งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
(PMQA: Public Sector Management Quality Award) บรรยายเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2551 โดย รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

2 หัวข้อบรรยาย เวลา กิจกรรม
เวลา กิจกรรม ภาพรวมของการพัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ เนื้อหาเกณฑ์ เทคนิคในแต่ละหมวด พักรับประทานอาหารว่าง กระบวนการในการนำไปใช้ บทบาทผู้บริหาร ปัจจัยแห่งความสำเร็จ PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

3 เป้าหมายยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550)
เป้าหมายยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ – พ.ศ. 2550) การพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น Better service Quality การปรับบทบาทภารกิจและขนาดให้มีความเหมาะสม Rightsizing การยกระดับขีดความสามารถของข้าราชการ High Performance การตอบสนองระบอบประชาธิปไตย Responsive to Democratic Governance

4 พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี
เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น

5 Tons of Tool ERM KM CM ISO 6 Sigma TQM ¤Φξ LEAN BSC ABC RBM EVA GG

6 จะมีเครื่องมืออะไรมาช่วยในการบริหารให้บรรลุพันธกิจและบูรณาการเรื่องเหล่านี้เข้าด้วยกัน?

7 การบริหารจัดการภาครัฐ
Public Sector Management Quality Award ระบบคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

8 ความเป็นมา พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ. 2546
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ ) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย

9 + เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ยุทธศาสตร์
การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ ) พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 + เกิดประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ประสิทธิภาพและคุ้มค่า ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ปรับปรุงภารกิจให้ทันสมัย อำนวยความสะดวกประชาชน ประเมินผลการปฏิบัติราชการ การปรับเปลี่ยนกระบวนการและ วิธีการทำงานเพื่อยกระดับขีด ความสามารถและมาตรฐาน การทำงานของหน่วยราชการให้อยู่ ในระดับเทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยยึดหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

10 วัตถุประสงค์ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ

11 แนวคิดคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การจัดการเชิงกลยุทธ์
ภาคเอกชน ภาครัฐ วางยุทธศาสตร์ รางวัลคุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) ให้มีการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี สร้างกลไกการผลักดัน การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กับการวัดผลสัมฤทธิ์ครอบคลุม 4 มิติ และให้มีการทำคำรับรองฯ รางวัลคุณภาพ แห่งชาติ (TQA) นำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ เกณฑ์คุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ (Criteria) ให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี/รายปี วางวิธีการจัดสรรงบประมาณ การปรับแต่งองคาพยพของระบบราชการ: กระบวนงาน โครงสร้าง เทคโนโลยี คน เพื่อผลักดันการทำงานตามยุทธศาสตร์ MBNQA TQA + พรฎ. GG การควบคุมเชิงยุทธศาสตร์ วางระบบให้มีการประเมินผลตนเอง การตรวจสอบผลการดำเนินการตามคำรับรอง การวางระบบการบริหารการเงิน การคลัง (GFMIS) PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

12 ที่มาของเกณฑ์

13 รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

14 เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ Thailand Quality Award

15 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

16 รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ
Canada Award (1984) Malcolm Baldrige National Quality Award (1987) Australian Business Excellence Awards (1988) European Foundation Quality Management (1991) Singapore Quality Award (1994) Japan Quality Award (1995) Thailand Quality Award (2001) Canada USA Australia EU Singapore Japan Thailand PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

17 รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ
ปีริเริ่ม เกณฑ์ภาครัฐ Winner Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award Thailand Quality Award 1984 1987 1988 1991 1994 1995 2001 2007 2003 2005 2000 2002 2006 - PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

18 วัตถุประสงค์ของรางวัลคุณภาพการจัดการภาครัฐ

19 European Public Sector Award (EPSA)
The objective of the European Public Sector Award - EPSA for short – is to motivate public authorities all over Europe to exchange best practice with one another and jointly advance the modernisation process. The EPSA unites the best and most innovative operators in the public sector, thereby creating a new-style learning platform. The EPSA is open to all fields of public administration which managed to achieve extraordinary results thanks to systematic improvements.

20 European Public Sector Award (EPSA)
เพื่อกระตุ้นการแลกเปลี่ยนของ Best Practices และกระบวนการพัฒนาองค์กรไปสู่ความทันสมัย สร้างเวทีสำหรับการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ เชิดชูและให้กำลังใจแก่องค์กรภาครัฐทั้งหลายที่มีความสามารถในการบริหารจัดการจนได้รับผลลัพท์ที่ดีเยี่ยมจากการปรับปรุงอย่างเป็นระบบ

21 Baldrige – Public Sector
Using the Baldrige criteria, public sector organizations have….. strengthened their leadership structures, built workable and sensible organizational and administrative strategies, focused their attention more carefully and astutely on their customers (viz., taxpayers or the citizenry at-large), utilized data and information in better ways, improved human resource management, and, perhaps most importantly, shifted from emphasis on simply effort to that of results. 

