ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยGerda Biermann ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
สรุปผลการตรวจราชการ กรณีปกติ รอบที่ 2 ประจำปี 2560 เขตสุขภาพที่ 1
คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิต (ด้านสุขภาพ)ทุกกลุ่มวัย
2
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.1.1.2 ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ลดการตายของมารดา ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
3
Cause of MMR เขต 1 ปีงบ 2560 (ต.ค. 59 - ก.ค. 60)
พย. มส. ลป. แพร่ ชร. ลพ. น่าน ชม. PPH 3 1 - PIH 4 Sepsis (abortion +unwanted) Suicidal (+unwanted) Other Total 13 6 MMR: 100,000 LB 37.4 156.6 53.19 35.7 55.6 40.0 66.47 (เกณฑ์ 20: แสนการเกิดมีชีพ)
4
เด็ก 0 – 5 ปี พัฒนาการสมวัย ผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก
(1ตค.59-31พค.60) Coverage66.08 % ตรวจพบล่าช้า15.13 % ติดตามได้ 66.91% ที่มา: HDC ณ 22 ก.ค 2560
5
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เป้าหมาย มากกว่าร้อยละ 51
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เป้าหมาย มากกว่าร้อยละ 51 ส่วนสูงเฉลี่ย เด็กอายุ 5 ปี เพศ เป้าหมาย ผลงาน ชาย มากกว่า 113 ซม. 109.33ซม หญิง มากกว่า 112 ซม. ซม ที่มา: HDC ณ 22 ก.ค 2560
6
เด็กวัยเรียน ประเด็นการตรวจราชการ
ส่งเสริมเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ส่งเสริมสุขภาพควบคุมป้องกันโรคในช่องปาก
7
สถานการณ์เด็กวัยเรียน
เขตสุขภาพที่ 1 เด็กอ้วน ร้อยละ 12.42 (เกณฑ์<ร้อยละ 10) พบเกินเกณฑ์ 7 จังหวัด เด็กเตี้ย ร้อยละ 6.16 (เกินเกณฑ์ 4 จังหวัด) เด็กอายุ 12 ปี มีความสูงเฉลี่ย ชาย (เกณฑ์ 154) หญิง (เกณฑ์ 155) ความครอบคลุม ร้อยละ 35.33 เด็กสูงดี สมส่วน ร้อยละ 62.28 (เกณฑ์ > ร้อยละ66)
8
ส่วนสูงเฉลี่ย เด็กอายุ 12 ปี เป้าหมายปี 60 (ชาย 154/หญิง 155) ข้อมูล ระดับประเทศ (ชาย 148.2/หญิง 151.1) เขตสุขภาพที่ 1 ส่วนสูงเฉลี่ย ชาย ซม. หญิง 150 ซม. ข้อมูล : HDC วันที่ 21 กรกฎาคม 2560
9
สูงกว่า ภาพรวมของประเทศ (ร้อยละ 71.7)
ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ (caries free) และ ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) เขตสุขภาพที่ 1 เด็กกลุ่มอายุ 12 ปี เขตสุขภาพที่ 1 ปี 2560 ปราศจากฟันแท้ผุ (caries free) คิดเป็น ร้อยละ 62.2 ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) คิดเป็น ร้อยละ 76.6 ** * cavity free สูงกว่าเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ (ร้อยละ 52.0) สูงกว่า ภาพรวมของประเทศ (ร้อยละ 71.7) สถานการณ์ในภาพรวม สภาวะสุขภาพช่องปาก มีแนวโน้มที่ดีขึ้นเป็นลำดับ
10
กลุ่มวัยรุ่น 1.1.3 อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี
กลุ่มวัยรุ่น อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี
11
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี รอบที่ 2 ปี 2560
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี รอบที่ 2 ปี 2560 จังหวัด ร้อยละ เชียงใหม่ 15.59 ลำพูน 10.25 ลำปาง 11.88 แพร่ 17.13 น่าน 22.43 พะเยา 13.79 เชียงราย 22.2 แม่ฮ่องสอน 30.92 เขต 1 17.74 ประเทศ 22.02 ที่มา : HDC ณ วันที่ 22 กรกฎาคม 2560
12
ที่มา : HDC ณ วันที่ 22 กรกฎาคม 2560
ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี (ไม่เกินร้อยละ10 ) เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 (9 เดือน) จังหวัด ร้อยละ เชียงใหม่ 18.28 ลำพูน 9.72 ลำปาง 10.33 แพร่ 18.35 น่าน 13.7 พะเยา 12.56 เชียงราย 18.36 แม่ฮ่องสอน 12.17 เขต 1 15.81 ประเทศ 17.09 ที่มา : HDC ณ วันที่ 22 กรกฎาคม 2560
