ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Channel of Distribution
Sales Promotion Strategies
2
ความหมายของช่องทางการจัดจำหน่าย
ช่องทางการจัดจำหน่าย (Channel of Distribution) หมายถึง “กระบวนการในการจัดการเกี่ยวกับการเคลื่อนย้าย สิทธิในตัวผลิตภัณฑ์ (และอาจรวมถึงตัวผลิตภัณฑ์) จากผู้ผลิตไปจนถึงผู้บริโภค” ผู้ผลิต ตัวกลาง ผู้บริโภค
3
ประเภทของตัวกลางทางการตลาด
ตัวกลางทางการตลาด (Marketing Intermediaries) หมายถึง บุคคล กลุ่มบุคคลหรือ องค์กร ทำหน้าที่ช่วยเหลือ และสนับสนุนในกระบวนการย้าย สินค้าและสิทธิในตัวสินค้า จากผู้ผลิตมายังผู้บริโภค โดยตัวกลางประกอบด้วย ตัวกลางทางการตลาด 2. ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกระจาย ผลิตภัณฑ์ในเชิงกายภาพ (Physical Distribution Firms) 3. สถาบันการเงิน (Financial Institution) 1. คนกลาง (Middlemen) พ่อค้าคนกลาง (Merchant Middlemen) ตัวแทนคนกลาง (Agent Middlemen)
4
ผู้ผลิต กิจกรรมและบริการที่ให้แก่ผู้ผลิต 2. คาดคะเน ความต้องการของตลาด
3. ขายผลิตภัณฑ์แทนผู้ผลิต 1.ให้ข้อมูล ทางการ ตลาด 4. ส่งเสริมการตลาดให้ผลิตภัณฑ์ 8. ช่วยแบ่งเบาความเสี่ยงให้ผู้ผลิต ผู้ผลิต 7. ช่วยเจรจาต่อรองกับผู้ซื้อ 5. เก็บรักษาผลิตภัณฑ์ 6. ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
5
ผู้ซื้อ กิจกรรมและบริการที่ให้แก่ผู้ซื้อ
2. ช่วยแบ่งเบาขนาดการซื้อให้เล็กลง 3. ช่วยเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ 1.ช่วยประมาณการความต้อง การของตลาด 4. ให้บริการขนส่งผลิตภัณฑ์ ผู้ซื้อ 7. รับประกันผลิตภัณฑ์ 5. สร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ 6. ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
6
โครงสร้างพื้นฐานของช่องทางการจัดจำหน่าย
1. โครงสร้างพื้นฐานช่องทางการจัดจำหน่าย แบ่งตามระดับของคนกลางที่เกี่ยวข้อง 2. โครงสร้างพื้นฐานช่องทางการจัดจำหน่าย แบ่งตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ 1. โครงสร้างพื้นฐานของช่องทางการจัดจำหน่าย แบ่งตามระดับของคนกลางที่เกี่ยวข้อง 1.1 ช่องทางการจัดจำหน่ายทางตรง - ผลิตภัณฑ์ที่เน่าเสียง่าย ผลิตภัณฑ์ที่มีความซับซ้อน - ธุรกิจบริการ 1.2 ช่องทางการจัดจำหน่ายทางอ้อม - ผลิตภัณฑ์อุปโภคและบริโภค ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีความซับซ้อน - ผู้ผลิตมีฐานะทางการเงินไม่มั่นคง
7
วิเคราะห์เปรียบเทียบช่องทางการจัดจำหน่ายทางตรงและทางอ้อม
ช่องทางการจัดจำหน่ายทางอ้อม ข้อดี 1. ทราบความต้องการของลูกค้าได้ดี 2. สินค้าถึงมือผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว 3. ขายสินค้าได้ในราคาถูก ข้อเสีย 1. กระจายสินค้าไม่ทั่วถึง 2. เสียค่าใช้จ่ายในการขนส่ง 3. ผู้ผลิตจะต้องรับภาระเกี่ยวกับสิน ค้าคงเหลือ 1. สินค้ากระจายได้อย่างกว้างขวาง 2. มีผู้มาช่วยรับความเสี่ยงในการ ถือครองสินค้า 3. ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย 1. ทราบข้อมูลทางการตลาดเกี่ยว กับผู้บริโภคน้อย 2. ราคาสินค้าจะสูง
8
โครงสร้างพื้นฐานของช่องทางการจัดจำหน่าย แบ่งตามลักษณะของผลิตภัณฑ์
ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ผู้บริโภค (Consumer Product Channel) ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ทางธุรกิจ (Business Product Channel) ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับบริการ (Service Channel)
9
ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ผู้บริโภค
ผู้ผลิตสินค้า (Supplier) ร้านค้าส่ง/ยี่ปั้ว ศูนย์ค้าส่งสมัยใหม่ (Wholesaler) แม็คโคร คลังสินค้า (Distribution Center) สรรพสินค้า ซุปเปอร์/ ไฮเปอร์มาร์เก็ต ดิสเคานท์สโตร์ ร้านค้าส่งรายย่อย/ซาปั้ว ช่องทางการจัดจำหน่ายตรง ร้านค้าปลีก/โชวห่วยใน ท้องถิ่น ช่องทางการจำหน่ายในระบบการค้าสมัยใหม่ ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบดั้งเดิม ผู้บริโภครายสุดท้าย
10
ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ทางธุรกิจ
1. ช่องทางจำหน่ายตรง 2. ช่องทางจำหน่ายผ่านตัวแทน หรือผู้ค้าส่งทางธุรกิจ 2. ช่องทางจำหน่ายผ่านคนกลาง และคนกลางย่อย ผู้ผลิตทางธุรกิจ ผู้ผลิตทางธุรกิจ ผู้ผลิตทางธุรกิจ ตัวแทนหรือผู้ค้าส่งทางธุรกิจ ตัวแทนหรือผู้ค้าส่งทางธุรกิจ ตัวแทนช่วงหรือผู้ค้าส่งรายย่อย ผู้ใช้ทางธุรกิจ ผู้ใช้ทางธุรกิจ ผู้ใช้ทางธุรกิจ
11
ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับบริการ
ผู้ให้บริการ ตัวแทน ผู้ซื้อ
12
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดช่องทางการจัดจำหน่าย
1. ลักษณะของตลาด 1.1 ประเภทของลูกค้า 1.2 ขนาดของคำสั่งซื้อ 1.3 จำนวนลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย 1.4 การกระจายตัวของลูกค้ากลุ่ม เป้าหมาย 2. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ 2.1 ประเภทของผลิตภัณฑ์ 2.2 ลักษณะทางเทคนิคของผลิตภัณฑ์ 2.3 มูลค่าต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ 2.4 การหมดอายุของผลิตภัณฑ์ 3. ปัจจัยด้านคนกลาง 3.1 จำนวนผู้มีความสามารถที่สนใจ มาเป็นคนกลาง 3.2 ความสามารถในการให้บริการของ คนกลาง 3.3 ทัศนคติของคนกลางที่มีต่อนโยบาย ของผู้ผลิต 4. ปัจจัยด้านบริษัทผู้ผลิต 4.1 ทรัพยากรขององค์กร 4.2 ระดับความต้องการควบคุมช่องทาง การจัดจำหน่าย 4.3 บริการที่ผู้ผลิตสามารถให้ได้
13
ความหนาแน่นของคนกลาง
แบบหนาแน่นสูง Intensive 2. แบบเลือกสรร Selective 3. แบบเลือกเฟ้น Exclusive
15
ระบบโลจิสติกส์จะครอบคลุมกิจกรรมกิจกรรมดังนี้คือ
การบริการลูกค้า (Customer Service) กระบวนการสั่งซื้อ (Order Processing) การสื่อสารระหว่างกันในการส่งผ่านกระจายสินค้า (Distribution Communication) การควบคุมสินค้าคงคลังในโกดัง (Inventory Control)
16
ระบบโลจิสติกส์จะครอบคลุมกิจกรรมกิจกรรมดังนี้คือ
5. การคาดคะเนความต้องการ (Demand Forecasting) 6. กระบวนการขนส่ง (Traffic and Transportation) การบริหารคลังสินค้า (Warehousing and storage) การเลือกแหล่งที่ตั้งของคลังสินค้าและโรงงาน (Plant and Warehouse Site Selection)
17
ระบบโลจิสติกส์จะครอบคลุมกิจกรรมกิจกรรมดังนี้คือ
9. การขนถ่ายวัตถุดิบและการบรรจุภัณฑ์ (Material Handling & Packaging) 10. การจัดหาวัตถุดิบ (Procurement) การสนับสนุนทางด้านบริการและชิ้นส่วนประกอบ (Part and Service Support) 12. การเคลื่อนย้ายของเสียจากกระบวนการผลิตหรือการนำมันกลับมาใช้ใหม่ (Salvage and Scrap Disposal) 13. การยกขนสินค้าเพื่อส่งคืน (Return Goods Handling)
18
1. การบริการลูกค้า (Customer Service)
19
2. กระบวนการสั่งซื้อ (Order Processing)
20
3. การสื่อสารระหว่างกันในการส่งผ่านกระจายสินค้า (Distribution Communication)
21
4. การควบคุมสินค้าคงคลังในโกดัง (Inventory Control)