22 Baldrige – Public Sector
เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับโครงสร้างของระบบการนำ สร้างองค์กรและยุทธศาสตร์การบริหารที่ดีและทำงานได้ ใส่ใจกับคุณประโยชน์ของลูกค้าและผู้เสียภาษี ปรับปรุงการจัดการด้านทรัพยากรบุคคล เปลี่ยนความคิดจากแค่เพียงทำงานมาสู่การมุ่งเน้นผลลัพท์

23 เป้าหมายของPMQA เป้าหมายการยกระดับและพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ที่ก.พ.ร.กำหนดในปี 2551 คือส่วนราชการสามารถยกระดับและพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ทั้งนี้ส่วนราชการใดที่มีความพร้อมและมีระบบการบริหารจัดการอยู่ในระดับสูงมากเป็นพิเศษ ก.พ.ร.ก็จะสนับสนุนให้สมัครเพื่อขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award - PMQA)

24 ความสามารถในการแข่งขันระดับโลก

25 ความสามารถในการแข่งขันของไทย

26 ผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550)
ผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ – พ.ศ. 2550)

27 ผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) ต่อ
ผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ – พ.ศ. 2550) ต่อ

28 ผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) ต่อ
ผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ – พ.ศ. 2550) ต่อ

29 วิสัยทัศน์ใหม่ปี คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ได้กำหนดวิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการ ในช่วงระยะปี พ.ศ พ.ศ ไว้ดังต่อไปนี้ ระบบราชการไทยมุ่งเน้นประโยชน์สุขของประชาชน และรักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ มีขีดสมรรถนะสูง สามารถเรียนรู้ ปรับตัวและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ยึดมั่นในหลักจริยธรรมและธรรมาภิบาล

30 ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ 2551-2555
สามารถแยกออกได้เป็น 4 ประการ ดังนี้ 1. ยกระดับการให้บริการและการทำงาน เพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อน หลากหลายและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว 2. ปรับรูปแบบการทำงานให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม 3. มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถ ในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ 4. สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม

31

32 ประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด

33 ประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด

34

35 เป้าหมายของPMQA(ใหม่)
เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและส่งมอบบริการสาธารณะ ซึ่งอาศัยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ กำหนดแนวทางและวิธีการ การนำไปปฏิบัติและติดตามประเมินผล การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปบทเรียน บูรณาการ และการสร้างนวัตกรรม โดยเฉพาะการเทียบเคียงขีดสมรรถนะ (Benchmarking) กับภาคเอกชน หรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่มี ประสิทธิภาพสูงกว่า หรือนำกรณีการปฏิบัติงานที่มีความเป็นเลิศ (Best Practices) มาเป็นแบบอย่าง

36 พรฎ. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การจัดการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร องค์กรพัฒนา PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

37 ลักษณะสำคัญของเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ เกณฑ์สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงาน เพื่อเสริมสร้างให้ส่วนราชการทำการปรับปรุง ทั้งอย่างค่อยเป็นค่อยไปและอย่างก้าวกระโดด เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์เพื่อให้เกิดการบูรณาการ เชื่อมโยงและใช้ตัวชี้วัดที่มาจากยุทธศาสตร์และกลยุทธ์และกระบวนการ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดำเนินการโดยรวม และระหว่างหัวข้อต่าง ๆ ในเกณฑ์ PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

38 ความเชื่อมโยงของระบบจัดการ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) พัฒนาองค์กร Capacity Building คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management e-government MIS PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

39 ค่านิยมหลักและแนวคิด (Core Values and Concepts)

40 11 ค่านิยมหลัก การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership)
11 ค่านิยมหลัก การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership) ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Public Responsibility and Citizenship) การให้ความสำคัญกับพนักงานและคู่ความร่วมมือ (Valuing Employees and Partners) ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นผู้รับบริการ (Customer-Driven Excellence) การมุ่งเน้นอนาคต (Focus on the Future) ความคล่องตัว (Agility) PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

41 11 ค่านิยมหลัก(ต่อ) การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล
11 ค่านิยมหลัก(ต่อ) การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล (Organizational and Personal Learning) การจัดการเพื่อนวัตกรรม (Managing for Innovation) การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง (Management by Fact) การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า (Focus on Results and Creating Value) มุมมองเชิงระบบ (Systems Perspective)

42 พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี
Focus on customers Management by Fact เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน Social Public Responsibility ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ Focus on Results and Creating Value ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ Focus on the Future Agility Managing for Innovation ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น

43 ระบบราชการไทยที่พึงประสงค์จะต้องให้คุณค่าความสำคัญและยึดมั่นในปรัชญา หลักการ และแนวทาง ดังต่อไปนี้
ต้องให้ประชาชนเป็น “ศูนย์กลาง” ในการทำงาน โดยต้องรับฟังความคิดเห็น ตอบสนองความต้องการและอำนวยประโยชน์ ลดขั้นตอนและภาระในการติดต่อของประชาชน มีระบบการแก้ไขปัญหาและรับเรื่องราวร้องทุกข์ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนเป็นที่พึ่งของประชาชนในยามมีปัญหาและความเดือดร้อน ปรับเปลี่ยนบทบาทของระบบราชการให้เป็นผู้สนับสนุนและอำนวยความสะดวก ไม่เป็นผู้ดำเนินการเสียเองหรือคงมีอำนาจมากจนเกินไป รวมทั้งต้องมีขนาดกำลังคนและใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม ไม่พยายามเข้าแทรกแซงและขยายตัวเกินไปจนเป็นภาระของประเทศ หรือมีผลกระทบต่อภาคส่วนอื่นและสิทธิเสรีภาพของประชาชน

