งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)
โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

2 บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. สังคมยุคดิจิตอลและยุคการใช้ปัญญา 2. การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ กับเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม 3. เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ 4. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

3 1. สังคมยุคดิจิตอลและยุคการใช้ปัญญา
ปัจจุบันได้มีการพัฒนาเปลี่ยนจากการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมไปเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อการมากขึ้น และก่อให้เกิดสังคมที่มีใหม่ที่เน้นความรู้เป็นฐาน โดยให้ความสำคัญกับข้อมูลข่าวสารโดยผ่านเครื่องมื่อสื่อสารต่าง ๆ และได้เกิดชุมชนแบบใหม่ที่เรียกว่า “ไซเบอร์สเปช” (Cyber Space) เกิดบริการ Online ในรูปแบบต่างๆ ดังนี้ E-Commerce Internet Banking E-Learning E-Government บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

4 สถานการณ์ใหม่ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความต้องการที่จะพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ประกอบด้วย ความต้องการในเชิงของสื่อที่เป็นมวลชน ความต้องการที่จะสื่อสารไปสู่ผู้คนในจำนวนมาก ๆ ในคราวเดียว ความเร็วในการสื่อสารข้อมูล ความเร็วในการสื่อสารทั้งภาพ ตัวอักษร และเสียง ระบบการสื่อสารที่ทันสมัย สื่อที่ใช้ในการส่งเช่น สายใยแก้วนำแสง, การสื่อสารไร้สาย บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

5 การนำเทคโนโลยีมาใช้ในองค์กร(The Digital Firm)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

6 คุณลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในยุคอุตสาหกรรม จะเน้นที่ ”หน้าที่การผลิตที่มีมาตรฐาน และคุณภาพ“ ของผลผลิต ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศถ้าเป็นการรับส่งข้อมูลก็จะเน้นที่ การกำหนด ”วิธีการรับ-ส่งข้อมูล” บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

7 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
วิถีการดำเนินชีวิต ในยุคอดีต เป็นยุคของสังคมเกษตรกรรม ใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย เมื่อก้าวเข้าสู่สังคมยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการพัฒนาทางด้านคอมพิวเตอร์ มีการพัฒนาเทคโนโลยีโทรคมนาคม การติดต่อสื่อสารมีความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น ข้อมูลข่าวสารกลายเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการทราบอย่างรวดเร็วและถูกต้อง ขอบเขตการค้าขายและดำเนินธุรกิจกว้างมากขึ้น Global Economy องค์กรพยายามปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินการภายในองค์กรให้ทันสมัยเพิ่มขึ้น บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

8 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
การดำเนินธุรกิจ การดำเนินธุรกิจในอนาคตมีนำ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดการข้อมูลสารสนเทศ กลายเป็นปัจจัยช่วยสนับสนุนและพัฒนาธุรกิจใหม่ๆ ธุรกรรมส่วนใหญ่ทำกันในระบบ เครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจ ธนาคาร หรือ สถาบันการเงิน มีการนำระบบเครือข่ายไร้สายมาให้บริการลูกค้า มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลในระบบอิเล็กทรอนิคส์ (Electronic Data Interchange : EDI) เช่น พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ(E-Commerce) บริษัทต่างๆ สามารถติดต่อสื่อสารกับลูกค้าได้โดยตรง ผู้ผลิตส่งสินค้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

9 EDI(Electronic Data Interchange)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

10 2. การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ กับเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
2. การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ กับเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology ) เป็นชื่อเรียกเทคโนโลยีที่บูรณาการมาจาก 2 สาขาหลัก ดังนี้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม(Telecommunication Technology ) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

11 3. เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการคำนวณหรือประมวลผล และใช้ในการจัดเก็บข้อมูล งานที่เหมาะสมที่จะใช้คอมพิวเตอร์ คือ เป็นงานที่มีปริมาณมากๆ มีขั้นตอนในการประมวลผลซ้ำๆกัน ต้องการผลลัพธ์ที่ถูกต้องแม่นยำในระยะสั้น และเป็นงานที่ยากในการคำนวณ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