22
5. การคาดคะเนความต้องการ (Demand Forecasting)
23
6. กระบวนการขนส่ง (Traffic and Transportation)
24
7. การบริหารคลังสินค้า (Warehousing and storage)
25
8. การเลือกแหล่งที่ตั้งของคลังสินค้าและโรงงาน (Plant and Warehouse Site Selection)
26
9. การขนถ่ายวัตถุดิบและการบรรจุภัณฑ์ (Material Handling & Packaging)
27
10. การจัดซื้อและการจัดหาวัตถุดิบ (Procurement)
28
11. การสนับสนุนทางด้านบริการและชิ้นส่วนประกอบ (Part and Service Support)
29
12. การเคลื่อนย้ายของเสียจากกระบวนการผลิต หรือการนำกลับมาใช้ใหม่ (Salvage and Scrap Disposal)
30
13. การยกขนสินค้าเพื่อส่งคืน (Return Goods Handling)
31
Logistics & Supply Chain Management
โลจิสติกส์ทางธุรกิจ - Business Logistics การจัดการช่องทาง (การจัดจำหน่าย) - Channel Management การกระจายสินค้า - Distribution การกระจายวัสดุ/สินค้า - Physical Distribution โลจิสติกส์ทางอุตสาหกรรม - Industrial Logistics
32
Logistics & Supply Chain Management
การจัดการโลจิสติกส์ Logistics Management การจัดการวัสดุ - Material Management ระบบการตอบสนองที่รวดเร็ว - Quick-Response Systems การจัดการห่วงโซ่อุปทาน - Supply Chain Management การจัดการอุปทาน - Supply Management
33
ความหมายของโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน
34
Logistics & Supply Chain Management
การประสานกิจกรรมหลักๆของธุรกิจ (ทั้งภายในบริษัทและระหว่างบริษัท) ภายในห่วงโซ่อุปทาน โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและปรับปรุงสมรรถนะในระยะยาว ของบริษัทและของหุ้นส่วนตลอดห่วงโซ่ (Shapiro, 2001)
35
Logistics & Supply Chain Management
The management of upstream and downstream relationship with suppliers and customers to deliver superior customer value at less cost to the supply chain as a whole. (Christopher M. 1998)
36
Logistics & Supply Chain Management
เป็นกระบวนการหรือขั้นตอนที่จะประสานและเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆตลอดห่วงโซ่อุปทานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและa Bundle of Benefit ให้กับผู้เกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Theppitak, 2003)
37
Characters of supply chain
Logistics and Supply Chain Management: New Business Strategy for 2000s 1. Within department Purchasing Material Control Production Sales Distribution 2. Between department Purchasing Material Control Production Sales Distribution Supplier Focal Company Customer 3. Between organisations Supplier Focal Company Customer 4. Between network จากแนวคิดความที่ได้นำเสนอมาสำหรับตัวโมเดลของโซ่อุปทานจะมีลักษณะในเชิงระบบ รูป โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปแบบที่ 3 คือ เมื่อมีการพูดถึงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) เราจะหมาย ถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร เช่น จาก Suppliers ไปสู่ Manufacturing , Company ไปสู่ลูกค้า ด้วยความสัมพันธ์ ในระยะยาวและข้อตกลงระหว่างองค์กรในการจัดการไหลอย่างเพิ่มคุณค่า จากแนวความคิดเดียวกันนี้เราสามารถที่ประยุกต์แนวคิดเดียวกันในองค์กรที่เล็กลงไปอีกองค์กรหนึ่งที่มีหลายหลายหน่วยงานแต่ยังขาดการประสานงานและข้อตกลงในการทำงานร่วมกัน แผนกหรือหน่วยงานเหล่านี้สามารถที่จะถูกมองเป็นบริษัทเล็ก ๆ ในโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของบริษัทความสัมพันธ์ระยะยาวและข้อตกลงในการทำงานจะทำให้การไหลของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์เหล่านี้มีประสิทธิภาพ ดูในรูปแบบที่ 2 แม้แต่ภายในแผนกย่อยแผนกหนึ่ง ซึ่งมีการทำงานเป็นกระบวนการที่มีการไหลของวัตถุดิบและข้อมูล แนวคิดของโซ่อุปทานในเชิงระบบก็สามารถประยุกต์ใช้ได้เช่นกัน การเกิดองค์กรย่อย ๆ ภายในองค์กรที่สร้างปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์กรอาจจะเป็นเพราะไม่มีกฏเกณฑ์และข้อตกลงที่แน่ชัดในการดำเนินงานในแผนกหรือภายในองค์กรใหม่ ถ้าพิจารณาแล้วโมเดล ที่ 1 และโมเดลที่ 2 ก็คือ ลอจิสติกส์ในองค์กรดีๆ นี่เองและโมเดลที่ 3 ก็คือ โซ่อุปทาน (Supply Chain) ขององค์กรที่แตกต่างกันทำให้เรา สามารถมองได้ว่า โซ่อุปทานของกลุ่มองค์กรก็คือ การพัฒนาลอจิสติกส์ระหว่างองค์กรนั่นเอง ส่วนโมเดลที่ 4, 5 ก็ถูกพัฒนาออกมาในลักษณะใหญ่และซับซ้อนเพิ่มมากขึ้นตามจำนวนสมาชิกและขอบเขตของสมาชิกในโซ่อุปทาน 5. Supply web A H B G C F D E Vithaya Suharitdamrong’ s Seminar Series
38
Supply Chain Management
The Concept & Principle which synchronizes each Organization In The Store Chain Environment SUPLLIERS Consumer Retailer Wholesaler Enabling Technology
39
ศูนย์กระจายสินค้า (D.C.) ผังการทำงานในระบบ Supply Chain Management
GR Center รับสินค้าแทนสาขาตามใบปะหน้าพร้อม P/O แยกสาขา Supplier Sports SUPER Retailer MIS MDSG 1. ลูกค้าซื้อสินค้า โดยใช้เครื่อง P.O.S. แล้วส่งข้อมูลกลับฐานข้อมูลกลางทุกสิ้นวันเมื่อปิดการขาย Daily Sale 2. ข้อมูลถูกรับจาก 3 หน่วยงาน เข้ามาที่ฐานข้อมูลส่วนกลาง เพื่อ Update แล้วทำการวิเคราะห์ 3. รับข้อมูลจากหน่วยงาน MIS ไปทำการเปิด P/O สั่งซื้อสินค้าเข้า DC Prod MSTF P/O 4. รับ P/O เพื่อผลิตหรือเตรียมสินค้า แล้วนำส่งไป DC ตาม Plan Order 5. รับสินค้าจาก Supplier ตาม Plan Receipt เข้าจัดเก็บ แล้วเตรียมกระจายให้สาขาตามระบบ JIT และ Cross Docking Daily Receipt ผังการทำงานในระบบ Supply Chain Management
40
ความหมายของโลจิสติกส์
“ การเคลื่อนย้าย หรือการไหล (Flow) ของวัตถุดิบ ข้อมูลตั้งแต่เป็น วัตถุดิบจนเป็นสินค้าสำเร็จรูปจากต้นทางจนถึงปลายทางผู้บริโภค โดยมีการประสานแต่ละขั้นตอนการดำเนินงาน” ดังนั้นโลจิสติกส์จะเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทาน บทบาทของนักโลจิสติกส์ คือ “การวางแผน การปฏิบัติและการควบคุมวัตถุดิบสินค้าหรือข้อมูลต่างๆให้ไหลได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล”
41
รูปแบบของการเคลื่อนย้ายหรือการไหล
42
Relationships between logistics and supply chain
Policy agreement Supply chain management Company 1 Strategic Level (Management) Tactical (Planning) Operational (Manufacturing) Raw material Company 2 Strategic Level (Management) Tactical (Planning) Operational (Manufacturing) Company 3 Customer Finished product Strategic Level (Management) Tactical (Planning) Operational (Manufacturing) Internal logistics Material flow External logistics Material flow External logistics