44 ปรัชญา หลักการ และแนวทาง(ต่อ)
ประสานการทำงานกับผู้บริหารราชการแผ่นดินฝ่ายการเมืองเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ สามารถให้ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบายอย่างมีเหตุผล ตั้งมั่นในความถูกต้อง เป็นกลาง ปราศจากอคติ และอยู่บนพื้นฐานของหลักจรรยาบรรณวิชาชีพ นอกจากนี้ยังควรต้องให้การยอมรับและไม่เข้าไปแทรกแซงบทบาทและอำนาจหน้าที่ซึ่งกันและกัน มีความพร้อมและทัศนคติในการทำงานเป็นทีม สามารถสร้างเครือข่ายร่วมมือกับภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม รวมทั้งยังต้องสามารถบูรณาการและเชื่อมโยงการทำงานภายในระบบราชการเองในทุกระดับเข้าด้วยกัน มีขีดความสามารถในการรับรู้ เรียนรู้ มองไปข้างหน้าและคาดการณ์ล่วงหน้า มีความยืดหยุ่นคล่องตัว รวดเร็ว สามารถคิดริเริ่มและสร้างนวัตกรรม (agility) รวมถึงการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อขับเคลื่อนและปรับตัวได้อย่างราบรื่นเหมาะสม ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนของสภาพแวดล้อม

45 ปรัชญา หลักการ และแนวทาง(ต่อ)
สร้างระบบธรรมาภิบาลในการกำกับดูแลตนเองที่ดีเพื่อให้เกิดความโปร่งใสและความเชื่อมั่นศรัทธา เปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ลดการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจ รวมทั้งต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นแบบอย่างของการประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย ไม่ใช่เป็นผู้สร้างปัญหาหรือภาระแก่สังคมเสียเอง มีความเป็นเลิศในการปฏิบัติงานและสร้างคุณค่าต่อสังคม ในการทำงานและการตัดสินใจต้องอาศัยข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง แน่นอน และทันกาล โดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้ในการทำงาน รวมทั้งต้องมีเป้าหมายในการทำงานที่ชัดเจนและสามารถตรวจสอบวัดผลสัมฤทธิ์ได้ แสวงหา พัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ค่านิยมและกระบวนทัศน์อันเหมาะสมและเอื้อต่อการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ ตลอดจนทำให้บุคลากรในระบบราชการตั้งมั่นอยู่ในศักดิ์ศรีและจรรยา สามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนจากหน้าที่ทางการงาน ไม่แสวงหาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นในทางมิชอบ ที่มา: แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ พ.ศ. 2555) หน้า 27

46 ส่วนประกอบพื้นฐาน ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่เป็นกระบวนการ
พื้นฐานด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร ความสัมพันธ์กับกลุ่มต่างๆในระดับองค์กร สภาพการแข่งขันและความท้าทาย ส่วนที่เป็นกระบวนการ ระบบการปฏิบัติการทั้ง 6 ส่วนคือ เกณฑ์ข้อ1 - 6 ระบบผู้นำ การวางแผนกลยุทธ์ การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด การวัดการวิเคราะห์และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคลากร การจัดการกระบวนการ ส่วนที่เป็นผลลัพท์ เกณฑ์ข้อ7 ผลลัพท์ใน 4 มิติ ประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพ การพัฒนาองค์กร

47 ลักษณะสำคัญขององค์กรคืออะไร?
ลักษณะสำคัญขององค์กรคือ การสรุปภาพรวมขององค์กร ว่าด้วยสิ่งสำคัญที่มีอิทธิพลต่อ - วิธีการดำเนินการ - ผู้รับบริการ - อนาคตขององค์กรและความยั่งยืนของการพัฒนา สิ่งเหล่านี้กำหนดบริบทของระบบบริหารจัดการขององค์กร

48 ลักษณะสำคัญขององค์กร
ทำให้เข้าใจถึงพื้นฐานของส่วนราชการและสิ่งที่ส่วนราชการนั้นเห็นว่ามีความสำคัญ ช่วยในการระบุข้อมูลสำคัญที่อาจขาดหายไป และทำให้เกิดการมุ่งเน้นที่ผลสำเร็จของกระบวนการ และผลลัพธ์การดำเนินการ เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง หากพบว่า เรื่องใดมีข้อมูลไม่เพียงพอหรือข้อมูลขัดแย้งกัน ส่วนราชการสามารถนำเรื่องนั้นไปจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปรับปรุง โดยยังไม่ต้องประเมินตนเองต่อไป

49 ลักษณะสำคัญขององค์กร
1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

50 1. ลักษณะองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ

51 1. ลักษณะองค์กร ข. ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร

52 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน

53 2. ความท้าทายต่อองค์กร ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

54 ท่านตอบคำถามในโครงร่างองค์กรได้ครบหรือไม่
คำถามใดที่ท่านคิดว่าตอบยากที่สุด ท่านจะตอบคำถามในโครงร่างองค์กรให้ครบได้อย่างไร มีความจำเป็นหรือไม่ที่จะต้องตอบให้ครบทุกคำถามในโครงร่างองค์กร

55 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจประเมินการดำเนินการของส่วนราชการในประเด็นต่าง ๆ ตามหมวดของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทำให้เห็นโอกาสในการปรับปรุงกระบวนการของส่วนราชการ นำไปสู่การยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่อไป

56 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
มีทั้งหมด 7 หมวด ได้แก่ หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ

57 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
หมวด 1 – 6 การอธิบายกระบวนการและรายละเอียดของขั้นตอนการดำเนินการ หมวด 7 เป็นผลการดำเนินการ PMQA กับการบริหารองค์กร- รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม

58 รายละเอียดเนื้อหาของเกณฑ์
ดัดแปลงมาจากเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ TQA โดยใช้คำพูดและเนื้อหาให้เหมาะสมกับระบบราชการ ผลลัพท์ใน 4 มิติ ตามตัวชี้วัดของ ก.พ.ร.

