ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Excellence ที่ 1 Prevention & Promotion Excellence
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ แผนงาน ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ)(4 โครงการ 12 ตัวชี้วัด )
2
กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี
3
9.44% (>20%) 56.29 % (100%) 43.71 % 90.41%(80%) 74.71% (90%) 95.65%
74.71% (90%) 56.29 % (100%) 95.65% 4.35% 43.71 %
4
KPI 3 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
คำนิยาม เด็กมีพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ผ่าน 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า และได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำแล้วผลการประเมิน ผ่านครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน เกณฑ์เป้าหมาย เด็กอายุ 0-5 ปี (9,18,30,42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้จากการสำรวจและมีเด็กอยู่จริง) มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สูตรคำนวณตัวชี้วัด จำนวนเด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกผ่านครบ 5 ด้าน รวมกับจำนวนเด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าครั้งแรกได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการภายใน 30 วันและผลการตรวจคัดกรองซ้ำผ่านครบ 5 ด้าน หารด้วย จำนวนเด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการจริง ในเวลาที่กำหนด คูณด้วย 100 ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85
5
PI 2 ประเมินพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 9.44 ไม่ผ่านเทุกอำเภอ ยกเว้น
ที่ รายการข้อมูล จำนวน อ.เมือง อ.ไทรงาม อ.คลองลาน อ.ขาณุวรลักษบุรี อ.คลอง ขลุง อ.พรานกระต่าย อ.ลานกระบือ อ.ทรายทองฯ อ.ปางศิลาทอง อ.บึงสามัคคี อ.โกสัมพีนคร จังหวัด 1 เด็กอายุ 0-5ปีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 เป้าหมาย 4,518 1,151 1,318 2,408 1,545 1,636 919 534 633 471 858 15,991 ผลงาน 4,283 1,096 1,158 2,361 1,505 1,582 906 518 597 446 843 15,295 ร้อยละ 94.80 95.22 87.86 98.05 97.41 96.70 98.59 97.00 94.31 94.69 98.25 95.65 1.1 เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 6,098 1,568 2,037 2,845 1,906 2,253 1,221 671 950 777 1,081 21,405 74.11 73.41 64.70 84.64 81.06 72.61 75.27 79.58 66.63 60.62 79.37 74.71 1.2 เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ สงสัยล่าช้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 331 115 271 160 133 150 42 58 79 40 131 1,510 7.33 9.99 20.56 6.64 8.61 9.17 4.57 10.86 12.48 8.49 15.27 9.44 1.3 เด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 101 62 116 121 97 30 43 46 16 117 850 30.51 53.91 42.80 75.63 75.94 64.67 71.43 74.14 58.23 40.00 89.31 56.29 PI 1 ประเมินได้ร้อยละ ไม่ผ่านเป้าหมาย ทุกอำเภอไม่ผ่าน อำเภอที่ใกล้เคียงเป้าหมาย ได้แก่อำเภอขาณุฯ และอำเภอคลองขลุง ปัญหาการลงบันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อง คีย์ข้อมูลแล้วไม่เข้าระบบ /จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายไม่เท่ากับจำนวนในพื้นที่/ คีย์ติดตามไม่ตรงเวลาภายใน 30 วัน ความเข้าใจคลาดเคลื่อนของพื้นที่ผู้ปฏิบัติ บางพื้นที่ไม่ลงข้อมูล PI 2 ประเมินพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ ไม่ผ่านเทุกอำเภอ ยกเว้น อ.