43
ตัวอย่างความสำเร็จของการนำเอาการจัดการโลจิสติกส์มาประยุกต์ใช้
อังกฤษ ผลิตชิ้นส่วนเครื่องยนต์ แบ็ตตารี ระบบขับเคลื่อน ออสเตรีย ผลิตยางรถยนต์ หม้อน้ำ เบลเยียม ล้อรถยนต์ท่อทางเบรค เดนมาร์ก สายพานพัดลม นอร์เวย์ ลิ้นไอดีไอเสีย หน้าแปลนต่างๆ อิตาลี กระบอกสูบ คาบูฯ กระจก หลอดไฟ เยอรมันนี ระบบล็อก/ส่งกำลัง ระบบ จุดระเบิดประกอบเข้าด้วยกัน ญี่ปุ่น ระบบสตาร์ท แบริ่ง ปั้มน้ำ ประกอบในประเทศอังกฤษ หรือเยอรมันนี ฝรั่งเศส ฝาสูบ เบรก สีเคลือบ ถังน้ำมัน คลัทซ์ กระจก แบ็ตตารี ฯลฯ สวีเดน นัทโบลท์ฝาสูบ แค็มป์ สวิสเซอร์แลนด์ ระบบเกียร์ สีโค้ต สหรัฐอเมริกา วาล์ว ไฮโดรลิกส์
44
บทบาทและความสำคัญของระบบโลจิสติกส์และ ห่วงโซ่อุปทานที่มีต่อการพัฒนาและการเจริญเติบโต
การใช้ระบบโลจิสติกส์เพื่อลดต้นทุน การใช้ระบบโลจิสติกส์เพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการแก่ลูกค้า การใช้ระบบโลจิสติกส์เพื่อสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง
45
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาและการนำเอาการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานมาใช้
46
สถานการณ์ขององค์กรในปัจจุบัน
จัดหา การตลาด จัดซื้อ โลจิสติกส์ ผลิต ลูกค้า ซับพลายเออร์หรือผู้จัดส่งสินค้า
47
ห่วงโซ่อุปทานในอุดมคติ (Integrated/ Virtual Supply Chain)
ซับพลายเออร์หรือผู้จัดส่งสินค้า ลูกค้า จัดหา การตลาด จัดซื้อ โลจิสติกส์ ผลิต
48
ห่วงโซ่อุปทานในรูปแบบของท่อน้ำ
ซับพลายเออร์ จัดหา จัดซื้อ ผลิต โลจิสติกส์ การตลาด ลูกค้า
49
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาและ การนำเอาการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานมาใช้
การแข่งขันที่รุนแรง (Intense Competition) การกลายเป็นโลกาภิวัตน์ (Globalisation) ความไม่แน่นอน (Uncertainty) การขาดความไว้ใจซึ่งกันและกัน (Trust) การขาดการประสานและความร่วมมือกัน (Coordination & Cooperation) ไม่มีการแชร์หรือแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน (Share common information)
50
เป้าหมายและประโยชน์จากการมีการจัดการโลจิสติกส์ และห่วงโซ่อุปทาน
ลดต้นทุนต่างๆ ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ สร้างและเพิ่มระดับความพึงพอใจของลูกค้า (ทั้งภายในและภายนอก) 1 3 2
51
เครื่องมือที่สำคัญ 3 ประการสำหรับการจัดการโลจิสติกส์
Transportation Inventory Information Transport Inventory Information
53
7R in Logistics Management
7Rs supplying Right Materials in Right Quantity, for delivery at the Right Time and Right Place, from the Right Source, with the Right Service, and at the Right Price to customers เช่นเดียวกับ marketing วัตถุประสงค์หลักของ SCM ก็เพิ่มยกระดับการให้บริการลูกค้าด้วยต้นุทนที่เหมาะสม ซึ่งคำว่า การให้บริการลูกค้า หรือ Customer service นั้น ถ้าจะพูดจากันให้ชัดเจนก็อาจแสดงออกได้ในรูปของ On-time delivery, no stockouts, low loss and damage. ดังนั้น SCM จะต้องเป็นมีการออกแบบระบบกระจายสินค้าที่มีประสิทธิผล หรืออาจกล่าวง่าย ๆ ว่า ระบบ SCM ที่ดี จะต้องมี 7Rs คือ right materials, คุณภาพสินค้าที่ถูกต้อง โดยจะต้องเหมือนกับที่ลูกค้าคาดหมาย หรือโฆษณาไว้ หรือทำข้อตกลงการขายไว้ ไม่ต่ำกว่ามาตรฐานเหมือนกับรายการ TV- on sale ยกตัวอย่างข้าวส่งออก (หัก) ยกตัวอย่าง TV Sales ยกตัวอย่างการทำธุรกิจ E-Commerce ทำธุรกิจของไทย ต้องเร่งสร้าง Brand ให้เป็นมาตรฐาน right quantity ปริมาณที่ถูกต้อง ไม่ใช่ว่าสั่ง 10 ได้แค่ 8 ซึ่งลูกค้าออกบอกว่าไม่ตรง แล้วก็ปฏิเสธการรับสินค้าทั้ง Lot เช่น การส่งออก raw material เพื่อใช้ในการผลิตในอุตสาหกรรม สมมุติเป็นเคมี หรือ ไวน์ ถ้าส่วนผสมไม่ตรงก็ผลิตไม่ได้ right time นอกจากสินค้าที่ถูกต้องแล้ว ปริมาณที่ถูกต้องแล้ว ต้องส่งในเวลาที่คาดหมายด้วย โดยเฉพาะตรงนี้ จะสอดคล้องกับ Just in time process และที่ยิ่งกว่านั้น คือ just on time เพื่อ reduce stock รวมทั้งเพื่อลดการสูญเสียโอกาสในการขาย right place right source right service right price
54
Logistics Concepts
55
Logistics Systematic Concept
Customer Supplier Distribution center Manufacturing site Carrier
56
What are trade-offs in Supply Chain
57
Concept of Trade-Off Reduction Before Trade Off After Inventory Cost
Transportation Cost (Sea) Transportation Cost (Air) Packaging Storage Facilities Communications
58
Customer Service Concept
การบริการลูกค้าประกอบด้วย ปัจจัยด้านเวลา (Time) – Speed, Consistency, Availability ปัจจัยด้านความเชื่อถือได้ (Reliability)–Accuracy, complete, No damage ปัจจัยด้านการติดต่อสื่อสาร (Communication) – IT facilities ปัจจัยด้านความสะดวก (Convenience) – Flexibility
59
Heart of Supply Chain and Logistics
60
ความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน (Competitive Advantage)
ต้นทุน (Cost) ความยืดหยุ่น (Flexibility) คุณภาพ (Quality) เวลา (Time) ความพึงพอใจของลูกค้า ความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน (Competitive Advantage) สถานที่ (Place)
61
Major Supply Chain Drivers
1. PRODUCTION What, how, and when to produce 2. INVENTORY How much to make and how much to store 3. LOCATION Where best to do what activity 4. TRANSPORTATION How and when to move product 5. INFORMATION The basis for making these decisions RESPONSIVENESS vs. EFFICIENCY “Increase throughput while simultaneously reducing inventory and operating expense.” Goldratt, The Goal,
62
การตอบสนองและประสิทธิภาพ(Responsiveness vs. Efficie)
ตัวขับเคลื่อนห่วงโซ่อุปทานSupply Chain Drivers การตอบสนองResponsiveness ประสิทธิภาพEfficiency 1การผลิต กำลังการผลิตเกิน Excess capacity การผลิตแบบยืดหยุ่นFlexible manufacturing เน้นการมีโรงงานผลิตขนาดเล็กหลายโรงMany smaller plants ทำการผลิตเกินเล็กน้อยLittle excess capacity เน้นการผลิตเฉพาะสินค้าที่มีความต้องการNarrow focus เน้นการมีโรงงานหลักจำนวนน้อยFew central plants 2. สินค้าคงคลังInventory เน้นการมีสินค้าคงคลังจำนวนมากHigh inventory levels มีสินค้าคงคลังหลากหลายชนิดWide range of items จัดให้มีระดับสินค้าคงคลังในระดับต่ำLow inventory levels มีจำนวนสินค้าน้อยชนิดFewer items
63
การตอบสนองและประสิทธิภาพ(Responsiveness vs. Efficie)