59 ลักษณะของเกณฑ์ ประกอบด้วย หมวด หัวข้อ ประเด็นที่พิจารณา และ คำถาม
คำถามในแต่ละข้อเป็นแนวทางการประเมินตนเองอย่างเป็นระบบเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ

60 องค์ประกอบของเกณฑ์ 1. การนำองค์กร 7 หมวด 17 หัวข้อ 1.1 การนำองค์กร
1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 17 หัวข้อ 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 105 คำถาม (1) (2)

61 เนื้อหาของเกณฑ์ประกอบด้วยคำถามในประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงานภายในองค์กรที่มุ่งเน้นไปสู่ความเป็นเลิศ

62 กระบวนการเหล่านี้ต้องมีลักษณะการดำเนินการที่เป็นระบบ(Systematic) และนำไปสู่ผลลัพท์การดำเนินการที่ดีเลิศตามบริบทขององค์กร

63 ประเภทคำถาม : อะไร / อย่างไร
อะไร (WHAT) ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการหลักและวิธีปฏิบัติงาน ของกระบวนการนั้น ผล แผนงาน เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัดที่สำคัญ อย่างไร (HOW) ให้ข้อมูลของกระบวนการที่สำคัญ เช่น วิธีการ ตัวชี้วัด การนำไปปฏิบัติ และปัจจัยด้านการประเมินผล การปรับปรุงและการเรียนรู้ คำถาม เปรียบเสมือนข้อชี้แนะให้องค์กรพิจารณาตนเองในการปฎิบัติงาน

64 ตัวอย่างคำถาม “อะไร” - พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมายของส่วนราชการ
คืออะไรบ้าง กระบวนการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมาย ของส่วนราชการในการจัดการกับผลกระทบ ในทางลบที่เกิดขึ้นคืออะไร ตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารของส่วนราชการทบทวน เป็นประจำมีอะไรบ้าง

65 ตัวอย่างคำถาม “อย่างไร”
(1)-ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการกำหนด ในเรื่องวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และผลการดำเนินการที่คาดหวังไว้ รวมทั้งการถ่ายทอด ให้บุคลากรในส่วนราชการนำไปปฏิบัติในการกำหนด ผลการดำเนินการดังกล่าว ผู้บริหารของส่วนราชการได้คำนึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยยึดหลัก ความโปร่งใสและความชัดเจนอย่างไร -ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการสื่อสาร ในเรื่องดังกล่าวแบบ 2 ทิศทางอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมไปสู่บุคลากรทุกคน รวมทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่สำคัญ โดยผ่านระบบการนำองค์กร

66 ตัวอักษรที่เป็นตัวเข้มและเอียง เช่น “ผู้บริหารของส่วนราชการ” จะมีคำอธิบายเพิ่มเติมที่ “หมายเหตุ” ซึ่งปรากฏอยู่ที่ท้ายของเกณฑ์แต่ละหัวข้อ โดยมีจุดประสงค์ 3 ประการ ดังนี้ (1) อธิบายข้อกำหนดของแต่ละหัวข้อให้ชัดเจน ซึ่งใช้เฉพาะการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (2) แนะนำวิธีการตอบในแต่ละหัวข้อของเกณฑ์ (3) ชี้ให้เห็นความเชื่อมโยงที่สำคัญกับหัวข้ออื่น เครื่องหมายดอกจัน “(*)” ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำถาม หมายถึงให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น

67 “อะไร” และ “อย่างไร” ในคำถามของโครงร่างองค์กรเป็นคำถาม “อะไร” หรือ What ทั้งหมด ในหมวด 1 – 6 มีคำถาม “อะไร” อยู่เพียง 25 แห่ง ส่วนใหญ่อยู่ในหมวด 2

68 หมวด 1 : การนำองค์กร หมวดการนำองค์กรเป็นการตรวจประเมินว่า ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไร ในเรื่องวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และความคาดหวังในผลการดำเนินการ รวมถึงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหลาย การกระจายอำนาจการตัดสินใจ การสร้างนวัตกรรม และการเรียนรู้ในส่วนราชการ รวมทั้งตรวจประเมินว่าส่วนราชการ มีการกำกับดูแลตนเองที่ดี และดำเนินการเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชนอย่างไร