คลองลาน ร้อยละ แนวทางแก้ไข จัดบริการและระบบเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก WCC คุณภาพ จัดเครือข่ายการส่งต่อแก้ไขพัฒนาการ จัดบริการเชิงรุกสู่ชุมชน โรงเรียนพ่อ แม่ ในศูนย์เด็กเล็ก PI 3 เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นติดตามประเมินซ้ำ ร้อยละ ไม่ผ่านเป้าหมาย อำเภอที่มีการติดตามมากที่สุด คือ อ.โกสัมพีนคร ร้อยละ 89.31
6
สถานการณ์เด็กอายุ 0-5 ปี ( 9,18,30,42 เดือน)
มีพัฒนาการสมวัย (ร้อยละ 80) จังหวัดกำแพงเพชร เปรียบเทียบข้อมูลผลการรณรงค์พัฒนาการเด็กปฐมวัยช่วงเดือนกรกฎาคม กับผลงานทั้งปีงบประมาณ จังหวัดกำแพงเพชร ตั้งแต่ปีงบประมาณ พัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น ร้อยละ เป็น ร้อยละ แต่ต่ำกว่าเป้าหมายที่ร้อยละ 85 แสดงให้เห็นได้มีการประเมินพัฒนาการเด็กมีประสิทธิภาพมากขึ้น ที่มา ข้อมูล HDC (ปี 2560 : ตุลาคม กันยายน 2560
7
เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการ ร้อยละ 90
เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 จังหวัดกำแพงเพชร ร้อยละ 74.71
8
จังหวัดกำแพงเพชร (พัฒนาการสมวัยครั้งแรก/หลังกระตุ้น 1 เดือน
เด็กอายุ 0-5 ปี (9,18,30,42 เดือน) มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2560 ประเทศ 83.55 /95.38 เขตสุขภาพที่ 3 88.59 / 95.34 จังหวัดกำแพงเพชร (พัฒนาการสมวัยครั้งแรก/หลังกระตุ้น 1 เดือน 90.40 / 95.65 พัฒนาการสมวัยครั้งแรก หลังกระตุ้น 1 เดือน HDC : 4 ตุลาคม 2560
9
เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน สงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการซ้ำ
เป้าหมาย สงสัย ล่าช้า ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 20 และได้รับการ กระตุ้นติดตาม ประเมินซ้ำ ร้อยละ 100
10
KPI ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
คำนิยาม สูงดีสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไปและมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน) ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี หมายถึง ค่าเฉลี่ยของส่วนสูงในเด็กชาย และเด็กหญิงที่อายุ 5 ปีเต็ม ถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน 1,000 วันแรกของชีวิต หมายถึง ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงอายุ 2 ปี มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต หมายถึง การส่งเสริมโภชนาการ (อาหารหญิงตั้งครรภ์ อาหารหญิงให้นมบุตร นมแม่ และอาหารเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี รวมทั้งการเสริมสารอาหารที่สาคัญในรูปของยา ได้แก่ ธาตุเหล็ก ไอโอดีน และกรดโฟลิกสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่ให้นมแม่ 6 เดือน ยาน้ำเสริมธาตุเหล็กสาหรับเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี) ร่วมกับการ บูรณาการงานสุขภาพอื่น ๆ เช่น พัฒนาการเด็ก สุขภาพช่องปาก กิจกรรมทางกาย การนอน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ อนามัยสิ่งแวดล้อม
11
KPI 4 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและ
ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี สูงดี หมายถึง เด็กที่มีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป (สูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง หรือสูง) เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโตความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ กรมอนามัย ชุดใหม่ ปี พ.ศ (WHO) โดยมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ -1.5 SDของความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ สมส่วน หมายถึง เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโตน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง กรมอนามัย ชุดใหม่ ปี พ.ศ (ขององค์การอนามัยโลก) โดยมีค่าอยู่ในช่วง +1.5 SD ถึง -1.5 SD ของน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง สูงดีสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไปและมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน) ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี หมายถึง ค่าเฉลี่ยของส่วนสูงในเด็กชาย และเด็กหญิงที่อายุ 5 ปีเต็ม ถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน คำนิยาม ตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย หมายถึง ตำบลที่มีการดำเนินงาน ดังนี้ 1) ประเมินตนเองตามแบบประเมินตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมสำคัญด้านโภชนาการ ทันตสุขภาพ กิจกรรมทางกาย การนอน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ ใน 5 setting ได้แก่ สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ชุมชน อปท. ศูนย์เด็กเล็ก และครอบครัว เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย 2) จัดทำแผนพัฒนา/ปรับปรุงการดาเนินงานโภชนาการ ทันตสุขภาพ กิจกรรม ทางกาย การนอน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ 3) มีการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ รายละเอียดในหนังสือแนวทางการดำเนินงานตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 1. ร้อยละเด็กสูงดีสมส่วน 54 57 60 63 2. ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี - เด็กชาย (เซนติเมตร) - เด็กหญิง (เซนติเมตร) - 113 112
12
kPI เด็กอายุ 0-5 ปีมีรูปร่างดีและสมส่วน ร้อยละ 50.25
ที่ รายการข้อมูล จำนวน อ.เมือง อ.ไทรงาม อ.คลองลาน อ.ขาณุวรลักษบุรี อ.คลอง ขลุง อ.พรานกระต่าย อ.ลานกระบือ อ.ทรายทองฯ อ.ปางศิลาทอง อ.บึงสามัคคี อ.โกสัมพีนคร จังหวัด 1 จำนวนเด็กอายุ 0-5 ปีมีรูปร่างดีและสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 เป้าหมาย 30,323 6,576 9,494 16,821 8,485 11,609 6,430 3,965 3,648 1,949 5,278 104,578 ผลงาน 15,248 2,991 4,567 8,595 4,099 6,075 3,472 2,204 1,750 1,172 2,381 52,554 ร้อยละ 50.29 45.48 48.10 51.10 48.31 52.33 54.00 55.59 47.97 60.13 45.11 50.25 1.1ความครอบคลุมเด็กที่ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดความยาว /ส่วนสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 9,427 2,514 3,465 4,383 3,055 3,459 1,847 1,057 1,560 1,215 1,659 33,641 5,951 1,536 1,881 3,175 2,016 2,342 1,576 735 851 463 1,148 21,674 63.13 61.09 54.29 72.44 65.99 67.70 85.33 69.54 54.55 38.11 69.19 64.43 1.2 