12 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ความเร็ว ความถูกต้องแม่นยำ และ ความน่าเชื่อถือ เก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ได้ ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

13 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
ยุคของคอมพิวเตอร์ เครื่องมือชนิดแรกที่ถือได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์ก็คือ ลูกคิด ซึ่งสร้างขึ้นโดยชาวจีนโบราณ ยุคที่หนึ่ง ( ) ยุคที่สอง ( ) ยุคที่สาม ( ) ยุคที่สี่ ( ) ยุคที่ห้า(ตั้งแต่ปี 1980 ขึ้นไป) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

14 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
ยุคที่หนึ่ง ( ) คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ใช้ไฟฟ้าแรงสูง ใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ และหลอดสูญญากาศ ใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อข้อมูล ใช้ภาษาเครื่องในการทำงาน บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

15 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
ยุคที่สอง ( ) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสูญญากาศ เครื่องจึงมีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง มีวงแหวนแม่เหล็กและหน่วยความจำภายใน ใช้บัตรเจาะรูและเทปแม่เหล็กเป็นสื่อข้อมูล ใช้ภาษาสัญลักษณ์ในการทำงาน บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

16 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
ยุคที่สาม ( ) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ไอซี (Integrated Circuit) สามารถทำงานเท่ากับทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัว จึงทำให้มีขนาดเล็กลง ใช้บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กเป็นสื่อ ใช้ภาษาพีแอลวัน(PL/I) และภาษาโคบอล บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

17 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
ยุคที่สี่ ( ) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรขนาดใหญ่ที่เรียกว่า LSI (Large Scale Integrated) ใช้เทปแม่เหล็ก และจานแม่เหล็ก ส่วนบัตรเจาะรูใช้น้อยลง เริ่มมีภาษาใหม่ๆ เช่น ภาษาเบสิค ภาษาปาสคาล บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

18 ยุคที่ห้า(ตั้งแต่ปี 1980 ขึ้นไป)
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ ช่วยในการจัดการ การตัดสินใจ คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เรียกว่า ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence:AI) มีการใช้คอมพิวเตอร์ทำงานทางด้านกราฟฟิคมากขึ้น เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง เช่น โน๊ตบุค บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

19 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้หลายประเภทตามหลักการดังนี้ 1. ตามลักษณะของข้อมูล แบ่งได้ 3 ประเภท 2. ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน แบ่งได้ 2 ประเภท 3. ตามขนาดและราคาของเครื่อง แบ่งได้ 4 ประเภท บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

20 1. ตามลักษณะของข้อมูล แบ่งได้ 3 ประเภท
อนาลอกคอมพิวเตอร์(Analog Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลักการวัด รับข้อมูลในลักษณะต่อเนื่อง และจากแหล่งกำเนินข้อมูลโดยตรงแล้วทำการแสดงผลทางหน้าปัด ดิจิตอลคอมพิวเตอร์(Digital Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทำงานโดยใช้หลักการวัด รับข้อมูลในลักษณะเป็นตัวเลขให้ผลลัพธ์ที่แม่นยำกว่า อนาลอกคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในปัจจุบันนี้ ส่วนมากเป็นดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ไฮบริดคอมพิวเตอร์(Hybrid Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่นำเอาข้อดีของอนาลอกคอมพิวเตอร์ และดิจิตอลคอมพิวเตอร์มารวมกัน เพื่อให้สามารถทำงานได้ทั้งสองด้าน บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

21 2. ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน แบ่งได้ 2 ประเภท
คอมพิวเตอร์แบบทั่วไป( General-Purposed Computer) ใช้กับงานได้หลายประเภท และสามารถทำงานได้กับภาษาคอมพิวเตอร์ได้หลายภาษา คอมพิวเตอร์แบบเฉพาะกิจ(Special-Purposed Computer) ใช้ได้กับงานเฉพาะอย่างประเภทใดประเภทหนึ่งเท่านั้น บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

22 3. ตามขนาดและราคาของเครื่อง แบ่งได้ 4 ประเภท
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์(Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ราคาแพงที่สุด สามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีการใช้หลักการที่เรียกว่า มัลติโปรเซสซิง(Multiprocessing) คอมพิวเตอร์ประเภทนี้นิยมใช้ในงานด้านกราฟิค หรือการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