69 หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนิน-การของ ส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนิน-การอย่างมี จริยธรรม ค. การให้ การสนับสนุนต่อชุมชน ที่สำคัญ การกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยมและผลการดำเนินการ และสื่อสาร และถ่ายทอด ไปสู่การปฏิบัติ การสร้างบรรยากาศให้เกิดการกระจายอำนาจการตัดสินใจ นวัตกรรม ความคล่องตัว การเรียนรู้ ถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม ความรับผิดชอบด้านการดำเนินการ ด้านการเงิน และการปกป้องผลประโยชน์ ของประเทศ การทบทวน ผลการดำเนินการ และใช้มาประเมินความสำเร็จ และตอบสนองความต้องการ ที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวชี้วัดที่ทบทวน และผลการทบทวนที่ผานมา การดำเนินการ ในกรณีที่การปฏิบัติงาน มีผลกระทบ ต่อสังคม กระบวนการ ตัวชี้วัด และเป้าประสงค์ในการจัดการความเสี่ยง การคาดการณ์ล่วงหน้า และเตรียมการ เขิงรุก การกำหนดวิธีปฏิบัติในการดำเนินการอย่างมีจริยธรรม การสนับสนุน และสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน ที่สำคัญ และการที่ผู้บริหารและบุคลากร มีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชน

70 หมวด 1 การนำองค์กร การกำหนดทิศทางของส่วนราชการ
(1) - ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการกำหนดเรื่องวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และผลการดำเนินการที่คาดหวังไว้ รวมทั้งการถ่ายทอดให้บุคคลในส่วนราชการนำไปปฏิบัติ ในการกำหนดผลการดำเนินการดังกล่าว ผู้บริหารของส่วนราชการได้คำนึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยยึดหลัก ความโปร่งใสและความชัดเจนอย่างไร - ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการสื่อสารในเรื่องดังกล่าวแบบ 2 ทิศทางอย่างชัดเจน และเป็นรูปธรรมไปสู่บุคลากรทุกคน รวมทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ โดยผ่านระบบการนำองค์กร

71 หมวด 1 การนำองค์กร (2) - ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการสร้างบรรยากาศ เพื่อให้เกิดการกระจายอำนาจในการตัดสินใจ นวัตกรรม และความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ให้เกิดการเรียนรู้ ทั้งในระดับส่วนราชการ และผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งส่งเสริมให้บุคลากรทำงานอย่างถูกต้องตามกฎระเบียบและหลักจริยธรรม

72 หมวด 1 การนำองค์กร ข. การกำกับดูแลตนเองที่ดี (3)
ในการกำกับดูแลตนเองที่ดี ส่วนราชการและผู้บริหารดำเนินการอย่างไรในเรื่องที่สำคัญต่อไปนี้ - ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงานของส่วนราชการ - ความรับผิดชอบด้านการเงิน และการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ - การปกป้องผลประโยชน์ของประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

73 หมวด 1 การนำองค์กร ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ
(4) - ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ ผู้บริหารของส่วนราชการใช้ผลการประเมินและทบทวนดังกล่าวมาประเมินความสำเร็จของการบรรลุเป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ของส่วนราชการอย่างไร - ผู้บริหารของส่วนราชการนำผลการประเมินและทบทวนนี้มาใช้ในการประเมินความสามารถในการตอบสนองความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปของส่วนราชการอย่างไร

74 หมวด 1 การนำองค์กร (5) - ตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารของส่วนราชการทบทวนเป็นประจำมีอะไรบ้าง - ผลการทบทวนที่ผ่านมาเป็นอย่างไร

75 หมวด 1 การนำองค์กร (6) - ผู้บริหารของส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการนำผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและอย่างก้าวกระโดด รวมทั้งใช้เป็นโอกาสในการสร้างนวัตกรรม - ผู้บริหารของส่วนราชการใช้วิธีการอย่างไรในการนำผลการทบทวนไปปรับปรุงและนำไปสู่การปฏิบัติทั่วทั้งส่วนราชการ รวมถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

76 - ผู้บริหารของส่วนราชการในแต่ละระดับได้รับการประเมินผลงานอย่างไร
หมวด 1 การนำองค์กร (7) - ผู้บริหารของส่วนราชการในแต่ละระดับได้รับการประเมินผลงานอย่างไร - ส่วนราชการนำผลจากการประเมินผลงานของผู้บริหารไปปรับปรุงระบบการนำองค์กรของผู้บริหารทุกระดับ อย่างไร

77 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. ความรับผิดชอบต่อสังคม
หมวด 1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. ความรับผิดชอบต่อสังคม (8) ในกรณีที่การบริการและการปฏิบัติงานมีผลกระทบในทางลบต่อสังคมส่วนราชการดำเนินการอย่างไร (9) กระบวนการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายของส่วนราชการในการจัดการกับผลกระทบในทางลบที่เกิดขึ้นคืออะไร

78 หมวด 1 การนำองค์กร (10) - ส่วนราชการได้คาดการณ์ล่วงหน้าถึงผลกระทบในทางลบของการบริการและการปฏิบัติงานที่จะเกิดขึ้นต่อสังคมทั้งในปัจจุบัน และอนาคตอย่างไร - ส่วนราชการมีการเตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าวอย่างไร

79 ข. การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม
หมวด 1 การนำองค์กร ข. การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม (11) ผู้บริหารของส่วนราชการได้กำหนดวิธีปฏิบัติเพื่อให้ส่วนราชการมีการดำเนินการอย่างมีจริยธรรมอย่างไร

