารับการรักษาและปรึกษาได้ที่ คลินิกเวชศาสตร์ การท่องเที่ยว และ การเดินทาง สถาบันบําราศนราดูร และ รพ.เวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ***ในพื้นที่ต่างจังหวัด รับการรักษาได้ที่โรงพยาบาลของรัฐทุกแห่ง
8
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (3)
การตรวจวินิจฉัยโรคยืนยัน โดยการตรวจเลือดผู้ป่วยในระยะเฉียบพลัน - เพื่อตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสซิกา ****ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันเฉพาะ การรักษาตามอาการเพื่อบรรเทา การเจ็บป่วย การป้องกัน ดำเนินการเหมือนไข้เลือดออก หากมีอาการสงสัยให้รีบไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษาโดยเร็ว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่สายด่วน กรมควบคุมโรค 1422
10
ตารางแสดง ตำบลเกิดโรคไข้เลือดออกสูงสุด
(24กรกฎาคม-26สิงหาคม2559) อันดับ ตำบล อำเภอ จำนวน(ราย) หมู่บ้านที่เสี่ยง 1 หนองหว้า เขาฉกรรจ์ 5 ม.5 บ้านหนองหว้า 2 ราย , ม.9 บ้านทรัพย์สมบูรณ์ 1 ราย, ม.24ลานไผ่ 2 ราย 2 เขาสามสิบ ม.13 บ้านจัดสรร 1 ราย หมายเหตุ : พื้นที่เสี่ยง คือ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยย้อนหลัง 4 สัปดาห์ ข้อมูลจาก รง.506 ณ วันที่ 26 ส.ค.59
11
ร้อยละของเด็กอายุครบ1ปีที่ได้รับวัคซีนMMR1 จ.สระแก้ว ปี 2559
ลำดั บ อำเภอ รวมทั้ง ปีงบประมาณ เป้าหมาย ผลงาน MMR (%) 1 คลองหาด 349 318 91.12 2 ตาพระยา 487 434 89.12 3 โคกสูง 223 203 91.03 4 วัฒนานคร 617 541 87.68 5 อรัญประเทศ 591 521 88.16 6 เมืองสระแก้ว 880 784 89.09 7 วังสมบูรณ์ 287 227 79.09 8 เขาฉกรรจ์ 431 354 82.13 9 วังน้ำเย็น 503 395 78.53 รวม 4,368 3,777 86.22 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 95 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 30 ส.ค.59
12
ร้อยละของเด็กอายุครบ1ปีที่ได้รับวัคซีนMMR 2 จ.สระแก้ว ปี 2559
ลำดั บ อำเภอ รวมทั้ง ปีงบประมาณ เป้าหมาย ผลงาน MMR (%) 1 ตาพระยา 595 415 69.75 2 โคกสูง 260 190 73.08 3 เขาฉกรรจ์ 639 447 69.95 4 คลองหาด 443 274 61.85 5 อรัญประเทศ 765 491 64.18 6 เมืองสระแก้ว 1,048 649 61.93 7 วังน้ำเย็น 601 360 59.9 8 วัฒนานคร 777 429 55.21 9 วังสมบูรณ์ 359 206 57.38 รวม 5,487 3,461 63.69 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 95 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 30 ส.ค.59
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.