งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
ครั้งที่ ๒๓/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

2 วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ ๒๒/๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ สำเนาหนังสือสำนักงานประธานคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย ด่วนที่สุด ที่ สบอช(กบอ)/๗๖๖ เรื่อง รายงานผลการดำเนินการของคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๒๒/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๕ ๓.๒ สำเนาหนังสือกรมชลประทาน ด่วนที่สุด ที่ กษ ๐๓๓๑/๑๒๓๓๔ เรื่อง แจ้งเรื่องขอรับข้อมูลระดับความสูงภูมิประเทศ (LIDARDEM) ที่สำรวจโดย JICA ในปี ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ ร่างรายงานผลการปฏิบัติการร่วมระบายน้ำในพื้นที่ปลายน้ำ ๔.๒ ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ๔.๓ ร่างรายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ ณ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๕  ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ ๕.๑ นัดหมายการประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๒๔/๒๕๕๕ 2

3 ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา  ๔.๒ ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ฝ่ายเลขาฯ ประสานกรมชลประทานในการขอรับข้อมูลระดับความสูงภูมิประเทศ (LIDAR DEM) และนำเสนอมติการประชุมจากคณะอนุกรรมการทางวิชาการฯ เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงฤดูแล้งปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖ ให้ที่ประชุมทราบ ๒) กรมชลประทาน สรุปแผนการจัดสรรน้ำฤดูแล้ง ปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖ คณะอนุกรรมการฯ ร่วมพิจารณาร่างหนังสือตอบกลับ สบอช. เรื่องข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษา ติดตาม ตรวจสอบการฟื้นฟูวิกฤติอุทกภัย วุฒิสภา 3 3

4 ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา  ๔.๓ การวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 4 4

5 สถานการณ์น้ำเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
ข้อเสนอแนะจากคณะอนุฯ ๒๖ ต.ค. ๒๕๕๕ เฝ้าระวังฝนตกหนักช่วงวันที่ ๒๕-๒๖ ต.ค. ๕๕ หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงที่ ปกคลุมภาคใต้ตอนกลาง ได้เคลื่อนตัวลงสู่ทะเลอันดามัน ส่งผลให้เกิดฝนตกหนักบริเวณจังหวัดระนอง และพังงา สำหรับชาวเรือบริเวณทะเลอันดามันตอนบนตั้งแต่ระนองขึ้นไปควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ สถานการณ์น้ำน้อยวิกฤต ปัจจุบันอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่มีปริมาณน้ำอยู่ในเกณฑ์น้อยวิกฤต ได้แก่ อ่างเก็บน้ำเขื่อนลำปาวและอ่างเก็บน้ำเขื่อนห้วยหลวง ส่วนอ่างเก็บน้ำที่มีปริมาณน้ำกักเก็บอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างน้อย ได้แก่ อ่างเก็บน้ำเขื่อนลำตะคอง อ่างเก็บน้ำเขื่อนอุบลรัตน์ และอ่างเก็บน้ำเขื่อนปราณบุรี และเนื่องจากฤดูฝนสิ้นสุดลงแล้วทำให้แนวโน้มปริมาณน้ำไหลเข้าลดลงอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อเป็นการสำรองน้ำไว้ใช้ในการอุปโภคบริโภค รวมทั้งเพื่อรักษาระบบนิเวศ จึงขอให้ เกษตรกรในพื้นที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาห้วยหลวง และโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาหนองหวาย งดการเพาะปลูกพืช เพาะเลี้ยงกุ้ง ปลา ในช่วงฤดูแล้งปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖ เกษตรกรในพื้นที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำตะคอง งดเพาะปลูกข้าวนาปรัง แต่ยังคงสามารถเพาะปลูกพืชไร่ พืชผัก ในช่วงฤดูแล้งปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖

6 สถานการณ์น้ำเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
ข้อเสนอแนะจากคณะอนุฯ ๒๖ ต.ค. ๒๕๕๕ (ต่อ) ๒. สถานการณ์น้ำน้อยวิกฤต (ต่อ) เกษตรกรในพื้นที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาปราณบุรี งดเพาะปลูกพืชในช่วงฤดูแล้งปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖ เนื่องจากพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบนฝนตกน้อย ปริมาณน้ำท่าตามธรรมชาติมีน้อย ส่งผลกระทบต่อการปลูกข้าวในลุ่มน้ำปิงและการเพาะเลี้ยงปลาในกระชังบริเวณลุ่มน้ำน่าน จึงเสนอให้เพิ่มการระบายน้ำที่เขื่อนภูมิพลเป็นวันละ ๔ ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วนเขื่อนสิริกิติ์เพิ่มการระบายน้ำเป็นวันละ ๖ ล้านลูกบาศก์เมตร โดยเพิ่มการระบายของทั้งสองเขื่อนจนถึงวันที่ ๓๑ ต.ค. ๕๕ จากนั้นเสนอให้ระบายตามแผนระบายน้ำช่วงฤดูแล้งปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖

7 สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน
1 พฤศจิกายน 2555

8 รายงานสถานการณ์ฝน

9 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา
แผนภาพฝนสะสมรายวัน (25-27 ต.ค. 55) 25 ต.ค. 55 26 ต.ค. 55 27 ต.ค. 55 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

10 แผนภาพฝนสะสมรายวัน (28-31 ต.ค. 55)
28 ต.ค. 55 29 ต.ค. 55 30 ต.ค. 55 31 ต.ค. 55 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

11 แผนภาพฝนสะสมระหว่างวันที่ 25-31 ต.ค. 55
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

12 ปริมาณฝนสะสมย้อนหลัง
ย้อนหลัง 3 วัน ย้อนหลัง 7 วัน

13 รายงานสถานการณ์น้ำในเขื่อน

14 สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 64% (1 พ.ย. 55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำใช้การ 4,875 ล้าน ลบ.ม.(36%) 1 พ.ย. 55 ระบาย 26 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

15 สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 69% (1 พ.ย. 55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำใช้การ 3,737 ล้าน ลบ.ม.(39%) 1 พ.ย. 55 ระบาย 24 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

16 สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 99% (1 พ.ย. 55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำใช้การ 774 ล้าน ลบ.ม.(99%) 19 ต.ค. - 1 พ.ย. 55 ระบายวันละ 0.57 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

17 สถานการณ์น้ำเขื่อนลำปาว
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 19% (1 พ.ย. 55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำใช้การ 276 ล้าน ลบ.ม.(14%) 1 พ.ย. 55 ระบาย 4.73 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

18 สถานการณ์น้ำเขื่อนห้วยหลวง
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ไม่มีน้ำไหลเข้า ตั้งแต่ 12 ต.ค. 55จนถึงปัจจุบัน 31% (1 พ.ย. 55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำใช้การ 35 ล้าน ลบ.ม.(26%) 29 ต.ค. - 1 พ.ย. 55 ระบายวันละ 0.06 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

19 สถานการณ์น้ำเขื่อนลำตะคอง
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 51% (1 พ.ย. 55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำใช้การ 132 ล้าน ลบ.ม.(42%) 1 พ.ย. 55 ระบาย 0.86 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

20 สถานการณ์น้ำเขื่อนอุบลรัตน์
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 45% (1 พ.ย. 55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำใช้การ 511 ล้าน ลบ.ม.(21%) 1 พ.ย. 55 ระบาย 4.05 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

21 สถานการณ์น้ำเขื่อนปราณบุรี
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 48% (1 พ.ย. 55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำใช้การ 150 ล้าน ลบ.ม.(43%) 26 ต.ค. - 1 พ.ย. 55 ระบายวันละ 1.38 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

22 รายงานสถานการณ์น้ำท่า

23 แม่น้ำท่าจีน สถานี THA008- อ.หอมเกร็ด จ.นครปฐม
1.56 ม.รทก. (1/11/ น.)

24 แม่น้ำเจ้าพระยา สถานี C.2 – ค่ายจิรประวัติ
466 ลบ.ม./วินาที (1/11/55 )

25 แม่น้ำเจ้าพระยา สถานี C.13 – เขื่อนเจ้าพระยา
126 ลบ.ม./วินาที (31/10/55 )

26 การคาดการณ์ในสัปดาห์หน้า
สรุปสถานการณ์น้ำและ การคาดการณ์ในสัปดาห์หน้า

27 การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 3x3 กม
2 พ.ย. 55 3 พ.ย. 55 4 พ.ย. 55 H 11.4 รายละเอียดเพิ่มเติม 27

28 การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 9x9 กม
5 พ.ย. 55 6 พ.ย. 55 H 7 7 พ.ย. 55 8 พ.ย. 55 28 รายละเอียดเพิ่มเติม 28