80 ค. การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ
หมวด 1 การนำองค์กร ค. การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ (12) ส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนที่สำคัญต่อส่วนราชการ ชุมชนใดที่สำคัญกับส่วนราชการของท่าน และมีวิธีเลือกชุมชนดังกล่าวอย่างไร - มีวิธีการอย่างไรในการเลือกกิจกรรมที่จะสนับสนุนชุมชน - ผู้บริหารของส่วนราชการและบุคลากรมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาชุมชนดังกล่าวอย่างไร

81 หมวด 2 : การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
ในหมวดการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เป็นการตรวจประเมิน วิธีการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลัก รวมทั้งแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ และการถ่ายทอดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลัก รวมถึงแผนปฏิบัติราชการที่ได้จัดทำไว้ เพื่อนำไปปฏิบัติ และการวัดผลความก้าวหน้า

82 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ กระบวนการวางแผน ยุทธศาสตร์ การรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล และสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์ กลยุทธ์หลักตารางเวลาในการบรรลุ และลำดับความสำคัญ การให้ความสำคัญกับความท้าทายต่อองค์กร และความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฎิบัติ การจัดสรรทรัพยากร และทำให้ผล ที่เกิดขึ้นยั่งยืน แผนปฏิบัติการที่สำคัญ และการดำเนินการเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน และการทำให้ระบบการวัดผลเสริมให้ส่วนราชการมุ่งไปในแนวทางเดียวกัน การคาดการณ์ผลการ ดำเนินการ และเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์ ผลการดำเนินการ ที่ผ่านมา ผลการดำเนินการที่คาดไว้ของคู่แข่ง และระดับเทียบเคียง Risk Management

83 หมวด 3 : การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 3 : การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในหมวดการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นการตรวจประเมินว่าส่วนราชการ กำหนดความต้องการ ความคาดหวัง และความนิยมชมชอบ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร รวมถึงส่วนราชการ มีการดำเนินการอย่างไรในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจ และนำไปสู่การกล่าวถึงส่วนราชการในทางที่ดี

84 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์ และความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการฯ กลไกการขอข้อมูล ขอรับบริการ หรือร้องเรียน การกำหนดวิธีปฏิบัติ และทำให้มั่นใจว่าบุคลากรปฏิบัติตาม กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน และทำให้มั่นใจว่าได้รับการแก้ไข การรวบรวมและวิเคราะห์เพื่อใช้ปรับปรุงการดำเนินการ การทำให้แนวทางในการสร้างความสัมพันธ์และช่องทางติดต่อเหมาะสมและทันสมัย การวัดความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของผู้รับบริการฯ แต่ละกลุ่ม และนำผลไปปรับปรุงการดำเนินการ การติดตามช้อมูลป้อนกลับ การหาและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ การทำให้แนวทางการวัด ความพึงพอใจเหมาะสม และทันสมัย การกำหนดหรือจำแนกกลุ่มผู้รับบริการฯ รวมถึงผู้รับบริการในอนาคต การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง และนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนปฏิบัติงาน การปรับปรุงกระบวนการ และการพัฒนาบริการใหม่ ๆ

85 หมวด 4 : การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หมวด 4 : การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ในหมวดการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้นี้ เป็นการตรวจประเมินว่า ส่วนราชการเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการและปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศ และจัดการความรู้อย่างไร

86 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อม ใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ ข. การจัดการ ความรู้ การเลือกและรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และเชื่อมโยงกัน การเลือกข้อมูล และสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ มาสนับสนุนการตัดสินใจ และนวัตกรรม การทำให้ระบบการวัดผลเหมาะสมและทันสมัย และไวในการบ่งชี้ การเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์ ที่ให้ผู้บริหาร นำผลมาใช้ทบทวน ผลการดำเนินการ และวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การสื่อสาร ผลการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุน การตัดสินใจ ในการปฏิบัติงาน การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ พร้อมใช้งาน และสามารถเข้าถึง การทำให้อุปกรณ์ ที่เกี่ยวกับสารสนเทศเชื่อถือได้ ปลอดภัย และใช้งานง่าย การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ และอุปกรณ์เหมาะสมและทันสมัย การจัดการความรู้ การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ และความรู้ มีความครอบคลุม รวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัย เชื่อมโยง น่าเชื่อถือ สามารถเข้าถึง สามารถตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ปลอดภัย และรักษาความลับ IT IT KM

87 หมวด 5 : การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ในหมวดของการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลนี้ เป็นการตรวจประเมินว่าระบบงาน และระบบการเรียนรู้ ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ ช่วยให้บุคลากรพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ เพื่อให้มุ่งไปในแนวทางเดียวกันกับเป้าประสงค์ และแผนปฏิบัติการโดยรวมของส่วนราชการอย่างไร รวมทั้ง ตรวจประเมินความใส่ใจการสร้างและรักษาสภาพแวดล้อมในการทำงาน สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อ การปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งจะนำไปสู่ผลการดำเนินการ ที่เป็นเลิศ และความเจริญก้าวหน้าของบุคลากร และส่วนราชการ