13
ที่มา : HDC ณ วันที่ 22 กรกฎาคม 2560
ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปีหลังคลอด/หลังแท้งได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกำเนิด/ห่วงอนามัย) เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 (9 เดือน) จังหวัด ร้อยละ เชียงใหม่ 12.57 ลำพูน 5.88 ลำปาง 94.23 แพร่ 85.51 น่าน 80 พะเยา 43.48 เชียงราย 41.62 แม่ฮ่องสอน 19.72 เขต 1 47.64 ประเทศ 64.11 ที่มา : HDC ณ วันที่ 22 กรกฎาคม 2560
14
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
1.1.5 ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์
15
ความก้าวหน้าตาม Essential task
กลุ่มเป้าหมาย ผลงาน ข้อเสนอแนะ 1. ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ร้อยละ 72.56 ตำบลต้นแบบ LTC ผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
16
ความก้าวหน้าตาม Essential task
กลุ่ม เป้าหมาย ผลงาน ข้อเสนอแนะ 2. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินและจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ร้อยละ 7,384 ฉบับ 79.14% (5,844 ฉบับ) ดำเนินการจัดทำ Care plan แล้วเสร็จภายในเดือนกรกฎาคม 2560 เร่งรัดจัดทำ Care Plan ตามเวลาที่กำหนด ผู้สูงอายุได้รับการจัดทำ care plan รายบุคคล
17
ยุทธศาสตร์ 1 : Prevention & Promotion Excellence
แผนงาน ที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 1.3.4 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital
18
ร้อยละ 82.57 ผลการพัฒนา รพ. ผ่านเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital
19
หัวข้อ 1.2.3 : การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
สถานการณ์ หัวข้อ : การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ความรุนแรงการเสพ เขต 1 มีผู้ติดรุนแรงและเรื้อรังกว่าภาพรวม เนื่องจากสารหลักเป็นกลุ่มเฮโรอีนมากกว่ายาบ้า ผู้ใช้:ผู้เสพ:ผู้ติด 6:71:23(ประเทศ) 4:60:36(เขต1) จังหวัดที่ต้องเฝ้าระวังการใช้สารกลุ่มเฮโรอีน และการใช้poly drugs คือ เชียงใหม่ เชียงราย บสต กค 2560
20
อัตราการหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนหลังการบำบัด Remission rate (เป้าหมาย 92%)
อัตราการหยุดเสพต่ำกว่าเป้าหมาย อัตราการคงอยู่ในการบำบัดของผู้ป่วยยังต่ำมุ่งเน้นการใช้ภาคีและการดำเนินงานเชิงรุกหรือผสมผสานกับงานprimary care เพื่อเพิ่มการคงอยู่ บสต กค 2560
21
คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค
และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ แผนงานที่ 2 แผนงานการป้องกันควบคุมโรค
22
กราฟแสดงเป้าหมายในการลดการเสียชีวิตจากการจมน้ำเทียบกับจำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีที่เสียชีวิตจากการจมน้ำปี2560 พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ข้อมูลถึงเดือน กรกฎาคม 60 เสียชีวิตเพิ่ม 2 คน รวมทั้งเขตเท่ากับ 30 คน นำเสนอสรุปตรวจราชการ 60 คร.
23
จำนวนประชากรกลางปีต่ำกว่า 15 ปี 2559
ตารางแสดงจำนวนและอัตราเด็กเสียชีวิต จากการจมน้ำใน 8 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2560 จังหวัด จำนวนประชากรกลางปีต่ำกว่า 15 ปี 2559 จำนวนตาย อัตราตาย เชียงใหม่ 251,609 9 3.58 ลำพูน 58,212 1 1.72 พะเยา 55,478 4 7.21 เชียงราย 213,535 5 2.34 น่าน 74,107 1.35 แพร่ 58,076 2 3.44 แม่ฮ่องสอน 51,259 1.95 ลำปาง 84,554 5.91 เขต 846,830 28 3.30 นำเสนอสรุปตรวจราชการ 60 คร.