เด็กปฐมวัยมีภาวะเตี้ย ไม่เกินร้อยละ 10 30,448 9,498 16,864 8,487 11,622 6,454 3,966 1,984 5,280 104,827 1,420 767 981 1,015 486 868 229 203 273 73 505 6,820 4.66 11.66 10.33 6.02 5.73 7.47 3.55 5.12 7.48 3.68 9.56 6.51 1.3 เด็กปฐมวัยมีภาวะผอมไม่เกินร้อยละ 5 352 623 764 661 513 169 253 219 54 368 4,957 3.22 5.35 6.56 4.53 7.79 4.41 2.62 6.38 6.00 2.72 6.97 4.73 1.4 เด็กปฐมวัยมีภาวะอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 677 329 263 495 312 266 179 93 101 29 195 2,939 2.22 5.00 2.77 2.94 2.29 2.34 1.46 3.69 2.80 ปี61 เป้า 54%h kPI เด็กอายุ 0-5 ปีมีรูปร่างดีและสมส่วน ร้อยละ 50.25 ผ่านเป้าหมาย 5 อำเภอ สูงสุด อ.ลานกระบือ ร้อยละ 60.13 PI 1 ความครอบคลุมเด็กที่ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดความยาว/ส่วนสูง ปี 61 ได้ร้อยละ ไม่ผ่านเป้าหมาย ทุกอำเภอไม่ผ่านเป้าหมาย ยกเว้นอำเภอลานกระบือที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายมากที่สุด ร้อยละ 85.33 PI เด็กอายุ 0-5 ปีมีภาวะเตี้ย ภาวะผอม และภาวะอ้วน ภาวะเตี้ย เด็กปฐมวัยอ.คลองลานและอ.ไทรงาม มากกว่า ร้อยละ 10 ภาวะผอม เด็กปฐมวัย 6 อำเภอ ผอมเกินร้อยละ 5 ภาวะอ้วน ผ่านเป้าหมายทุกอำเภอ
13
คัดกรองต่ำ กระตุ้นติดตาม ไม่ครบ
ตัวอย่างผลการดำเนินการคัดกรองพัฒนาการเด็กตามกลุ่มอายุ specialpp จังหวัดกำแพงเพชร ปีงบประมาณ 2560 HDC 16/ 11/ 2560 เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน รพ.สต…(1)อ.เมือง รพ.สต(2)อ.เมือง รพ.สต(3)อ.ไทรงาม จำนวน ร้อยละ เป้าหมาย 54 70 119 ได้ประเมินพัฒนาการ 47 87.04 60 85.71 69 57.98 พัฒนาการสมวัยครั้งแรก 45 95.74 57 95 56 81.16 สงสัยล่าช้า 2 4.3 3 5 13 18.84 ได้กระตุ้นติดตามประเมินพัฒนาการซ้ำ 100 1 33.33 9 69.23 รวมสมวัยครั้งที่ 2 ได้ 58 96.67 65 94.20 คัดกรองต่ำ กระตุ้นติดตาม ไม่ครบ ขาดการติดตามอย่างต่อเนื่อง เด็กย้ายที่อยู่ติดตามพ่อแม่ไปต่างจังหวัด การลงข้อมูลไม่ทันเวลา ในระบบที่กำหนดในระบบ เด็กได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง โดย อสม.การลงข้อมูลทันเวลาตามเวลาที่กำหนดในระบบ
14
มาตรการกลุ่มเด็ก 0-5 ปี ปี 2561
ใช้กลไกในพื้นที่ - คณะอนุกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด - คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) - MCh Board ผ่าน Child Project Manager สร้างการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน ประสานแหล่งเงินทุนภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อใช้ในการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เช่น สปสช. สสส. เป็นต้น ระบบและกลไกการบริหารจัดการและการขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต และตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย การสื่อสารสาธารณสุข ความรอบรู้สุขภาพ (Health LITERACY)
15
ข้อสั่งการ กลุ่มเด็ก 0-5 ปี ปี 2561
ดำเนินการให้แยกวันตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก 4 ช่วงวัย (9,18,30,42 เดือน) กับวันนัดฉีดวัคซีน 2. ดำเนินการตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก 4 ช่วงวัย (9,18,30,42 เดือน) 2 ครั้ง ต่อ 1 เดือน (รพ.สต.)
16
นโยบายจังหวัดกำแพงเพชร การสร้างคนดี รักษาศิล 5 และสวดมนต์