ตัวขับเคลื่อนห่วงโซ่อุปทานSupply Chain Drivers การตอบสนองResponsiveness ประสิทธิภาพEfficiency 3. สถานที่ตั้งLocation มีสถานที่ตั้งอยู่ใกล้กับลูกค้าหลายแห่งMany locations close to customers - เน้นให้มีสถานที่ตั้งกลางน้อยแห่งเพื่อให้บริการในพื้นที่ในวงกว้างFew central locations serve wide areas 4. การขนส่งTransportation เน้นการจัดส่งบ่อยๆFrequent shipments ใช้รูปแบบการขนส่งที่รวดเร็วและยืดหยุ่นFast & Flexible mode เน้นการจัดส่งขนาดใหญ่แต่จำนวนน้อยครั้งFew large shipments ใช้รูปแบบการขนส่งที่ช้าและมีราคาถูกSlow, cheaper modes 5. ระบบสารสนเทศInformation - ให้ความสำคัญกับการเก็บและแบ่งปันข้อมูลที่ถูกต้องและทันเวลาCollect & share timely, accurate data - ต้นทุนของข้อมูลจะตกลงแต่ต้นทุนอื่นๆจะเพิ่มขึ้นCost of information drops , other costs rise
64
Goal of Logistics Management
การประยุกต์ใช้โลจิสติกส์ของ ผู้ประกอบการOTOP A1 & A2 การลดต้นทุน (C1) การเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ (C2) ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ระบบขนส่งสินค้าที่ดี ขาดการจัดการวัตถุดิบที่ดี แรงงานมีฝีมือและมีทักษะ ความรู้เทคนิตด้านโลจิสติกส์ ระบบคลังสินค้าที่มีประสิทธิภาพ การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ระบบการกระจายสินค้าทีมีประสิทธิภาพ การใช้ IT ที่มีประสิทธิภาพ การสนับสนุนจากภาครัฐ การจัดการคำสั่งซื้อที่ดี การให้บริการหลังการขาย
65
ปัญหาทั่วๆไปที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
66
ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่มีสินค้าให้ลูกค้าเมื่อต้องการ
ลูกค้าที่อยู่ต่างถิ่น อยากได้สินค้า แต่ไม่รู้จะติดต่อใคร ส่งมอบของผิดพลาด เสียหาย ไม่ทันตามกำหนด ขั้นตอนการติดต่อซื้อขายยุ่งยาก เสียเวลา มีสินค้าคงคลังจำนวนมาก พื้นที่จัดเก็บในคลังสินค้าไม่พอ
67
ปัญหาที่เกิดขึ้นในห่วงโซ่อุปทาน
ความซับซ้อนของห่วงโซ่อุปทาน ขนาดของการผลิต ความเป็นมาตรฐานและความหลากหลายของสินค้า การตอบสนองและประสิทธิภาพ แรงกดดันเนื่องจากการมีต้นทุนที่ต่ำที่สุด อำนาจซื้อของผู้จัดส่งสินค้าที่เพิ่มมากขึ้น อำนาจซื้อของลูกค้าที่เพิ่มมากขึ้น ความยากลำบากในการบูรณการ พลวัฒน์ของห่วงโซ่อุปทาน MacCarthy, 2002
68
รูปที่ 1 ปัญหาต่างๆที่องค์กรมักมองไม่เห็นที่เกิดขึ้นจากสินค้าคงคลัง
69
Logistics Management
71
แนวทางในการจัดการปัญหาทางโลจิสติกส์
72
การเพิ่มระดับการให้บริการ - การลดต้นทุน
พัฒนากลยุทธ์การให้บริการลูกค้า ลดความความน่าจะเป็นที่สินค้าจะขาดมือ ลดระยะเวลานำส่งสินค้า ใช้พื้นที่ขายให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสร้าง ความดึงดูดลูกค้า
73
ความต้องการเพิ่มกำไร - ลดต้นทุน
ลดสินค้าคงคลังและกิจกรรมที่ไม่เกิดประโยชน์ ขจัดปัญหาคอขวดและความล่าช้าในการจัดส่ง กำหนดจำนวน / ที่ตั้ง / ขีดความสามารถของโรงพัก สินค้าให้เหมาะสม ใช้การสั่งซื้อวัตถุดิบคราวละมาก ๆ เพื่อได้ส่วนลด ใช้อุปกรณ์ / ยานพาหนะให้เกิดประโยชน์สูงสุด ลดต้นทุนโดยรวมของธุรกิจ
74
เพื่อให้การจัดการโลจิสติกส์มีประสิทธิภาพสูงสุด สมาชิกในห่วงโซ่อุปทานควร
เปิดใจให้กว้างและยอมรับบทบาทและความสำคัญของโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานที่มีต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์กร สร้างความไว้ใจ (Trust) ระหว่างสมาชิกในห่วงโซ่อุปทานซึ่งจะนำไปสู่การสร้างความร่วมมือ (Collaboration) ระหว่างสมาชิก ทำการบูรณการกระบวนการทางธุรกิจเข้ากับพันธมิตรของตนเอง
75
เพื่อให้การจัดการโลจิสติกส์มีประสิทธิภาพสูงสุด สมาชิกในห่วงโซ่อุปทานควร
นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อช่วยให้การสื่อสารทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กรโปร่งใสและมีประสิทธิภาพสูงสุด นำเอาเทคนิคและหลักการบริหารจัดการเข้ามาประยุกต์ใช้โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับภาพแวดล้อมขององค์กรและกับห่วงโซ่อุปทานโดยรวม
76
การจัดการห่วงโซ่อุปทานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต้องมี
เข้าใจความหมายและหลักการของห่วงโซ่อุปทาน มีวินัยในการวางแผนและการบริหารตารางกิจกรรมต่างๆ มีระดับของการสื่อสารและการเชื่อมโยงของแผนและข้อมูลต่างๆ ระหว่างหุ้นส่วนที่ดีเยี่ยม
77
การจัดการห่วงโซ่อุปทานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต้องมี (ต่อ)
มีวิสัยทัศน์ (Logistics Vision) ที่มุ่งที่จะลดต้นทุนและยกระดับความพึง พอใจของลูกค้า รู้ว่าจะบริหารและจัดการโลจิสติกส์ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ สิ่งแวดล้อมธุรกิจ
78
การส่งเสริมการตลาด
79
Promotion Mix
80
Advertising Personal selling Sales promotion Public Relations (PR)
Promotion Mix Advertising Personal selling Sales promotion Public Relations (PR)
81
การส่งเสริมการตลาด (Promotion)
วัตถุประสงค์พื้นฐาน 1. เพื่อแจ้งข่าวสาร (To inform) 2. เพื่อจูงใจ (To persuade) 3. เพื่อเตือนความทรงจำ (To remind)
82
กระบวนการยอมรับผลิตภัณฑ์ (Adaptation Process)
1. Awareness 2. Interest 3. Evaluation 4. Trial 5. Decision 6. Confirmation
83
AIDA Model 1. ดึงให้เกิดความตั้งใจ (To get attention)
2. ทำให้มีความสนใจติดตามต่อไป (To hold interest) 3. กระตุ้นให้เกิดความต้องการ (To arouse desire) 4. ทำให้เกิดการซื้อ (To obtain action)
84
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดส่วนประสม การส่งเสริมการตลาด
1. เงินทุนที่มี 2. ลักษณะของตลาด 3. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ 4. ขั้นตอนวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
85
ปัจจัยพื้นฐานของกลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด
1. เมื่อใดที่ควรใช้การขายโดยพนักงานขายเป็นหลัก 2. เมื่อใดที่ควรใช้การโฆษณาเป็นหลัก 3. เมื่อใดควรใช้การส่งเสริมการตลาดที่มุ่งที่ผู้ค้าปลีก 4. เมื่อใดควรใช้การโฆษณาร่วมกันระหว่างผู้ผลิตและผู้ค้าปลีก 5. เมื่อใดผู้ผลิตควรใช้กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดแบบกลยุทธ์ผลักหรือกลยุทธ์ดึง
86
Producer marketing activities (consumer advertising,
(personal selling,trade promotion,other) Reseller marketing activities (personal selling,trade promotion,other) Retailers and wholesalers Producer Consumer Push strategy Retailers and wholesalers Producer Demand Demand Consumer Producer marketing activities (consumer advertising, sales promotion, other) Pull strategy
87
ปัจจัยพื้นฐานของกลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด
6. กิจกรรมการส่งเสริมควรจะมีต่อไปหรือไม่ เมื่อ Demand มีมากหรือเกินความสามารถในการผลิต
88
Advertising Any paid form of nonpersonal presentation and promotion of ideas, goods, or services by an identification sponsor.