24
จำนวนตายจาก RTI รวม ไตรมาส 1-3 ปี 2560
จังหวัดเชียงใหม่ ข้อมูลถึง เม.ย. ตายสูง 370 ภาพรวมยังไม่ลดลง การใช้กลไก DHS RTI จำเป็นต้องเน้นเชิงคุณภาพของการมีส่วนร่วมในการกำกับการทำงานของ ศปถ.อ และมีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง นำเสนอสรุปตรวจราชการ 60 คร.
25
DM HT เบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง
NCDs : โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง DM HT เบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง
26
ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ DM จากกลุ่ม Pre-Diabetes 2560 เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 2.4
KPI ข้อมูล HDC 20 กค.2560 นำเสนอสรุปตรวจราชการ 60 คร.
27
DM ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ≥ ร้อยละ 40 ปี 2560 HbA1C<7
ข้อมูล HDC : 20 กค ผู้ป่วยที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ Typearea 1,3 นำเสนอสรุปตรวจราชการ 60 คร.
28
ผู้ป่วย HT ที่ควบคุมระดับ BP ได้ดี ≥ ร้อยละ 50 ปี 2560
KPI ร้อยละ ข้อมูล HDC 20 กค ผู้ป่วยที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ Typearea 1,3 นำเสนอสรุปตรวจราชการ 60 คร.
29
ร้อยละของผู้ป่วย DM / HT ได้รับการคัดกรองประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ปี 2560 KPI ร้อยละ ข้อมูล HDC 20 กค. 2560 นำเสนอสรุปตรวจราชการ 60 คร.
30
Case Detection Rate :1 OCT 2016- 30 Jul 2017
Source: TBCM2010 Aug 10,2017 นำเสนอสรุปตรวจราชการ 60 คร.
31
ร้อยละของผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ที่ขึ้นทะเบียนรักษา cohort 1/60
TB datacenter: Source: /tbdc/fronteend/web/index.php นำเสนอสรุปตรวจราชการ 60 คร.
32
การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เขตสุขภาพที่ 1
แผนงาน 1.3 การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
33
1.3.1ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 95)
95-Index
34
1.3.2 ผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (ร้อยละ 80)
ผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (ร้อยละ 80) 80-Index
36
ปัญหาการดำเนินงาน ปี 2560 ๑. การจัดทำแผนงาน/โครงการล้าช้า
- ในบางพื้นที่กิจกรรมการค้นหา/คัดกรองค้นหา ดำเนินการล่าช้าส่งผลให้การดำเนินงานไม่ครบ กระบวนการ - ต้องปรับช่วงเวลาการค้นหาเช่น คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ต้องเร่งรัด ให้แล้วเสร็จภายในไตรมาส ๒ แล้วดำเนิน กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในไตรมาส ๓-๔ ๒. การขออนุมัติโครงการใช้เวลาตรวจสอบ แก้ไข นานมาก – นโยบาย นพ.สสจ. ตั้งศูนย์ One stop service ให้โครงการที่ไม่มีการแก้ไขให้ผ่านภายในวันเดียว ๓. งบประมาณบางแหล่งหน่วยงานไม่กล้าใช้เนื่องจากความไม่ชัดเจน/เงื่อนไขการใช้จ่าย เช่น งบ LTC ที สปสช.โอนให้ รพ./ท้องถิ่น ๔. การเบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
37
ผังควบคุมกำกับการเสนออนุมัติโครงการ
1. แผนที่ได้รับอนุมัติจาก นพ.สสจ. หมายเหตุ : กรณีพบข้อผิดพลาดในขั้นตอน จะส่งให้กลุ่มงาน/หน่วยงานแก้ไขและ ให้ส่งกลับมาภายใน 7 วัน 2. จัดทำโครงการภายใน 2 สัปดาห์ - ขอให้งานแผนของหน่วยงานตรวจสอบความถูกต้อง 7. เสนอ นพ.สสจ. อนุมัติโครงการ 3. เสนอโครงการผ่านกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ 6. งานเลขานุการฯ ตรวจสอบ (1-2 วัน) 4. กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ตรวจสอบ (1-2 วัน) 5. งานตรวจสอบภายในตรวจสอบ (1-2 วัน)
38
Thank You …..
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.