23 3. ตามขนาดและราคาของเครื่อง แบ่งได้ 4 ประเภท (ต่อ)
เมนเฟรม(Mainframe) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่รองลงมา และนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไป มีประสิทธิภาพการทำงานรองจากซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เช่น ใช้ในการเก็บข้อมูลของนักศึกษาทั้งสถาบัน คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ยังสามารถเชื่อมโยงใช้งานกับเทอร์มินัลในระยะทางต่างๆ เช่น เชื่อมโยงควบคุมการใช้เครื่องเอทีเอ็ม ของลูกค้าตามสถานที่ต่างๆ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

24 3. ตามขนาดและราคาของเครื่อง แบ่งได้ 4 ประเภท (ต่อ)
มินิคอมพิวเตอร์(Minicomputer) มินิคอมพิวเตอร์จะใช้หลักการทำงานเช่นเดียวกับเมนเฟรม แต่สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างเครื่องเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอร์คือความเร็วในการทำงาน มินิคอมพิวเตอร์จะใช้ในธุรกิจขนาดกลาง นักธุรกิจทั่วไปนิยมใช้เพราะสามารถเชื่อมโยงกับเทอร์มินัลได้หลายๆเครื่อง บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

25 3. ตามขนาดและราคาของเครื่อง แบ่งได้ 4 ประเภท (ต่อ)
ไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กและมีราคาถูก จึงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย อีกชื่อหนึ่งที่มักใช้เรียกไมโครคอมพิวเตอร์คือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) หรือ PC เพราะมักนำคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ไปใช้กับงานที่เกี่ยวข้องกับตนเองโดยเฉพาะ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

26 ไมโครคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ
Desktop Computer / PC Notebook Computer Tablet PC Palm Computer บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

27 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
Tablet PC ผสมผสานระหว่าง Desktop และ แบบพกพา รับข้อมูลด้วยปากกา (Stylus) ผ่านทางจอภาพโดยตรง สั่งงานด้วยเสียงได้ มี Port สำหรับการต่อพ่วงต่างๆ หรือ การต่อเข้ากับ Internet แบบไร้สาย หน้าจอที่มีความละเอียดสูง มีโปรแกรม Handwriting Recognition ที่รู้จักลายมือเขียน เพื่อเขียนข้อมูลโดยตรงบนหน้าจอ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

28 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ ฮาร์ดแวร์(Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (People ware) ข้อมูลและสารสนเทศ(Data/Information) กระบวนการทำงาน (Procedure) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

29 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
ฮาร์ดแวร์(Hardware) คือ ลักษณะทางภายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์ที่เป็นหน่วยรับข้อมูลหน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผลลัพธ์ รวมทั้งเครื่องมือต่างๆที่เกี่ยวข้อง ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ คือ หน่วยรับข้อมูล(Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central processing Unit) หรือ CPU หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit ) หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Unit) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

30 ฮาร์ดแวร์(Hardware) (ต่อ)
หน่วยรับข้อมูล ทำหน้าที่ รับข้อมูลและคำสั่งจากภายนอก เข้าสู่หน่วยประมวผลกลาง เพื่อทำการประมวลผล และจะแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ หน่วยความจำหลัก ทำหน้าที่ เก็บข้อมูลหรือชุดคำสั่งชั่วคราวเพื่อรอประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลและรอส่งไปที่หน่วยแสดงผลลัพธ์ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit) ถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานหลักของคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำสำรอง ทำหน้าที่ เก็บข้อมูลหรือคำสั่งแยกจากหน่วยความจำหลัก หน่วยแสดงผลข้อมูล ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลเพื่อแสดงหรือนำเสนอให้แก่ผู้ใช้(User) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

31 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อุปกรณ์ทั้ง 5 หน่วย
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