89
ลักษณะของโฆษณา 1. เป็นการเสนอขายสินค้า บริการ ความคิด ไม่ใช้บุคคล 2. สามารถระบุผู้อุปถัมภ์รายการ ผู้ผลิต หรือผู้จำหน่ายที่ทำการโฆษณา 3. มีการจ่ายเงินค่าสื่อโฆษณา
90
ผู้บริหารการตลาด ตัดสินใจ 1. ใครคือกลุ่มผู้รับโฆษณา 2. ประเภทของการโฆษณาที่จะใช้ 3. จะเข้าถึงผู้รับโฆษณาได้อย่างไร 4. จะใช้ข้อความโฆษณาอย่างไร 5. ทำการโฆษณาโดยใคร
91
ประเภทของการโฆษณา 1. Product advertising & Corporate advertising
2. Primary demand and selective demand 3. Coorperative advertising - Vertical Coorperative advertising - Horizontal Coorperative advertising
92
การเลือกสื่อ 1. วัตถุประสงค์ของสื่อโฆษณา 2. จำนวนการเข้าถึงของสื่อ
3. ข้อกำหนดของข่าวสาร 4. เวลาและสถานที่ในการตัดสินใจซื้อ 5. ต้นทุนของสื่อ
93
ประเภทและลักษณะของสื่อโฆษณา
5.Television 6. Outdoor 7. 1. Newspaper 2. Magazine 3. Direct mail 4. Radio
94
Newspaper เปลี่ยนแปลงข้อความได้ง่ายและรวดเร็ว เลือกผู้รับข่าวสารได้
ต้นทุนต่อผู้อ่านต่ำ ให้รายละเอียดชัดเจน อายุสื่อสั้นมาก คุณภาพหนังสือพิมพ์ต่ำไม่จูงใจ
95
Magazine คุณภาพสิ่งพิมพ์สูง ต้นทุนต่อผู้อ่านต่ำ
สร้างภาพพจน์ตัวสินค้าได้ เข้าถึงลูกค้าเฉพาะเจาะจง อายุสื่อนานกว่า (สัปดาห์ เดือน) ไม่ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงข่าวสาร เป็นสื่อที่ใช้เวลานานในการออก
96
Direct mail เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะเจาะจงที่สุด
แสดงรายละเอียดเต็มที่ ผู้ผลิตสามารถทำโฆษณาเองได้ สะดวกรวดเร็ว ผู้รับไม่ให้ความสนใจ ความสมบูรณ์ของที่อยู่ผู้รับ ค่าใช้จ่ายต่อคนสูง
97
Radio ครอบคลุมมากที่สุด และรวดเร็ว ต้นทุนต่อผู้ฟังหนึ่งคนต่ำ
มีโอกาสเลือกสถานี รายการ และเวลาให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย สร้างการรับรู้ยาก ดึงดูดความสนใจแก่ผู้ฟังยาก อายุสื่อสั้น
98
Television ดึงดูดความสนใจได้สูง (แสง สี เสียง)
เลือกกลุ่มเป้าหมายได้ในรายการแต่ละประเภท ครอบคลุมผู้ชมได้จำนวนมาก ค่าใช้จ่ายสูงมาก อายุสื่อสั้น
99
Outdoor ต้นทุนต่ำ ยืดหยุ่นได้ อายุนาน
เหมาะกับการโฆษณาประเภทเตือนความจำ เขียนข้อความที่จำกัด ไม่สามารถระบุกลุ่มเป้าหมายได้
100
E-mail or Internet สะดวก 24 ชั่วโมง
ลูกค้าหาข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบได้ (ราคา คุณภาพ คุณสมบัติ) ปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ต้นทุนต่ำ เข้าถึงผู้รับได้เฉพาะเจาะจง ข้อเสนอแนะ การเตรียมพร้อมของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย ต้องมีการบำรุงรักษา การจัดซอฟท์แวร์ให้ทันสมัย
101
มุ่งกระตุ้นผู้ใช้ขั้นสุดท้าย
Sales promotion เป็นกิจกรรมระยะสั้น มุ่งกระตุ้นผู้ใช้ขั้นสุดท้าย พัฒนาการทำงานของผู้จัดจำหน่ายและพนักงานขาย ต้องใช้ร่วมกับเครื่องมือตัวอื่น
102
1. มุ่งสู่ผู้บริโภค 2. มุ่งสู่คนกลาง 3. มุ่งสู่พนักงานขาย
กลุ่มเป้าหมายในการส่งเสริมการขาย 1. มุ่งสู่ผู้บริโภค 2. มุ่งสู่คนกลาง 3. มุ่งสู่พนักงานขาย
103
เทคนิคการส่งเสริมการขาย (Sales Promotion Techniques)
1. การจัดแสดงสินค้า (Exhibition) 2. การสาธิต (Demonstration) 3. การแจกของตัวอย่าง (Sample) 4. การให้คูปอง (Coupon) 5. การให้ของแถม (Premium)
104
6. การใช้แสตมป์การค้า (Trading Stamp)
7. การลดราคา (Price-offs) 8. การส่งชิ้นส่วนไปชิงโชคและการแข่งขันชิงโชค (Sweepstakes and Contests)
105
Public Relations News Public service activities
Corporate Identity Media Telephone information services
106
ความหมายของการส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมการตลาด (Promotion) คือ “กระบวนงานทางด้านการสื่อ สารการตลาดระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขายและผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการซื้อ เพื่อให้ข้อมูล ชักจูงใจ หรือตอกย้ำเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์และตรายี่ห้อ รวมทั้งเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงความเชื่อ ทัศนคติ ความรู้สึกและพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย” Product Place Price
107
ส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด (Promotion Mixs)
การตลาดทางตรง (Direct Marketing) การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) ตลาดเป้าหมาย การส่งเสริม การขาย (Sales Promotion) การโฆษณา (Advertising) การตลาด เหตุการณ์พิเศษ (Event Marketing)
108
กระบวนการสื่อสาร สื่อ ผู้ส่งสาร Sources เข้ารหัส Encoding ข่าวสาร
Message ถอดรหัส Decoding ผู้รับสาร Receivers Medias สิ่งรบกวน Noise ผลสะท้อนกลับ FeedBack การตอบสนอง Response
109
วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการตลาด
1. เพื่อสื่อข้อมูลข่าวสารไปยังกลุ่มเป้าหมาย 1.1 เพื่อแจ้ง ข่าวสาร 1.2 เพื่อชักจูง 1.3 เพื่อตอกย้ำ ความทรงจำ
110
วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการตลาด
2. เพื่อเปลี่ยนลักษณะความต้องการของผู้บริโภค * โดยปกติความต้องการของผู้บริโภคจะสะท้อนออก มาในรูปเส้นอุปสงค์(Demand Curve) ราคา ราคา D1 Do Do ปริมาณ ปริมาณ D0 คือ เส้นอุปสงค์ก่อนการส่งเสริมการตลาด D1 คือ เส้นอุปสงค์เมื่อมีการส่งเสริมการตลาด ภาพที่2 การเปลี่ยนรูปเส้นอุปสงค์ ภาพที่ 3 การเปลี่ยนรูปเส้นอุปสงค์ใน ในลักษณะขยับขึ้นด้านบน ลักษณะเปลี่ยนความชันของเส้น
111
วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการตลาด
3. เพื่อใช้สอดคล้องกับส่วนประสมทางการตลาดอื่นๆ วงจรชีวิต ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ การส่งเสริมการตลาด ช่องทาง การจัด จำหน่าย ราคา อื่นๆ
112
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด
1. ลักษณะของตลาดเป้าหมาย (Nature of Target Market) 1.1 ประเภทของลูกค้า(Type of Customer) 1.2 การกระจายตัวตามขอบเขตทางภูมิศาสตร์ของตลาด (Concentration and Geographic Scope of Marketing) 1.3 ระดับความสนใจในการซื้อสินค้า(Readiness to Buy) 2. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ (Nature of Product) 2.1 ลักษณะความเฉพาะตัวของผลิตภัณฑ์ที่มีต่อลูกค้า (Degree of Customization) 2.2 มูลค่าต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ (Unit Value)
113
ระดับความสนใจในการซื้อสินค้ามี 6ระดับ (Hierarchy of Effects )
ขั้นรับรู้ (Awareness) ขั้นมีความรู้ในตัวผลิตภัณฑ์ (Knowledge) ขั้นสนใจหรือชอบในตัวผลิตภัณฑ์ (Liking) ชั้นชื่นชอบมากกว่าผลิตภัณฑ์ของคู่แข่ง (Preference) ขั้นถูกชักจูงใจให้ซื้อผลิตภัณฑ์ (Conviction) ขั้นซื้อผลิตภัณฑ์ (Purchase)
114
4. ขั้นตกต่ำ (Decline Stage) 4. งบประมาณ (Funds)
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด 3. วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle) 1. ขั้นแนะนำ (Introduction Stage) 2. ขั้นเจริญเติบโต (Growth Stage) 3. ขั้นเจริญเติบโต เต็มที่ (Maturity Stage) 4. ขั้นตกต่ำ (Decline Stage) 4. งบประมาณ (Funds)