29 การคาดการณ์ฝน 3 เดือนล่วงหน้า
NDJ 2012/2013 ที่มา: NCEP coupled forecast system model version 2 (CFSv2) ที่มา: ECMWF (The European Centre for Medium-Range Weather Forecasts)

30 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนภูมิพล
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน 34

31 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนสิริกิติ์
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน 35

32 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

33 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนลำปาว
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนลำปาว (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

34 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนห้วยหลวง
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนห้วยหลวง (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

35 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนลำตะคอง
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนลำตะคอง (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

36 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนอุบลรัตน์
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนอุบลรัตน์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

37 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนปราณบุรี
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนปราณบุรี (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

38 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนศรีนครินทร์
คาดการณ์ 72 ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนศรีนครินทร์ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนศรีนครินทร์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

39 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนวชิราลงกรณ
คาดการณ์ 32 ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนวชิราลงกรณ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนวชิราลงกรณ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

40 สถานการณ์น้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา
ที่มา : กรมชลประทาน

41 สภาพน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก-ตะวันตก
ที่มา : กรมชลประทาน

42 การวิเคราะห์และประเมิน สถานการณ์สมดุลน้ำประจำสัปดาห์
การวิเคราะห์และประเมิน สถานการณ์สมดุลน้ำประจำสัปดาห์

43 ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 1 พฤศจิกายน 2555
BK 1-11 25-31 ต.ค. 2555 BK 1-11 1-7 พ.ย. 2555

44 ข้อเสนอแนะจากคณะทำงาน
ข้อเสนอแนะจากคณะทำงานฯ ๑ พ.ย. ๒๕๕๕ ๑. เฝ้าระวังฝนตกหนักช่วงวันที่ ๑-๔ พ.ย. ๕๕ บริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออก เนื่องจากมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทย ภาคใต้ และทะเลอันดามันมีกำลังค่อนข้างแรง ทำให้ภาคใต้มีฝนตกหนาแน่น และมีฝนตกหนักบางแห่ง ๒. สถานการณ์น้ำน้อยวิกฤต ปัจจุบันอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่มีปริมาณน้ำอยู่ในเกณฑ์น้อยวิกฤต ได้แก่ อ่างเก็บน้ำเขื่อนลำปาว ส่วนอ่างเก็บน้ำที่มีปริมาณน้ำกักเก็บอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างน้อย ได้แก่ อ่างเก็บน้ำเขื่อนห้วยหลวง อ่างเก็บน้ำเขื่อนลำตะคอง อ่างเก็บน้ำเขื่อนอุบลรัตน์ และอ่างเก็บน้ำเขื่อนปราณบุรี และเนื่องจากฤดูฝนสิ้นสุดลงแล้วทำให้แนวโน้มปริมาณน้ำไหลเข้าลดลงอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น เพื่อเป็นการสำรองน้ำไว้ใช้ในการอุปโภคบริโภค รวมทั้งเพื่อรักษาระบบนิเวศ ทางกรมชลประทานจึงประกาศให้เกษตรกรในพื้นที่งดการปลูกข้าวนาปรัง และการเพาะเลี้ยงปลา เพื่อให้การจัดสรรน้ำเป็นไปตามแผนการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง และมีปริมาณน้ำพอเพียงต่อความต้องการ ๓. การบริหารจัดการน้ำในเขื่อน เพื่อให้การจัดสรรน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยาเป็นไปอย่างเพียงพอและเหมาะสม กรมชลประทานจึงได้จัดทำแผนการปลูกพืชฤดูแล้ง ๒๕๕๕/๒๕๕๖ ขึ้นเพื่อใช้ในการจัดสรรน้ำอย่างเป็นระบบและเหมาะสมกับปริมาณน้ำต้นทุน โดยในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๕ เสนอให้ระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพลและอ่างเก็บน้ำเขื่อนสิริกิติ์รวมกันปริมาณ ๑,๐๑๘ ล้านลูกบาศก์เมตร ตามแผนการจัดสรรน้ำสำหรับช่วงต้นฤดูการเพาะปลูก 49

45 ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ
ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) ๕.๑ นัดหมายการประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและ จัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๒๔/๒๕๕๕ สรุปข้อเสนอแนะจากที่ประชุมคณะอนุกรรมการเสนอต่อ กบอ. วันศุกร์ที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งต่อไป วันศุกร์ที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. สถานที่ 50 50

46 จบการรายงาน

47


ดาวน์โหลด ppt ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google