32 หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
อุปกรณ์รับเข้าข้อมูลที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่สามารถแบ่งตามลักษณะการใช้งานดังนี้ ประเภทพิมพ์ หรือคีย์ เช่นคีย์บอร์ด ประเภทชี้หรือวาด เช่นปากกาไฟฟ้า เมาส์ จอยสติก แทรกบอล ประเภทการรับข้อมูลเข้าโดยตรง เพื่อให้การส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ทำได้รวดเร็วขึ้น เช่น สแกนเนอร์ เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็นต้น บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

33 อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล(Input Device)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

34 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
คีย์บอร์ด(Keyboard) เป็นอุปกรณ์อินพุตที่มีใช้ในคอมพิวเตอร์ทุกประเภท บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

35 ปากกาไฟฟ้า(Pen-base Input)
เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะ คล้ายปากกา ใช้โดยการเขียนข้อมูลเข้าไป ในพื้นที่ราบเรียบ หลังจากนั้นข้อมูลจะถูก แปลงให้อยู่ในรูปของข้อมูล อิเล็คทรอนิกส์ เพื่อส่งต่อให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ต่อไป บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

36 แทร็กบอล(Trackball) เมาส์(Mouse)
แทร็กบอล เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลที่มีลักษณะภายนอก คล้ายเมาส์ที่เอาลูกกลิ้งไว้ด้านบนแทนการใช้งานจะใช้ นิ้วมือกลิ้งเฉพาะบนตัวลูกกลิ้งเท่านั้น ดังรูป บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

37 จอยสติก(Joystick) แทร็กแพด(Trackpads)
แทร็กแพด(Trackpads) เป็นอุปกรณ์ที่ต้องใช้นิ้วมือเลื่อนหรือแตะไปบน Pad เพื่อเลื่อนหรือควบคุมตัวชี้บนจอภาพ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

38 เครื่องสแกนเนอร์(Scanners)
สามารถรับข้อมูลในรูปของสิ่งตีพิมพ์ และแปลงให้เป็นสัญญาณอิเล็คทรอนิกส์เพื่อส่งเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ได้เลย Image Scanners OCR และ Bar Codes Scanners บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

39 เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก (Magnetic Stripes and Smart Cards)
เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลที่เป็นแถบแม่เหล็ก(Magnetic stripes) ที่ติดอยู่บนบัตรเครดิตหรือบัตรเอทีเอ็ม(ATM) หรือ บัตรประจำตัวพนักงาน/นักศึกษา สามารถบันทึกข้อมูล/ สารสนเทศ ที่เราต้องการเช่น หมายเลขบัญชี รหัสประจำตัว หรือข้อมูลส่วนบุคคล เมื่อนำบัตรนี้เข้าไปในเครื่องอ่านที่ เรียกว่า Badge reader รหัสก็จะถูกแปลงเป็นดิจิตอลที่ ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจ เพื่อดำเนินการอื่นๆ ต่อไป บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

40 ไมโครโฟน(Microphone)
เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลประเภทเสียงเข้าสู่ คอมพิวเตอร์โดยจะต้องมีอุปกรณ์ประเภท Speech Recognition board ทำหน้าที่ในการ แปลงสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณดิจิตอล บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

41 กล้องดิจิตอล (Digital Camera) และ กล้องวิดีโอดิจิตอล (Vedio Digital)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

42 อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล(Processing)
หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit) เป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานหลักของคอมพิวเตอร์ ความเร็วในการทำงานก็ขึ้นอยู่กับส่วนนี้เป็นหลัก อุปกรณ์ในการประมวลผลข้อมูลสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

43 หน่วยประมวลผลกลาง(CPU) มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ
หน่วยควบคุม(Control Unit) ควบคุมการทำงานต่างๆ ของหน่วยประมวลผล หน่วยคำนวณและตรรก (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทำหน้าที่ในการคำนวณหาตัวเลข เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ หน่วยความจำ(Register) เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

44 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
ส่วนประกอบของ CPU ที่มา : NECTEC บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

45 หน่วยแสดงผลข้อมูล(Output Unit)
ทำหน้าที่รับสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล แปลงสัญญาณดิจิตอลให้อยู่ในรูปของตัวเลข ตัวอักษร เสียง หรือรูปภาพ ที่ผู้ใช้เข้าใจได้ โดยมีอุปกรณ์สำหรับแสดงผลข้อมูลเพื่อเป็นสื่อหรือนำเสนอสารสนเทศที่มีลักษณะต่างกัน เช่น จอภาพ(Monitor) เครื่องพิมพ์(Pinter) ลำโพง(Speaker) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