115
การจัดสรรงบประมาณสำหรับการส่งเสริมการตลาด
1. กำหนดตามยอดขาย (Relation to sales) - เปอร์เซ็นต่อยอดขาย - งบประมาณต่ำเกินไป 2. กำหนดตามคู่แข่งขัน (Relation to Competition) - ดูตามคู่แข่งขัน 3. กำหนดตามเงินทุนที่มีอยู่ (All Available Funds) - ตามขนาดขององค์กร 4. กำหนดตามวัตถุประสงค์ และงานที่ทำ (Task and Objectives)
116
การเลือกกลยุทธ์ผลักและดึง
กลยุทธ์ผลัก (Push Strategy) เป็นกลยุทธ์ที่ผู้ผลิตใช้เครื่องมือการส่งเสริม การตลาด เพื่อผลักดันสินค้าผ่านคนกลาง ซึ่งส่วนใหญ่จะหากับผู้ค้าส่ง กลยุทธ์ดึง (Pull Strategy) เป็นกลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดที่มุ่งเน้นไป ที่ผู้บริโภค กระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการสินค้านั้น ๆ กลยุทธ์ผลัก ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค กลยุทธ์ดึง ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค Note: Flow of Product Flow of Promotion
117
การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่อง
ความหมายของการสื่อสารทางการตลาดแบบครบเครื่อง (Integrated Marketing Communication) คือกระบวนการพัฒนาระบบการสื่อสาร ด้วยการใช้เครื่องมือ การสื่อสารหลากหลายรูปแบบผสมผสานกันอย่างกลมกลืน และต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้บริโภครู้จัก เข้าใจ เปลี่ยนพฤติกรรม และมองเห็นคุณค่าของตรายี่ห้อ ตามที่นักการตลาดต้องการ
118
ลักษณะสำคัญของ IMC 1. IMC เป็นกระบวนการ (Process)
2. เป็นการสื่อสารเพื่อจูงใจ (Persuasive Communication) โดยใช้เครื่องมือหลายรูปแบบร่วมกัน 3. เป็นกระบวนการระยะยาว (Long run) และต่อเนื่อง (Continuity) 4. เป้าหมายเน้นที่พฤติกรรมที่ต้องการ (Desire Behavior) 5. เน้นทุกวิธีการสื่อสารตราสินค้า (All Sources of Brand Contact)
119
Corporate Social Responsibility (CSR)
Business Ethics and Corporate Social Responsibility (CSR)
120
Business Ethics and Corporate Social Responsibility (CSR)
2. แบบอย่างของจริยธรรม (A Model of Ethics) 3. จริยธรรมและผู้จัดการทรัพยากรมนุษย์ (Ethics and Human Resource Manager) 4. การประมวลหลักจริยธรรม(Code of Ethics) 5. จริยธรรมฝ่ายทรัพยากรมนุษย์(Human Resource Ethics) 6. การอบรมจริยธรรม(Ethics Training) 7. การเป็นมืออาชีพในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 8. ความรับผิดชอบทางสังคม(Corporate Social Responsibility ;CSR) 9. การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม (Stakeholder Analysis and the Social contract) 10.โปรแกรมการปฏิบัติการขององค์การที่มีต่อความรับผิดชอบต่อสังคม (Implementing a Corporate Social Responsibility Program)
121
1.จริยธรรม (Ethics) จริยธรรม หมายถึง วินัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ดีและสิ่งที่ไม่ดี อะไรผิดอะไรถูก หรือการมีจริยธรรมและข้อผูกพัน การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ที่ทำตามหลักจริยธรรมหรือไม่ทำตามหลัก จริยธรรม
122
2.แบบอย่างของจริยธรรม (A Model of Ethics)
Source Of Ethical Guidance Our beliefs about what is Right or wrong Our action Type I Ethics Type II Lead to Determine Type I Ethics ; แบบอย่างของความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อส่วนบุคคลหรือองค์กับ ศีลธรรม,สิ่งที่ดีที่ถูกต้อง และความเชื่อดังกล่าวนำไปสู่ศีลธรรมที่ถูกต้อง Type II Ethics ; แบบอย่างของความสัมพันธ์ระหว่างหนึ่งความเชื่อกับหนึ่งพฤติกรรม
123
3.จริยธรรมและผู้จัดการทรัพยากรมนุษย์
(Ethics and Human Resource Manager) งานของทรัพยากรมนุษย์มีหลักการเบื้องต้นว่า “ ในฐานะที่เราเป็นทรัพยากรมนุษย์มืออาชีพ เรามีความรับผิดชอบในการเพิ่มมูลค่าให้กับองค์การ ซึ่งจะบริการและเสริมสร้างหลักจริยธรรมให้ประสบความสำเร็จแก่องค์การ ” ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์สามารถให้การสนับสนุนวัฒนธรรมทางจริยธรรม หน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญทรัพยากรมนุษย์จะทำงานสัมพันธ์กับพนักงาน สามารถปลูกฝังนิสัยและนำจริยธรรมเข้าสู่วัฒนธรรมองค์การได้ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางจริยธรรมภายในองค์การ
124
4.การประมวลหลักจริยธรรม (Code of Ethics)
บริษัทส่วนใหญ่มีหลักจริยธรรม สมาคมอุตสาหกรรมจำนวน มากได้ทำการปรับและแนะนำให้กับสมาชิกในหลักการเบื้องต้นเข้าสู่ ประเพณีปฏิบัติขององค์การ หลักจริยธรรมที่ทรัพยากรมนุษย์ควรรู้ ประกอบไปด้วย ความรับผิดชอบอย่างมืออาชีพ,การพัฒนาอย่างมืออาชีพ และจริยธรรมผู้นำ ควรมีการให้พนักงานได้รู้ถึงหลักจริยธรรมโดยเฉพาะใน องค์การขนาดใหญ่ควรมีผู้จัดการงานส่วนนี้ ผู้ที่ทำหน้าที่นี้ควรเลือกจาก ประธานของฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์และแต่งตั้งคณะกรรมการ สรรหาจากฝ่ายต่างๆขององค์การ
125
5.จริยธรรมฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Ethics)
จริยธรรมผ่ายทรัพยากรมนุษย์ คือหลักการเบื้องต้นที่ประยุกต์ ใช้ของทรัพยากรมนุษย์ ความสัมพันธ์และพฤติกรรม องค์การจำเป็นที่จะต้องเลือกที่จะจ้างคนดี มีความสามารถและมี จริยธรรม ผู้มีการศึกษาจะหางานจากองค์การที่มีจริยธรรมบางคนอาจ หาข้อมูลจากพนักงานเพื่อให้แน่ใจถึงการมีจริยธรรมขององค์การในการ ปฏิบัติต่อพนักงาน นอกจากนี้ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์จะต้องมีจริยธรรมของ การจ่ายค่าตอบแทนด้วย
126
6.การอบรมจริยธรรม (Ethics Training)
เป็นโปรแกรมการอบรมจริยธรรมเพื่อต้องการป้องกันและ ตรวจจับการกระทำผิด มีอยู่ 4 ประการ 1. ให้การศึกษากับพนักงานตามมาตรฐานบริษัท 2. ระเบียบต่างๆ 3. การประกาศ สิ่งพิมพ์ ต่างๆ 4. การอบรมพนักงาน การอบรมจริยธรรมไม่เพียงแต่จะอบรมเฉพาะผู้บริหารระดับ บนเท่านั้น ควรจะอบรมให้กับทุกๆคนในองค์การ เพราะทุกๆคนใน องค์การควรจะมีเป้าหมายทางจริยธรรมเดียวกัน
127
7.การเป็นมืออาชีพในการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ลักษณะของการเป็นมืออาชีพด้วยความรู้และขบวนการในการ กำหนดถึงความชำนาญของผู้ปฏิบัติ มาตรฐานการปฏิบัติสร้างขึ้นจากผู้ร่วม อาชีพ สายงานทรัพยากรมนุษย์หลายองค์การที่มีชื่อเสียงสร้างอาชีพให้ พนักงานมีหลายองค์การด้วยกัน เช่น 1. สมาคมการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ( Society of Human Resource Management : SHRM ) 2. สถาบันให้การรับรองทรัพยากรมนุษย์ ( Human Resource Certification Institute : HRCI ) 3. การฝึกอบรมและการพัฒนาของสังคมอเมริกัน ( American Society for Training And Development : ASTD )
128
8.ความรับผิดชอบทางสังคม(Corporate Social Responsibility ;CSR)