KPI 82 ความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ(20-40 ppm) ในระดับครัวเรือน อย่างน้อยร้อยละ 90 คำนิยาม เกลือบริโภคของทั้งคนและสัตว์ต้องเสริมไอโอดีน ในปริมาณ มิลลิกรัมต่อเกลือ 1 กิโลกรัม (20-40 ppm) นอกจากนี้ มีประกาศกระทรวงสาธารณสุขอีก 3 ฉบับให้น้ำปลา น้ำเกลือปรุงอาหาร และผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนถั่วเหลือง(ซอส ซิอิ้ว) ต้องเสริมไอโอดีน 2-3 มิลลิกรัมต่อผลิตภัณฑ์ 1 ลิตร เกณฑ์เป้าหมาย ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบที่ได้จากการสำรวจและมีอยู่จริง มีเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ(20-40 ppm) บริโภคไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 วิธีการประเมินผล แบบรายงานการสุ่มตรวจคุณภาพเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน โดยใช้ I-Kit : ทำการสุ่มสำรวจ โดยใช้ I-Kit ทุกอำเภอๆละ 300 ครัวเรือน โดย สถานบริการสาธารณสุข ส่งผลให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อรายงานกรมอนามัย(สำนักโภชนาการ) สรุปเป็นภาพรวมรายพื้นที่ นโยบายจังหวัดกำแพงเพชร การสร้างคนดี รักษาศิล 5 และสวดมนต์
17
PI ทารกแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไปมีค่าTSH มากกว่า 11.2 มิลลิยูนิต
ต่อลิตร ต่ำกว่าร้อยละ 3 คำนิยาม การตรวจวัดระดับ (TSH) ของทารกแรกเกิด เพื่อค้นหา ภาวะพร่องธัยรอยด์แต่กำเนิด (TSH :Thyroid Stimulating Hormone) และ Phenylketonuria เกณฑ์เป้าหมาย (เกณฑ์ WHO) ร้อยละ 90 เด็กแรกเกิดอายุ 2-7 วันทุกคนได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพ ร้อยละ 80 ของเด็กแรกเกิดที่เจาะเลือดตรวจ TSH พบว่าผิดปกติ (TSH > 25 มิลลิยูนิตต่อลิตร) ได้รับการตรวจยืนยันภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน เด็กแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไปได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจ TSH และมีค่าผิดปกติ (> 11.2 มิลลิยูนิตต่อลิตร น้อยกว่าร้อยละ 3 วิธีการประเมินผล วิธีการตรวจวัดระดับ TSH ทำได้โดยเก็บตัวอย่างเลือดจากส้นเท้าทารกแรกคลอดอายุตั้งแต่ 48 ชั่วโมงขึ้นไป เพียง 2-3 หยด แล้วหยดลงบนกระดาษซับเลือด นำไปตรวจวินิจฉัยในห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
18
PI สัดส่วนของหญิงตั้งครรภ์ที่ขาดสารไอโอดีน(ระดับไอโอดีนในปัสสาวะ น้อยกว่า 150 ไมโครกรัม)น้อยกว่าร้อยละ 50 เกินกว่าร้อยละ 50 เป็นพื้นที่ขาดไอโอดีน การได้รับสารไอโอดีนไม่เพียงพอในหญิงมีครรภ์ระดับชุมชนประเมินได้จากค่ามัธยฐานของระดับไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า150 ไมโครกรัม/ลิตร
19
KPI 82 : ความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ(20-40 ppm)
ในระดับครัวเรือน อย่างน้อยร้อยละ 90 ผลสุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ปี 2560 จ.กำแพงเพชร (สุ่มโดยพื้นที่ทุกอำเภอ) อำเภอละ 300 ครัวเรือน/ปี ผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการขาดสารไอโอดีน โดยการเจาะส้นเท้าเด็กแรกเกิด ค้นหาภาวะพร่องไทรอยด์ ปี 2555 – 2560 : ครอบคลุม > ร้อยละ 90
20
โครงการคัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิด เพื่อป้องกันภาวะปัญญาอ่อน จังหวัดกำแพงเพชร
ผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการขาดสารไอโอดีน เจาะส้นเท้าเด็กแรกเกิด ค้นหาภาวะพร่องไทรอยด์ ปี 2555 – 2560 : ครอบคลุม > ร้อยละ 90 PI 1: TSH ในทารกแรกเกิด >11.25 มล.ยูนิต/ลิตร น้อยกว่าร้อยละ 3 เด็กแรกเกิดที่เจาะเลือดตรวจ TSH พบว่าผิดปกติ (มากกว่า 25 mU/L) เพิ่มขึ้น จาก 8 ราย ในปี 2559 เป็น 31 รายในปี 2560(9.38%) (WHO : อัตราความเสี่ยง TSH > mU/L มากกว่า % แปลผลว่า ขาดเล็กน้อย) คัดกรอง> 90% PI 2 : หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน (ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 150 ไมโครกรัมต่อลิตร) ไม่เกินร้อยละ 50 สุ่ม 300 ราย
21
ตัวชี้วัด PI ที่ 1 2 4 จำนวน กำแพงเพชร ทุ่งโพธิ์ทะเล ไทรงาม คลองลาน
ขาณุวรลักษบุรี คลองขลุง พรานกระต่าย ลานกระบือ ทรายทอง ปางศิลาทอง บึงสามัคคี จังหวัด IODINE 1 ระดับฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์TSHในทารกแรกเกิด >11.25 มล.ยูนิต/ลิตรน้อยกว่าร้อยละ 3 เป้าหมาย 3,137 39 131 249 552 365 178 111 124 100 68 5,054 ผลงาน 297 17 15 35 41 20 14 5 474 ร้อยละ 9.47 2.56 12.98 6.02 6.34 11.23 11.24 13.51 11.29 14.00 7.35 9.38 2 ร้อยละ80 ของเด็กแรกเกิด(TSH >25 มล.ยูนิต/ลิตร) ได้รับการตรวจยืนยันภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน 3 31 − ผลตรวจยืนยันเด็ก(TSH > 25 มล.ยูนิต/ลิตร) ได้รับการตรวจยืนยันพบว่าผิดปกติภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน 5.9 50 6.5 4 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน : ปริมาณไอโอดีน ในปัสสาวะ<150 Mcg/L ไม่เกินร้อยละ50 60 10 30 40 300 16 2.5 40.0 5.7 อำเภอปางศิลาทอง เป็นอำเภอที่เจาะเลือดเพื่อตรวจ TSH และมีค่ามากกว่า 11.2 มิลลิยูนิตต่อลิตร น้อยกว่าร้อยละ 3 มากที่สุด ร้อยละ ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงขาดไอโอดีนมากที่สุดในจังหวัดกำแพงเพชร รองลงมาคืออำเภอลานกระบือ ร้อยละ 13.51 ภาวะขาดสารไอโอดีนลดลงเป็นลำดับ จากร้อยละ (61 ราย) เป็นร้อยละ 5.7 (17 ราย) โดยพบมากที่สุดที่ รพ.พรานกระต่าย ในปี ร้อยละ 50.0 (22 ราย) และปี 2560 ลดลงเป็นร้อยละ (16 ราย) จะเห็นได้ว่าการใช้ค่ามัธยฐานของไอโอดีนในปัสสาวะจะใช้บอกสถานการณ์การได้รับสารไอโอดีนในระดับพื้นที่ ได้ว่ายังขาด เพียงพอ มากเกินพอ หรือมากเกินไปแล้ว นอกจากนี้อาจแปลผลโดยใช้ร้อยละของไอโอดีนในปัสสาวะ ที่ต�่ำกว่า 150 ไมโครกรัมต ่อลิตร ถ้าสูงเกินร้อยละ 50 ถือว ่าพื้นที่นั้นเป็นพื้นที่ขาดสารไอโอดีนได้อีกวิธีหนึ่ง (ไม่สามารถใช้วินิจฉัยโรคขาดสารไอโอดีนรายบุคคลได้)
22
มาตราการ 1. มีแผนงาน โครงการ ทุกระดับ 2. มีหมู่บ้าน / ชุมชนไอโอดีน
1. มีแผนงาน โครงการ ทุกระดับ 2. มีหมู่บ้าน / ชุมชนไอโอดีน 3. มี อสม.ฑูตไอโอดีน 4. สื่อสารความรู้ รณรงค์บริโภค เกลือเสริมไอโอดีน ยาเสริมไอโอดีน ให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตรทุกราย 5. จัดกิจกรรมรณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ (25 มิถุนายน) ให้ความรู้เกี่ยวกับการขาดสารไอโอดีนกับกลุ่มหญิง ตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ที่สถานบริการสาธารณสุข แจกเกลือเสริมไอโอดีน และ ยาเสริมไอโอดีน ให้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ทุกราย รณรงค์“เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.