46 อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล(Output Device)
1. จอภาพ(Monitor) Flat-Panel Monitors จอภาพที่ใช้กับเครื่อง PC แบบ พกพา จอสัมผัส(Touch Screen Monitors) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์พร้อมทั้งแสดงผลข้อมูลในตัว บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

47 อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล(Output Device)
2. เครื่องพิมพ์(Printer) 1. เครื่องพิมพ์แบบจุด(Dot Matrix Printers) 2. เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก(Inkjet Printer) 3. เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์(Laser Printer) 4. เครื่องพิมพ์แบบพล็อตเตอร์(Plotter) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

48 อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล(Output Device)
3. ลำโพง(Speaker) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่สารสนเทศ ออกมาในลักษณะของเสียง ความคมชัดของเสียงขึ้นอยู่ กับคุณภาพของลำโพงเป็นหลัก บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

49 หน่วยความจำ(Memory Unit)
หน่วยความจำหลัก(Main Memory) RAM(Random Access Memory) ROM(Read Only Memory) หน่วยความจำสำรอง(Secondary Memory) จานแม่เหล็ก(Magnetic Disk) จานแสง(Optical Disk) Flash Memory บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

50 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
จานแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก(Magnetic Disk) แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ แผ่นดิสก์เกต (Floppy Disk) ซิปดิสก์ (Zip Disk) ฮาร์ดดิสก์(Hard Disk) จานแม่เหล็กที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่หรือประเภทเมนเฟรม(Disk Pack) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

51 แผ่นดิสก์เกต(Floppy Disk)
มีลักษณะกลมหุ้มด้วยซองพลาสติกสี่เหลี่ยม มีความจุ 1.44 MB ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลายโดยประมาณ 3.5 นิ้ว ปัจจุบันนิยมใช้แผ่นดิสก์เกตในการบันทึกสารสนเทศมาก เพราะมีขายตามท้องตลาด พกพาสะดวกและราคาถูกมาก แผ่น Floppy Disk จะมีอุปกรณ์สำหรับอ่านและเขียนข้อมูลคือ Disk Drive บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

52 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
ซิปดิสก์(Zip Disk) เป็นดิสก์เกตที่ใช้เทคโนโลยีผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีเลเซอร์และเทคโนโลยีแม่เหล็ก เพื่อการอ่านและบันทึกบนจานแม่เหล็กชนิดอ่อน (เหมือน Floppy Disk) มีความจุ 100 MB (70 เท่าของ Floppy Disk) นิยมใช้เก็บข้อมูลและสารสนเทศในระบบมัลติมีเดีย แผ่น Zip Disk จะมีอุปกรณ์สำหรับอ่านและเขียนข้อมูลคือ ZipDrive บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

53 ฮาร์ดดิสก์(Hard Disk)
เป็นจานแม่เหล็กชนิดแข็งประกอบด้วยแผ่นจานโลหะแข็ง(Platter) ขนาด 5.25 หรือ 3.5 นิ้ว ซึ่งวางเรียงซ้อนกัน มีความจุสูงกว่าแผ่น Floppy Disk มาก และการเข้าถึงข้อมูล(ได้ทั้งแบบ Random และ Sequential Access)เร็วกว่าแผ่น Floppy Disk บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

54 จานแม่เหล็กที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ หรือประเภทเมนเฟรม
แดสดี(DASD : Direct Access Storage Device) จานแม่เหล็กประเภท DASD เป็นจานบันทึกแบบแข็ง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 14 นิ้ว มีจำนวนหลายแผ่นซ้อนกัน แต่ละแผ่นมีความจุสารสนเทศสูงมากเมื่อเทียบกับฮาร์ดดิสก์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้กับเครื่อง PC โดยใน 1 แพ็คจะมีความจุหลายร้อยล้านล้านไบต์เลยทีเดียว สื่อประเภทนี้บางครั้งเรียกว่า Disk Pack บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