88 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
5.1 ระบบบงาน 5.2 การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจ ของบุคลากร ก. การจัด และบริหารงาน ข. ระบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและสร้างความพึง-พอใจแก่บุคลากร การจัดโครงสร้างองค์กร และระบบ การทำงาน เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ความคิดริเริ่ม การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ นวัตกรรม การคำนึงถึงวัฒนธรรม และความคิด ที่หลากหลาย การทำให้ การสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ หรือทักษะ มีประสิทธิผล ระบบ การประเมินผล และการแจ้งผลเพื่อให้เกิด การพัฒนา และปรับปรุงงาน การยกย่องชมเชย การให้รางวัลและสิ่งจูงใจ การกำหนดคุณลักษณะ และทักษะ การสรรหาว่าจ้างและรักษาบุคลากร การเตรียมบุคลากรสำหรับตำแหน่งสำคัญ และการสร้างความก้าวหน้า การส่งเสริมสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย การปรับปรุงสภาพแวดล้อม และบุคลากรมีส่วนร่วม การทำให้สถานที่ทำงานเตรียมพร้อม ต่อภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ การกำหนดปัจจัยความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจ สำหรับแต่ละกลุ่ม การบริการ สวัสดิการ และนโยบาย การกำหนดตัวชี้วัดและวิธีการประเมิน ที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ การนำผล การประเมิน มากำหนดลำดับความสำคัญ ในการปรับปรุง ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การหาความต้องการ ในการฝึกอบรม การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ HR Scorecard

89 หมวด 6 : การจัดการกระบวนการ
ในหมวดการจัดการกระบวนการ เป็นการตรวจประเมิน แง่มุมที่สำคัญทั้งหมดของการจัดการกระบวนการ การให้บริการ และกระบวนการอื่นที่สำคัญที่ช่วยสร้างคุณค่า แก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจ ของส่วนราชการ ตลอดจนกระบวนการสนับสนุนที่สำคัญต่าง ๆ หมวดนี้ครอบคลุมกระบวนการที่สำคัญและหน่วยงานทั้งหมด

90 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า การออกแบบกระบวนการโดยนำปัจจัยที่สำคัญมาประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น การนำกระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามข้อกำหนด ที่สำคัญ การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำงานซ้ำ และความสูญเสีย การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำมาเผยแพร่แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน การกำหนดกระบวนการสนับสนุน การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน การออกแบบกระบวนการโดยนำปัจจัยที่สำคัญมาประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น การนำกระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลข้อกำหนด ที่สำคัญ การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำงานซ้ำ และความสูญเสีย การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำมาเผยแพร่แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน

91 หมวด 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ
ในหมวดผลลัพธ์การดำเนินการ เป็นการตรวจประเมิน ผลการดำเนินการและแนวโน้มของส่วนราชการในมิติต่าง ๆ ได้แก่ มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และมิติด้านการพัฒนาองค์กร นอกจากนี้ ยังตรวจประเมินผลการดำเนินการของส่วนราชการ โดยเปรียบเทียบกับส่วนราชการ หรือองค์กรอื่นที่มีภารกิจคล้ายคลึงกัน

92 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร ผลผลการดำเนินการ ด้านการบรรลุความสำเร็จ ของยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติงาน ผลการดำเนินการ ด้านการบูรณาการ กับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน (*) ผลการดำเนินการ ด้านความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินการ ด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผลการดำเนินการ ด้านการมีส่วนร่วม ของประชาชน ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินการ ด้านประสิทธิภาพ ของการใช้งบประมาณ ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน ผลการดำเนินการ ด้านการเรียนรู้ และพัฒนาของบุคลากร ผลการดำเนินการ ด้านความผาสุก ความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจ ของบุคลากร ผลการดำเนินการ ด้านการจัดการความรู้ ผลการดำเนินการ ด้านการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ผลการดำเนินการ ด้านการพัฒนากฎหมาย ผลการดำเนินการ ด้านการเป็นองค์กร ที่สนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

93 ความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพธ์และกระบวนการ
1.1 การนำองค์กร 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์และนำไปปฏิบัติ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ 5.1 การจัดและบริหารงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร

94 การดำเนินการของก.พ.ร. ตามตัวชี้วัดของหน่วยงาน
มาตรฐาน PMQA รางวัล PMQA ตามตัวชี้วัดของหน่วยงาน การบรรลุผลตามลำดับขั้นการประเมิน การสร้างมาตรฐานการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นแนวทางการปรับปรุงองค์กรอย่างต่อเนื่อง ความสมัครใจของหน่วยงาน การพัฒนาปรับปรุงองค์กรในทุกด้าน การยกย่องหน่วยงานที่เป็นเลิศ ค้นหาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practices) สร้างการเรียนรู้และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Benchmarking)

95 แผนการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ศึกษาและพัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่งเสริมผลักดันให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือกตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ อบรมคณะทำงาน Working Team ของส่วนราชการที่เลือกดำเนินการ สร้างจังหวัดนำร่อง ให้คำปรึกษาและติดตามผลการดำเนินการของกรมนำร่อง สร้างวิทยากรที่ปรึกษา สร้างผู้ตรวจประเมินรางวัล สร้างความรู้ ความเข้าใจให้ส่วนราชการต่าง ๆ สร้างผู้ตรวจประเมินภายในองค์กร สร้างวิทยากรตัวคูณ สร้างกรมนำร่อง ส่งเสริมผลักดันให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ อบรมคณะทำงาน Working Team ของทุกส่วนราชการ ขยายการสร้างผู้ตรวจประเมินรางวัล ส่งเสริมส่วนราชการเข้าสู่ Fast Track กำหนดเกณฑ์คะแนนรางวัลคุณภาพฯ และมาตรฐานคุณภาพการบริหารจัดการที่ยอมรับได้ บริหารเครือข่ายวิทยากรที่ปรึกษา ส่งเสริมและผลักดันให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ อบรมการเขียนรายงานและ เครื่องมือต่างๆ พัฒนากลไกการบริหารเครือข่ายวิทยากรที่ปรึกษา ขยายการสร้างวิทยากรตัวคูณและหมอองค์กร พัฒนากลไกการส่งเสริมให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ (PMQA Promotion Program) สร้างมาตรฐานการบริหารตามแนวทาง PMQA การพัฒนาผู้ตรวจประเมินภายใน