เมื่อบริษัทที่ผู้บริหารมีจิตสำนึกด้านความรับผิดชอบต่อสภาวะ แวดล้อมและสังคม ก็กล่าวได้ว่าองค์การนี้มีความรับผิดชอบต่อสังคม คือ หน้าที่ของผู้บริหารที่ต้องป้องกันและรักษาผลประโยชน์ของคนภาย ในองค์การและผู้อื่น ผู้บริหารสูงสุดจะกำหนดให้องค์การมีความรับผิด ชอบต่อสังคม มีผู้กล่าวถึงพฤติกรรมขององค์การที่มีต่อสังคมลดน้อยลง ทำให้ทางการต้องออกกฏหมายเพื่อปกป้องสังคมขึ้น
129
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) องค์การไม่ว่าจะเป็นบริษัทที่หวังผลกำไรหรือไม่ก็ตามจะมีผู้ได้ รับผลประโยชน์ร่วมอยู่ในธุรกิจเป็นจำนวนมาก ผลประโยชน์ที่ได้ คือ กำไรที่ได้จากผลประกอบการขององค์การ บางองค์การได้แบ่งผลกำไรไปสู่สังคมเช่น มหาวิทยาลัย โบสถ์ เป็นต้น เงื่อนไขทางสังคมขึ้นอยู่กับสังคมนั้นๆ และมักจะหวังความ ช่วยเหลือจากองค์การมากกว่ากฏหมายกำหนด
130
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) Individuals Government The Organization Other Organization Society
131
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) 9.1 ภาระผูกพันต่อบุคคล (Obligations to Individuals) องค์การมี ความผูกพันต่อลูกจ้าง แต่ความหวังของลูกจ้างหวังจะได้ค่าตอบแทน ที่ยุติธรรม และได้รับค่าจ้างในวันหยุดวันลาตามสิทธิที่ตนควรได้รับ องค์การต้องมีความรับผิดชอบในส่วนนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของข้อ ตกลงทางสังคม 9.2 ภาระผูกพันกับองค์การอื่น (Obligations to Other Organization) ผู้บริหารควรจะให้ความสนใจในความสัมพันธ์กับองค์การอื่นเช่น คู่แข่ง เป็นต้น การทำการค้าย่อมมีการแข่งขัน และการแข่งขัน ควรตั้งอยู่บนพื้นฐานความซื่อสัตย์ บางองค์การได้แสดงความน่ารังเกียจ ในด้านการสรรหาจากคู่แข่ง
132
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) 9.3 ภาระผูกพันต่อรัฐบาล (Obligations to Government) รัฐบาลเป็น หน่วยที่สำคัญหน่วยหนึ่งในรูปแบบของการสัมพันธ์กับสังคม (Social Contract) รัฐบาลเป็นผู้ให้ใบอนุญาตในการประกอบธุรกิจ สิทธิบัตร และเครื่องหมายการค้า เป็นต้นโบสถ์หรือธุรกิจที่ไม่แสวง หากำไร การจัดตั้งและการดำเนินธุรกิจอยู่ภายใต้กฎหมาย เช่น กฎหมาย ว่าด้วยความเท่าเทียมกันในการจ้างงาน (Equal Employment Opportunity Commission) เป็นต้น
133
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) 9.4 ภาระผูกพันต่อสังคม (Obligations to Society in General) ความรับผิดชอบต่อธุรกิจสังคม คือการทำการผลิตและกระจายสินค้า และบริการสู่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพที่ดี และบริการที่มีมาตรฐาน ความต้องการที่ประชากรต้องการ เช่น อาหาร เสื่อผ้า ที่อยู่อาศัย และการศึกษา
134
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) สิ่งที่สังคมมีความคาดหวังจากธุรกิจคือ 1. การขจัดความยากจน 2. โครงการดูแลสุขภาพ 3. การคุ้มครองสิ่งแวดล้อมโดยลดมลพิษ 4. มีงานที่เพียงพอในสังคมเพื่อโอกาสทางการอาชีพ 5. การปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงาน 6. มีความปลอดภัย มีที่อยู่อาศัยที่ดี และการขนส่งที่มีประสิทธิภาพ
135
10.โปรแกรมการปฏิบัติการขององค์การที่มีต่อความรับผิดชอบต่อสังคม
(Implementing a Corporate Social Responsibility Program) บางองค์การที่ทำผิดจริยธรรม ทำให้ต้องมีการตรวจสอบเพื่อให้การ ปฏิบัติการขององค์การมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างแท้จริง ขั้นตอนที่ องค์การใช้เป็นโปรแกรมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม คือ 1. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบโปรแกรมและพัฒนาโครงสร้าง ผู้รับผิดชอบนี้ควร รายงานตรงต่อผู้บริหาร หรือกรรมการ 2. ทบทวนสิ่งที่องค์การปฏิบัติอยู่ที่เกี่ยวกับโปรแกรมนี้ 3. มีการกำหนดความคาดหวังจากผู้ถือหุ้น 4. ควรมีการเขียนนโยบายของบริษัทเป็นลายลักษณ์อักษรครอบคลุมถึง สิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน 5. ตั้งเป้าหมายและวางแผน
136
โปรแกรมการปฏิบัติการขององค์การที่มีต่อความรับผิดชอบต่อสังคม
(Implementing a Corporate Social Responsibility Program) 6. องค์การควรมีเป้าหมายในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ และควรมีหลัก ปฏิบัติเช่น ระยะเวลา 1-5 ปี ต้องมีการตรวจวัด เพื่อเป็นการตักเตือน และสร้างวิธีการทดสอบ 7. มีการติดต่อกับผู้ถือหุ้น ผู้บริหารการเงิน เกี่ยวกับทิศทางของการทำ โปรแกรมการปฏิบัติการขององค์การที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม 8. ควรมีการตรวจสอบความก้าวหน้าของโปรแกรม
137
Corporate Social Responsibility (CSR)
1. จริยธรรม(Ethics) 2. แบบอย่างของจริยธรรม (A Model of Ethics) 3. จริยธรรมและผู้จัดการทรัพยากรมนุษย์ (Ethics and Human Resource Manager) 4. การประมวลหลักจริยธรรม(Code of Ethics) 5. จริยธรรมฝ่ายทรัพยากรมนุษย์(Human Resource Ethics) 6. การอบรมจริยธรรม(Ethics Training) 7. การเป็นมืออาชีพในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 8. ความรับผิดชอบทางสังคม(Corporate Social Responsibility ;CSR) 9. การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม (Stakeholder Analysis and the Social contract) 10.โปรแกรมการปฏิบัติการขององค์การที่มีต่อความรับผิดชอบต่อสังคม (Implementing a Corporate Social Responsibility Program)
138
2.แบบอย่างของจริยธรรม (A Model of Ethics)
Source Of Ethical Guidance Our beliefs about what is Right or wrong Our action Type I Ethics Type II Lead to Determine Type I Ethics ; แบบอย่างของความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อส่วนบุคคลหรือองค์กับ ศีลธรรม,สิ่งที่ดีที่ถูกต้อง และความเชื่อดังกล่าวนำไปสู่ศีลธรรมที่ถูกต้อง Type II Ethics ; แบบอย่างของความสัมพันธ์ระหว่างหนึ่งความเชื่อกับหนึ่งพฤติกรรม
139
3.จริยธรรมและผู้จัดการทรัพยากรมนุษย์
(Ethics and Human Resource Manager) งานของทรัพยากรมนุษย์มีหลักการเบื้องต้นว่า “ ในฐานะที่เราเป็นทรัพยากรมนุษย์มืออาชีพ เรามีความรับผิดชอบในการเพิ่มมูลค่าให้กับองค์การ ซึ่งจะบริการและเสริมสร้างหลักจริยธรรมให้ประสบความสำเร็จแก่องค์การ ” ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์สามารถให้การสนับสนุนวัฒนธรรมทางจริยธรรม หน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญทรัพยากรมนุษย์จะทำงานสัมพันธ์กับพนักงาน สามารถปลูกฝังนิสัยและนำจริยธรรมเข้าสู่วัฒนธรรมองค์การได้ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางจริยธรรมภายในองค์การ
140
4.การประมวลหลักจริยธรรม (Code of Ethics)
บริษัทส่วนใหญ่มีหลักจริยธรรม สมาคมอุตสาหกรรมจำนวน มากได้ทำการปรับและแนะนำให้กับสมาชิกในหลักการเบื้องต้นเข้าสู่ ประเพณีปฏิบัติขององค์การ หลักจริยธรรมที่ทรัพยากรมนุษย์ควรรู้ ประกอบไปด้วย ความรับผิดชอบอย่างมืออาชีพ,การพัฒนาอย่างมืออาชีพ และจริยธรรมผู้นำ ควรมีการให้พนักงานได้รู้ถึงหลักจริยธรรมโดยเฉพาะใน องค์การขนาดใหญ่ควรมีผู้จัดการงานส่วนนี้ ผู้ที่ทำหน้าที่นี้ควรเลือกจาก ประธานของฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์และแต่งตั้งคณะกรรมการ สรรหาจากฝ่ายต่างๆขององค์การ
