ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยFelix Hofmeister ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
2
ประเด็นการตรวจราชการ
1. กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมโรค 2. ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพตามกลุ่มวัย 5 กลุ่ม
3
ประเด็น1 : กระบวนการบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมโรค
กรอบแนวทาง ผลการนิเทศ ๑. การวิเคราะห์สภาพปัญหาสุขภาพ มีระบบข้อมูลเชื่อมโยงทุกระดับ มีการวิเคราะห์จัดลำดับปัญหาสุขภาพ ๒. การจัดทำแผนสุขภาพระดับ จังหวัด และ อำเภอ และการบริหารงบประมาณงาน PP มีแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณจากทุกแหล่งงบประมาณ ๓. การบริหารจัดการระบบข้อมูล มีการจัดระบบข้อมูล เพื่อการกำกับติดตามในระดับจังหวัด มีการจัดระบบข้อมูลเพื่อการกำกับติดตามในระดับอำเภอ ๔. การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ มีการประชุมชี้แจงแผนงาน PP และตรวจสอบแผนปฏิบัติการระดับอำเภอให้สอดคล้องกับแผนระดับจังหวัดและเขต ๕. การกำกับติดตามประเมินผล มีแผนการตรวจติดตาม และประเมินผลระดับจังหวัด อำเภอ
4
ผู้สูงอายุและผู้พิการ
สตรีและเด็ก 0-5 ขวบ - มารดาตาย<15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน - พัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า 85% ผู้สูงอายุและผู้พิการ การพัฒนา สุขภาพ ตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี ตายจากโรคหลอดเลือด สมอง <12 ต่อแสน ปชก. ผู้พิการ (ขาขาด) ได้รับ บริการ 80% - ภาวะอ้วน ไม่เกิน 15% - IQ ไม่น้อยกว่า 100 วัยทำงาน ปี เด็กวัยรุ่น ปี ตายจากอุบัติเหตุ <20ต่อแสน ปชก. - ตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ <23 ต่อแสน ปชก. - อัตราคลอดมารดาอายุ 15-19ปี ไม่เกิน 50 ต่อพันคน ความชุกผู้ดื่มแอลกอฮอล์ ไม่เกิน 13 %
5
อัตราการเสียชีวิตของมารดา ไม่เกิน 15 ต่อพันเกิดมีชีพ
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย(0-5 ปี) อัตราการเสียชีวิตของมารดา ไม่เกิน 15 ต่อพันเกิดมีชีพ แนวทางการดำเนินงานของจังหวัด ประชาสัมพันธ์/ค้นหาหญิงตั้งครรภ์ เข้ารับบริการ ขับเคลื่อนการพัฒนาตำบลนมแม่ ปรับปรุงมาตรฐาน และ คุณภาพบริการ 3. MCH Board ทำงานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญสูติกรรม
6
มารดาเสียชีวิต 2 ราย ในระหว่างการคลอด
ผลการส่งเสริมสุขภาพมารดา อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรก≤ 12 สัปดาห์ อัตราฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งคุณภาพ โรงพยาบาลผ่านการรับรองมาตรฐานสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับทอง ร้อยละ 100 มารดาเสียชีวิต 2 ราย ในระหว่างการคลอด อัตราส่วนมารดาตาย 88.7 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
7
เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.7
เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.7 TSH>11.25 mU/L ทารกแรกเกิด ปี 2552 2553 2554 2555 2556 2557 ระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์<150µg/L ปี 2552 2553 2554 2555 2556
8
ภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์
ปี ข้อเสนอแนะ ขับเคลื่อนชุมชนไอโอดีนร่วมกับมาตรการให้ยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการโดยครอบครัว
9
เด็กวัยเรียน 5-14 ปี ไม่เป็นโรคอ้วน
แนวทางการดำเนินงานของจังหวัด ประสานเขตพื้นที่การศึกษา/พัฒนาศักยภาพบุคลากร จัดรณรงค์/ประเมินรับรองมาตรฐานโรงเรียน ขับเคลื่อน THAI SCHOOL LUNCH รายการ ปีการศึกษา 2556 ปีการศึกษา 2557 เด็กเตี้ย / ค่อนข้างเตี้ย 13.97 12.93 เด็กผอม / ค่อนข้างผอม 8.36 10.94 เด็กอ้วน - เริ่มอ้วน 5.56 6.73
10
แนวทางการดำเนินงานของจังหวัด
เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญา(IQ&EQ) ไม่น้อยกว่า 100 (ปี 2559) แนวทางการดำเนินงานของจังหวัด การอบรมแกนนำ/ การเฝ้าระวังปัญหาไอคิว ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ และการดูแลช่วยเหลือ ข้อเสนอของจังหวัด ขอให้เขตพัฒนาทักษะ การประเมินIQ ให้จนท.สาธารณสุขและครู
11
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จ.อำนาจเจริญ
อัตราการคลอด ปี/พันคน ร้อยละของแม่วัยรุ่นอายุ < 20ปี จุดเด่น : ขับเคลื่อนอำเภออนามัยเจริญพันธุ์/คลินิกวัยรุ่น : การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : การขับเคลื่อนโครงการ To be No.1ทุกพื้นที่
12
- จุดเด่นมีมาตรการลดนักดื่มหน้าใหม่ บูรณาการกับ To Be No 1
ตัวชี้วัด : ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ ปี ลดลง ร้อยละ 2 ของปี 2554 เป้าหมายปี จังหวัดอำนาจเจริญ ไม่เกินร้อยละ 17 ร้อยละ เป้าหมายประเทศร้อยละ 13 ปี 2557 รอผลสำรวจ จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2554 - จุดเด่นมีมาตรการลดนักดื่มหน้าใหม่ บูรณาการกับ To Be No 1 มาตรการงานศพปลอดเหล้า นำร่องที่ อ.พนา การบังคับใช้กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มฯระดับชุมชนยังไม่สามารถ ปฏิบัติได้
13
ตัวชี้วัด : อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน
ร้อยละ 2554 ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2557 อัตราเสียชีวิต เท่ากับ 9.10 /แสนปชก. (รอบ ต.ค.56-มิ.ย.57) -ดำเนินตามนโยบาย ศปถ./5E/ซ้อมแผน เตรียมความพร้อมรับอุบัติเหตุ -ส่วนใหญ่เน้นการบังคับใช้กฎหมายเป็นหลัก แต่การดำเนินการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนกลุ่มเสี่ยง (เมาแล้วขับ) ยังไม่ครอบคลุม
14
อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 23 ต่อแสนประชากร
ผลลัพธ์การดำเนินงาน ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน (ต.ค. 56 – มี.ค 57) เป้าหมาย ผลงาน อัตรา อัตราตายจาก โรคหลอดเลือดหัวใจ 374,698 49 13.07
15
แนวทางการดำเนินงาน โอกาสในการพัฒนา
มีการตั้งเป้าหมายในการคัดกรองสุขภาพให้แล้วเสร็จภายในไตรมาส 1-2 และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย มี ระบบคลังข้อมูลกลาง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ โอกาสในการพัฒนา ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควรมีการติดตามประเมินผล เพื่อให้ทราบว่า แนวทางที่นำไปใช้สามารถ ลดผู้ป่วยรายใหม่ได้หรือไม่
16
กลุ่มผู้สูงอายุ/ผู้พิการ
สัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น เป็น 13 % อัตราเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองของผู้สูงอายุ เป้าหมายไม่เกิน 190 ต่อแสนปชก.ในปี 2557 รายการ 2554 2555 2556 2557 จำนวนผู้ป่วยตายจากโรค หลอดเลือดสมองทั้งหมด 111 121 125 35 จำนวนผู้ป่วยตายโรคหลอด เลือดสมอง 60 ปีขึ้นไป 80 76 82 24 ร้อยละผู้ป่วยตายโรคหลอด 72.1 62.8 65.6 68.6 16
17
แนวทางการดำเนินงานของจังหวัด
1. ค้นหากลุ่มเสี่ยง/สื่อสารความเสี่ยงแก่ปชช ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ทุกอำเภอเพื่อหารูปแบบการดูแลที่เหมาะสม ทบทวนแนวทางการดูแลรักษาและระบบส่งต่อ พัฒนา Stroke fast track ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน อัตราการตายจากโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ ปี 56 ปี 57 (ม.ค.-มิ.ย.) 175.90 ต่อแสนปชก. (82 ราย) 51.48 (24 ราย)
18
การดูแลผู้พิการขาขาด
ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว (ขาขาด) 168 คน ได้รับการช่วยเหลือ 145 คน คิดเป็นร้อยละ 86.31 จุดแข็ง มีระบบสนับสนุนจากองค์กรเครือข่ายที่ดี เช่น องค์กร คนพิการในจังหวัด ศูนย์สิรินธรฯ และอปท.
19
THANK YOU
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.