ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นางสาวลิลิน ทรงผาสุก ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 นางสาวลิลิน ทรงผาสุก ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
2
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 สาระสำคัญ องค์ประกอบของการประเมิน ระยะเวลาการประเมิน คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 5/2559 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ รอบที่ 1 (รายงาน 2-12 เม.ย. 61) 1) Function Base ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2561 รอบ 6 เดือน 2) Agenda Base ให้มีการประเมินส่วนราชการและข้าราชการพลเรือนในความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร รอบที่ 2 (รายงาน 1-12 ต.ค. 61) ตั้งแต่1 เม.ย. 61 ถึงวันที่ 30 ก.ย. 61 3) Area Base รอบ 12 เดือน ผู้รับการประเมิน : ส่วนราชการระดับกรมและกระทรวง/ข้าราชการพลเรือนประเภทบริหารระดับสูง ผู้ประเมิน : 1) นายกรัฐมนตรี รองนายกฯ หรือรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 2) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง 3) เลขาธิการ ก.พ.ร. (กรณีประเมินส่วนราชการ) / และเลขาธิการ ก.พ. (กรณีประเมินข้าราชการ) 4) Innovation Base สรุปผลการประเมิน จากสำนักงาน ก.พ.ร. 5) Potential Base รอบแรก แนวทางการประเมิน 1. แต่ละองค์ประกอบ ประเมินใน 3 ระดับ คือ ระดับต่ำกว่าเป้าหมาย ระดับเป็นตามเป้าหมาย และระดับสูงกว่าเป้าหมาย 2. สรุปภาพรวมการประเมินในแต่ละองค์ประกอบ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับต้องปรับปรุง ระดับมาตรฐาน และระดับคุณภาพ รอบสอง ให้มีกรอบอัตรากำลังชั่วคราวเป็นกรณีพิเศษในสำนักงาน ก.พ. จำนวน 50 อัตรา
3
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ การประเมินส่วนราชการตามคำสั่ง คสช.ที่ 5/2559 การประเมินข้าราชการพลเรือนในความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารตามคำสั่ง คสช.ที่ 5/2559 การประเมินผลลผู้บริหารองค์การ ตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี (นร0405/00746)
4
คณะกรรมการพิจารณาตัวชี้วัดของกระทรวงศึกษาธิการ
รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ รศ.ดร.นพ.จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ ศ.ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ดร.สีลาภรณ์ บัวสาย นายมนูญ สรรค์คุณากร ผู้แทนสำนักงาน ก.พ.ร. ผู้แทนสภาพัฒนฯ ผู้แทนสำนักงบประมาณ
5
การรายงานการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ( ) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2561 ( ) ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 องค์ประกอบที่ 1 Function Base องค์ประกอบที่ 2 Agenda Base องค์ประกอบที่ 3 Area Base องค์ประกอบที่ 4 Innovation Base องค์ประกอบที่ 5 Potential Base 1.1 ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ (3-5ปี/6-11ปี/12-14ปี/15-17ปี) [สนผ.] 4.1 การพัฒนานวัตกรรม (ตัวชี้วัดบังคับ) [สทร.] 5.1 การจัดทำและดำเนินการตามแผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (ตัวชี้วัดบังคับ) [หลายสำนัก] 2.1 การสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน(ตัวชี้วัดบังคับ) 2.1.1 ร้อยละการดำเนินการตามแผนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน 2.1.2 ร้อยละการชี้แจงประเด็นสำคัญที่ทันต่อสถานการณ์ (ถ้ามี) [สอ.] 1.2 ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทยจากรายงาน (IMD 2018) 1.2.1 อันดับตามรายงานด้านการศึกษา (Education) 1.2.2 อันดับตามรายงานด้านที่เกี่ยวข้องกับบทบาทภารกิจของส่วนราชการ สพฐ. ไม่ต้องดำเนินการ 4.2 การพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน (ตัวชี้วัดบังคับ) [หลายสำนัก] 5.2 การดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ (ตัวชี้วัดบังคับ) [กพร.] การยกระดับภาษาอังกฤษ (Boot camp) [ศนฐ.] 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ O-NET [สทศ.] 1.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการพัฒนาครูรูปแบบใหม่ [สพค.] ไม่เกิน 6 ตัวชี้วัด ไม่เกิน - ตัวชี้วัด ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด
6
KRS ARS ระบบ KRS / ARS / AMSS / AMSS++ / SMSS AMSS SMSS AMSS++
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โปรแกรมสนับสนุนการบริหารจัดการสถานศึกษา ระบบรายงานผลตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ระบบรายงานผลตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (ม.44) KRS (KPI Report System) ARS (Actin plan Report System) AMSS (Area Management Support System) AMSS++ SMSS (School Management Support ย้ายภารกิจกับ สตผ. (e-mes) พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์การที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