141
5.จริยธรรมฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Ethics)
จริยธรรมผ่ายทรัพยากรมนุษย์ คือหลักการเบื้องต้นที่ประยุกต์ ใช้ของทรัพยากรมนุษย์ ความสัมพันธ์และพฤติกรรม องค์การจำเป็นที่จะต้องเลือกที่จะจ้างคนดี มีความสามารถและมี จริยธรรม ผู้มีการศึกษาจะหางานจากองค์การที่มีจริยธรรมบางคนอาจ หาข้อมูลจากพนักงานเพื่อให้แน่ใจถึงการมีจริยธรรมขององค์การในการ ปฏิบัติต่อพนักงาน นอกจากนี้ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์จะต้องมีจริยธรรมของ การจ่ายค่าตอบแทนด้วย
142
6.การอบรมจริยธรรม (Ethics Training)
เป็นโปรแกรมการอบรมจริยธรรมเพื่อต้องการป้องกันและ ตรวจจับการกระทำผิด มีอยู่ 4 ประการ 1. ให้การศึกษากับพนักงานตามมาตรฐานบริษัท 2. ระเบียบต่างๆ 3. การประกาศ สิ่งพิมพ์ ต่างๆ 4. การอบรมพนักงาน การอบรมจริยธรรมไม่เพียงแต่จะอบรมเฉพาะผู้บริหารระดับ บนเท่านั้น ควรจะอบรมให้กับทุกๆคนในองค์การ เพราะทุกๆคนใน องค์การควรจะมีเป้าหมายทางจริยธรรมเดียวกัน
143
7.การเป็นมืออาชีพในการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ลักษณะของการเป็นมืออาชีพด้วยความรู้และขบวนการในการ กำหนดถึงความชำนาญของผู้ปฏิบัติ มาตรฐานการปฏิบัติสร้างขึ้นจากผู้ร่วม อาชีพ สายงานทรัพยากรมนุษย์หลายองค์การที่มีชื่อเสียงสร้างอาชีพให้ พนักงานมีหลายองค์การด้วยกัน เช่น 1. สมาคมการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ( Society of Human Resource Management : SHRM ) 2. สถาบันให้การรับรองทรัพยากรมนุษย์ ( Human Resource Certification Institute : HRCI ) 3. การฝึกอบรมและการพัฒนาของสังคมอเมริกัน ( American Society for Training And Development : ASTD )
144
8.ความรับผิดชอบทางสังคม(Corporate Social Responsibility ;CSR)
เมื่อบริษัทที่ผู้บริหารมีจิตสำนึกด้านความรับผิดชอบต่อสภาวะ แวดล้อมและสังคม ก็กล่าวได้ว่าองค์การนี้มีความรับผิดชอบต่อสังคม คือ หน้าที่ของผู้บริหารที่ต้องป้องกันและรักษาผลประโยชน์ของคนภาย ในองค์การและผู้อื่น ผู้บริหารสูงสุดจะกำหนดให้องค์การมีความรับผิด ชอบต่อสังคม มีผู้กล่าวถึงพฤติกรรมขององค์การที่มีต่อสังคมลดน้อยลง ทำให้ทางการต้องออกกฏหมายเพื่อปกป้องสังคมขึ้น
145
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) องค์การไม่ว่าจะเป็นบริษัทที่หวังผลกำไรหรือไม่ก็ตามจะมีผู้ได้ รับผลประโยชน์ร่วมอยู่ในธุรกิจเป็นจำนวนมาก ผลประโยชน์ที่ได้ คือ กำไรที่ได้จากผลประกอบการขององค์การ บางองค์การได้แบ่งผลกำไรไปสู่สังคมเช่น มหาวิทยาลัย โบสถ์ เป็นต้น เงื่อนไขทางสังคมขึ้นอยู่กับสังคมนั้นๆ และมักจะหวังความ ช่วยเหลือจากองค์การมากกว่ากฏหมายกำหนด
146
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) Individuals Government The Organization Other Organization Society
147
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) 9.1 ภาระผูกพันต่อบุคคล (Obligations to Individuals) องค์การมี ความผูกพันต่อลูกจ้าง แต่ความหวังของลูกจ้างหวังจะได้ค่าตอบแทน ที่ยุติธรรม และได้รับค่าจ้างในวันหยุดวันลาตามสิทธิที่ตนควรได้รับ องค์การต้องมีความรับผิดชอบในส่วนนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของข้อ ตกลงทางสังคม 9.2 ภาระผูกพันกับองค์การอื่น (Obligations to Other Organization) ผู้บริหารควรจะให้ความสนใจในความสัมพันธ์กับองค์การอื่นเช่น คู่แข่ง เป็นต้น การทำการค้าย่อมมีการแข่งขัน และการแข่งขัน ควรตั้งอยู่บนพื้นฐานความซื่อสัตย์ บางองค์การได้แสดงความน่ารังเกียจ ในด้านการสรรหาจากคู่แข่ง
148
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) 9.3 ภาระผูกพันต่อรัฐบาล (Obligations to Government) รัฐบาลเป็น หน่วยที่สำคัญหน่วยหนึ่งในรูปแบบของการสัมพันธ์กับสังคม (Social Contract) รัฐบาลเป็นผู้ให้ใบอนุญาตในการประกอบธุรกิจ สิทธิบัตร และเครื่องหมายการค้า เป็นต้นโบสถ์หรือธุรกิจที่ไม่แสวง หากำไร การจัดตั้งและการดำเนินธุรกิจอยู่ภายใต้กฎหมาย เช่น กฎหมาย ว่าด้วยความเท่าเทียมกันในการจ้างงาน (Equal Employment Opportunity Commission) เป็นต้น
149
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) 9.4 ภาระผูกพันต่อสังคม (Obligations to Society in General) ความรับผิดชอบต่อธุรกิจสังคม คือการทำการผลิตและกระจายสินค้า และบริการสู่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพที่ดี และบริการที่มีมาตรฐาน ความต้องการที่ประชากรต้องการ เช่น อาหาร เสื่อผ้า ที่อยู่อาศัย และการศึกษา
150
9.การวิเคราะห์ผู้ได้ผลประโยชน์และเงื่อนไขทางสังคม
(Stakeholder Analysis and the Social contract) สิ่งที่สังคมมีความคาดหวังจากธุรกิจคือ 1. การขจัดความยากจน 2. โครงการดูแลสุขภาพ 3. การคุ้มครองสิ่งแวดล้อมโดยลดมลพิษ 4. มีงานที่เพียงพอในสังคมเพื่อโอกาสทางการอาชีพ 5. การปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงาน 6. มีความปลอดภัย มีที่อยู่อาศัยที่ดี และการขนส่งที่มีประสิทธิภาพ
151
(Implementing a Corporate Social Responsibility Program)
10.โปรแกรมการปฏิบัติการขององค์การที่มีต่อความรับผิดชอบต่อสังคม (Implementing a Corporate Social Responsibility Program) บางองค์การที่ทำผิดจริยธรรม ทำให้ต้องมีการตรวจสอบเพื่อให้การ ปฏิบัติการขององค์การมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างแท้จริง ขั้นตอนที่ องค์การใช้เป็นโปรแกรมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม คือ 1. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบโปรแกรมและพัฒนาโครงสร้าง ผู้รับผิดชอบนี้ควร รายงานตรงต่อผู้บริหาร หรือกรรมการ 2. ทบทวนสิ่งที่องค์การปฏิบัติอยู่ที่เกี่ยวกับโปรแกรมนี้ 3. มีการกำหนดความคาดหวังจากผู้ถือหุ้น 4. ควรมีการเขียนนโยบายของบริษัทเป็นลายลักษณ์อักษรครอบคลุมถึง สิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน 5. ตั้งเป้าหมายและวางแผน
152
6. องค์การควรมีเป้าหมายในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ และควรมีหลัก
โปรแกรมการปฏิบัติการขององค์การที่มีต่อความรับผิดชอบต่อสังคม (Implementing a Corporate Social Responsibility Program) 6. องค์การควรมีเป้าหมายในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ และควรมีหลัก ปฏิบัติเช่น ระยะเวลา 1-5 ปี ต้องมีการตรวจวัด เพื่อเป็นการตักเตือน และสร้างวิธีการทดสอบ 7. มีการติดต่อกับผู้ถือหุ้น ผู้บริหารการเงิน เกี่ยวกับทิศทางของการทำ โปรแกรมการปฏิบัติการขององค์การที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม 8. ควรมีการตรวจสอบความก้าวหน้าของโปรแกรม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.