55 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
จานแสง (Optical Disk) เป็นหน่วยความจำสำรองที่มีความจุสูงสุดในบรรดาหน่วยความจำภายในของระบบคอมพิวเตอร์ ใช้แสงเลเซอร์ในการอ่านและบันทึก สารสนเทศบนแผ่นไฟเบอร์(Fiber Glass)อีกทั้งยังสามารถบันทึกสารสนเทศทั้งที่อยู่ในรูปของตัวอักษร ภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว มีราคาถูกกว่าจานแม่เหล็กชนิดแข็ง และที่สำคัญสามารถเข้าถึงข้อมูลโดยวิธี Direct Access อีกด้วย จานแสงแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ซีดีรอม และ ดีวีดี WORM Disks(Write Once Read Only) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

56 อุปกรณ์ในการอ่านและบันทึก CD-ROM และ DVD
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

57 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
Flash Memory มีหลักการทำงานคล้าย Floppy Disk คืออ่านและเขียนหรือลบไฟล์ได้ทันที การออกแบบโครงสร้างทั้งหมด ได้แนวคิดมาจาก Flash Memory การรับ-ส่งข้อมูลผ่านพอร์ต USB มีหลายชื่อเช่น Handy Drive,Pen Drive ,Thumb Drive,USB Drive หรือ Flash Drive บันทึกข้อมูลได้หลากหลาย เช่น Bootable , MP3, Voice Recorder มีความจุตั้งแต่ 64,128,256,512 MB. ไปถึง 1 GB. บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

58 หน่วยนับข้อมูลในคอมพิวเตอร์
8 Bit = 1 Byte 1,024 Byte = 1 KB. 1,024 KB. = 1 MB. 1,024 MB. = 1 GB. 1,024 GB. = 1 TB. แผ่นดิสก์เกต 1 แผ่นมีความจุ 1.44 MB. จะมีกี่ KB. บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

59 โปรแกรมหรือชุดคำสั่ง Software
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่ง (Instruction Set) ที่สามารถสั่งงานฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ให้ประมวลผลหรือทำงานตาม คำสั่งได้อย่างอัตโนมัติ ตั้งแต่เริ่มจนจบการทำงาน โดยมีมนุษย์เข้าไป เกี่ยวข้องน้อยที่สุด เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โปรแกรม(Program) เราไม่ สามารถจับต้องซอฟต์แวร์ได้โดยตรงซอฟต์แวร์จะถูกจัดเก็บไว้ในสื่อ บันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ แผ่นดิสก์ (Diskette) ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) หรือแผ่นซีดี-รอม (CD-ROM) ผู้ใช้ไม่สามารถจับต้องได้ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งตามลักษณะดังต่อไปนี้ ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Software) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

60 ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software)
ส่วนควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ โดยเชื่อมโยงข้อมูลและคำสั่งระหว่างส่วนประกอบต่างๆ เข้ากับส่วนศูนย์กลางการประมวลผล (CPU) เช่นการจัดลำดับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มเปิดเครื่องใช้งาน หรือการควบคุมการหมุนแผ่นจานเก็บข้อมูลให้สัมพันธ์กับการอ่าน / เขียน ตัวอย่างซอฟต์แวร์นี้คือ OS : Operating System บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

61 ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Supervisor Program ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่มีความสำคัญต่อการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ประเภทอื่น ๆ จะทำงานในคอมพิวเตอร์ได้ ต้องขึ้นอยู่กับการควบคุมและการจัดการของ OS จึงเปรียบ OS เสมือนเป็นผู้จัดการของระบบ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์ประเภท OS ระบบคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

62 หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ จัดการข้อมูลและสารสนเทศภายในหน่วยความจำ ทำงานร่วมกับซอฟต์แวร์ที่อยู่ใน ROM จัดตาราง(Schedule) การใช้ทรัพยากร จัดการระบบการจัดเก็บไฟล์ข้อมูลลงบนสื่อสำรองข้อมูล จัดการในด้านรักษาความปลอดภัย บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

63 ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการ : OS
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

64 ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility Software)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