7
หลักทางการประเมินส่วนราชการ ตัวอย่างการประเมินส่วนราชการ
แนวทางการประเมินตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจำปีงบประมาณ 2561 หลักทางการประเมินส่วนราชการ ตัวอย่างการประเมินส่วนราชการ เปรียบเทียบจำนวนตัวชี้วัดที่สามารถดำเนินการบรรลุเป้าหมายต่อตัวชี้วัดทั้งหมดในแต่ละองค์ประกอบ ในแต่องค์ประกอบจะได้ระดับผล ประเมินในระดับ “เป็นไปตาม เป้าหมาย” ต่อเมื่อ ผ่าน 1 ตัวชี้วัดจาก 2 ตัวชี้วัด (50%) ผ่าน 2 ตัวชี้วัดจาก 3 ตัวชี้วัด (67%) ผ่าน 2 ตัวชี้วัดจาก 4 ตัวชี้วัด (50%) ผ่าน 3 ตัวชี้วัดจาก 5 ตัวชี้วัด (60%) กำหนดค่าเป้าหมายแต่ละ องค์ประกอบ จากร้อยละตัวชี้วัดที่ ดำเนินการบรรลุเป้าหมายต่อ ตัวชี้วัดทั้งหมด ดังนี้ ต่ำกว่าเป้าหมาย ต่ำกว่า 50% เป็นไปตามเป้าหมาย ระหว่าง 50-67% สูงกว่าเป้าหมาย สูงกว่า 67% 4. กำหนดให้ทุกตัวน้ำหนักเท่ากัน เพราะถือว่าต่างเป็น core functions ที่ต้องมีความสำคัญเท่า ๆ กัน กรม X องค์ประกอบที่ 1: Functional Based ประเด็นการประเมิน เป้าหมาย ผลดำเนินงาน ผ่าน ไม่ผ่าน ตัวชี้วัด ก เพิ่มขึ้น 10% เพิ่มขึ้น 12% ตัวชี้วัด ข 50,000 49,999 ตัวชี้วัด ค ลดลง 5% ลดลง 4% ตัวชี้วัด ง 100 ตัวชี้วัด จ ผ่าน 3 ตัวชี้วัดจาก 5 ตัวชี้วัด องค์ประกอบการประเมิน ผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน ต่ำกว่าเป้าหมาย (<50%) เป็นไปตามเป้าหมาย (50-67%) สูงกว่าเป้าหมาย (>67%) 1. Functional Based ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน ระดับต้องปรับปรุงด้าน..... 2. Agenda Based 3. Area Based 4. Innovation Based 5. Potential Based
8
แนวทางการประเมินส่วนราชการ และจังหวัด ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจำปีงบประมาณ 2561
ระดับการประเมิน สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน ระดับต้องปรับปรุง เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมาย ทุกองค์ประกอบที่ประเมิน 1 เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายไม่ครบทุกองค์ประกอบที่ประเมิน แต่ไม่มีองค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่งได้รับการประเมินในระดับต่ำกว่าเป้าหมาย ส่วนราชการ/จังหวัด (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที่ 5 เมษายน 2559) เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับต่ำกว่าเป้าหมายในองค์ประกอบในองค์ประกอบหนึ่ง (แม้ว่าจะได้รับการประเมินในองค์ประกอบอื่นในระดับเป็นไปตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมาย) 2 องค์ประกอบ สูงกว่าเป้าหมาย เป็นไปตามเป้าหมาย ต่ำกว่าเป้าหมาย มีผลคะแนนสูงกว่าร้อยละ 67 มีผลคะแนนอยู่ระหว่างร้อยละ มีผลคะแนนต่ำกว่าร้อยละ 50 Functional Based Agenda Based Area Based Innovation Based Potential Based 3 ผลการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย หรือ สูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ผ่าน ตัวชี้วัด ไม่ผ่าน ผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้
9
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
การประกาศผล การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ของ สพท. ปิดระบบรายงานผลรอบ 12 เดือน ระดับคุณภาพ เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมาย ทุกองค์ประกอบที่ประเมิน สรุปผลการประเมินส่วนราชการฯ ของ สพท. จากระบบ KRS ระดับมาตรฐาน เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายไม่ครบทุกองค์ประกอบที่ประเมิน แต่ไม่มีองค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่งได้รับการประเมินในระดับต่ำกว่าเป้าหมาย เสนอ คกก./คณะทำงานพิจารณาพิจารณาผลการประเมินส่วนราชการฯ ระดับต้องปรับปรุง เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับต่ำกว่าเป้าหมายในองค์ประกอบในองค์ประกอบหนึ่ง (แม้ว่าจะได้รับการประเมินในองค์ประกอบอื่นในระดับเป็นไปตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมาย) เสนอเลขาธิการ กพฐ. ลงนามในประกาศ สพฐ. ประกาศ สพฐ. และแจ้งเวียนทุกหน่วยงาน **การประกาศผลการประเมินส่วนราชการ มิได้นำผลที่เป็นค่าคะแนนมาใช้ประกาศเป็นหลัก ดังนั้น ค่าคะแนนจึงไม่ได้เป็นผลลัพธ์สำคัญสำหรับประเมินส่วนราชการฯ ของ สพท. แต่การกำหนดค่าคะแนนเป็นเพียงการดำเนินการคู่ขนานเพื่อพิจารณารายละเอียดสำหรับการปรับปรุงพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป
10
ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ของ สพท. สพท. ระดับคุณภาพ (เขต) ระดับมาตรฐาน ระดับปรับปรุง สพป. 66 117 สพม. 30 12 รวม 96 129 สพท. ระดับคุณภาพ (%) ระดับมาตรฐาน ระดับปรับปรุง สพป. 36.06 63.93 สพม. 71.42 28.57 รวม 42.66 57.33
11
PSDG OBEC
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.