96 ไม่ใช่มุ่งเน้นการได้คะแนนสูง และเป็นกระบวนการต้องดำเนินการต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ ไม่ใช่มุ่งเน้นการได้คะแนนสูง และเป็นกระบวนการต้องดำเนินการต่อเนื่อง ไม่ใช่โครงการเฉพาะกิจ

97 โดยสรุป PMQA เป็นเกณฑ์ที่ส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐมีการประเมินตนเองและปรับปรุงระบบบริหารจัดการของตนอย่างสม่ำเสมอ โดยนำหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารองค์กรที่เป็นเลิศ (High Performance Organization : HPO) มาประยุกต์ใช้ องค์กรทำการทบทวนสิ่งที่องค์กรดำเนินการอยู่ในปัจจุบันเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน ผลจากการตรวจประเมินตนเองนี้จะช่วยให้องค์กรสามารถวางแผนเพื่อพัฒนาปรับปรุงองค์กรไปสู่เป้าหมายและยุทธศาสตร์ตามที่วางไว้

98 ขั้นตอนการดำเนินการ จัดตั้งคณะกรรมการ ฝึกอบรม กำหนดแผนงานและเป้าหมาย
จัดทำรายงาน ประเมิน รับผิดชอบการปรับปรุง ฝึกอบรม กำหนดแผนงานและเป้าหมาย ดำเนินการประเมินตนเอง จัดทำรายงานประเมินตนเอง จัดทำแผนพัฒนาและปรับปรุง วางแผน ตรวจสอบ รอบที่3 ปฎิบัติ แก้ปํญหา วางแผน ตรวจสอบ รอบที่2 ปฎิบัติ แก้ปํญหา วางแผน ตรวจสอบ รอบที่1 ปฎิบัติ แก้ปํญหา

99 ขั้นตอนการดำเนินการ 7. ทำการประเมินองค์กรซ้ำ 6. ทำการพัฒนาตามแผน
5. จัดทำแผนพัฒนา 4. จัดลำดับความสำคัญของโอกาสพัฒนา 3. ทำการประเมินองค์กร 2. กำหนดตัวชี้วัดผลงานขององค์กร 1. กำหนดบริบทสำคัญขององค์กร

100 ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ผู้บริหารได้รับทราบข้อบกพร่องการดำเนินการของส่วนราชการ และสามารถกำหนดวิธีการและเป้าหมายที่ชัดเจนในการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงองค์กรให้สมบูรณ์มากขึ้น ส่วนราชการสามารถส่งมอบคุณค่าที่ดีขึ้น ทั้งผลผลิตและบริการ ให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งเป็นการตอบสนองต่อเป้าหมายของ พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ส่วนราชการที่มีการบริหารจัดการที่เป็นเลิศและมีเวทีแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาระบบต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ประสิทธิภาพโดยรวมของระบบงานที่ดีขึ้น ส่งผลให้มีภาพลักษณ์ที่ดี ได้รับความนิยมชมชอบจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย

101 วงจรในการประเมินตนเอง
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง 2 ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร ผลลัพธ์ การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การนำ องค์กร การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ พรฎ. ดำเนินการปรับปรุง 4 สร้างแผนปรับปรุง 3 บูรณาการเครื่องมือและโครงการ ต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)

102 บทบาทผู้บริหาร แต่งตั้งคณะทำงานในโครงการ PMQA
สื่อสารวิสัยทัศน์ ค่านิยม และสร้างวัฒนธรรมที่ดีในองค์กร เป็นต้นแบบในการนำอย่างมีจริยธรรมและการนำระบบธรรมาภิบาลมาใช้ สื่อสารยุทธศาสตร์และติดตามแผนงานเพื่อให้บรรลุผลตามยุทธศาสตร์ สร้างบรรยากาศการทำงานบนความไว้วางใจ ความมีประสิทธิภาพ และคุณภาพ การติดตามผลการดำเนินการของโครงการ PMQA และตามตัวชี้วัด จัดทำแผนพัฒนาองค์กรเพื่อปรับปรุงองค์กรตามเกณฑ์ PMQA

103 การพัฒนาผู้เชี่ยวชาญในองค์กร
Criteria experts Area/subject experts Functional/management experts

104 ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการไปสู่ความเป็นเลิศ
การจัดการกระบวนการและระบบงานที่มีประสิทธิภาพ มีกลไกการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในทุกระบบงาน วัฒนธรรมในการทำงานของคนในองค์กร มีทรัพยากรอย่างพอเพียง ทีมงานคณะผู้บริหารและความเพียรของผู้นำองค์กร

105 Q&A


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google