65 ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
ซอฟต์แวร์ภาษา (Language Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องมือในการสร้างชุดคำสั่งหรือโปรแกรมเพื่อนำไปสั่งงานคอมพิวเตอร์ โดยอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้สามารถสร้างโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว มีการแบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ ดังนี้ ภาษาระดับต่ำ(High Level Language) ภาษาระดับสูง(High Level Language) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

66 ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language)
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการทำงานใกล้ชิดกับฮาร์ดแวร์ เป็นภาษาที่เป็นรหัสคำสั่งสั้น ๆ แต่ทำงานได้อย่างรวดเร็ว แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ที่อยู่ในรูปของรหัสเลขฐานสอง ซึ่งใช้ในคอมพิวเตอร์ยุดแรก ๆ คอมพิวเตอร์สามารถนำภาษาเครื่องไปใช้สั่งงานได้ทันที ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเป็นภาษาที่เป็นรหัสคำสั่งสั้น ๆ เข้าใจยาก ผู้เขียนคำสั่งต้องเข้าใจโดรงสร้างและระบบการทำงานภายในของ Microprocessor บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

67 ภาษาระดับสูง (High Level Language)
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เขียนโปรแกรม มีโครงสร้างและรหัสของภาษาคล้ายกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารทำให้ผู้สร้างโปรแกรมเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย ไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับ Microprocessor และเมื่อสร้างคำสั่งได้แล้ว สามารถนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์รุ่นใด ๆ ก็ได้ เมื่อสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงได้แล้ว สิ่งที่สร้างได้เราเรียกว่า Source Code หรือ Source Program ซึ่งยังไม่สามารถนำไปสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ จะต้องไปผ่านการแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อนหรือที่เรียกว่า Object Code บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

68 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
ตัวแปลภาษาระดับสูง Compiler ตัวแปลภาษาที่ใช้วิธีการแปล Source Code ให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียวทั้งโปรแกรม Interpreter ตัวแปลภาษาที่ใช้วิธีการแปลทีละบรรทัดหรือทีละประโยค ถ้าถูก Source Code ถูกต้อง ก็แปลให้เป็นภาษาเครื่อง (Object Code) แล้วนำประโยคนั้นไปสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้ทำงานทันที แต่ถ้าพบ Source Code ประโยคใดผิด ก็จะหยุดแปลและหยุดทำงาน บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

69 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ความหมาย ส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีความสัมพันธ์และใกล้ชิดกับมนุษย์มากที่สุด โดยทั่วไปมักถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ใช้เฉพาะงาน แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานเฉพาะด้าน(Application Software fo Spacific Purpose) ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป(Package Software) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

70 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานเฉพาะด้าน
Application Software for Specific Purpose คือซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับงานขององค์กรใดองค์กรหนึ่งโดยเฉพาะ ไม่สามารถนำไปใช้กับองค์กรอื่นได้ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้สร้างขึ้นโดยบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ที่มีความชำนาญในด้านนั้น ๆ ตัวอย่างคือ ซอฟต์แวร์ด้านงานบุคลากร, ซอฟต์แวร์ระบบงานบัญชี, ซอฟต์แวร์ระบบสินค้าคงคลัง บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

71 ตัวอย่าง โปรแกรมใช้งานเฉพาะด้าน
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

72 ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package Software)
ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในสำนักงานทั่ว ๆ ไป สร้างโดยบริษัทที่มีความชำนาญในด้านนั้น ๆ โดยเฉพาะ มีการปรับปรุงรุ่น(version)ของซอฟต์แวร์ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นอยู่เสมอ แบ่งได้ 6 ประเภทคือ ซอฟต์แวร์ตารางกระดาษคำนวณ (Spreadsheets) ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word Processing) ซอฟต์แวร์นำเสนอผลงาน (Presentation) กราฟฟิก ซอฟต์แวร์ (Graphic Software) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (Data Base Management System :DBMS) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

73 ซอฟต์แวร์ตารางกระดาษคำนวณ(Spreadsheets)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

74 ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word Processing)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

75 ซอฟต์แวร์นำเสนอผลงาน (Presentation)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

76 กราฟิกซอฟต์แวร์ (Graphic Software)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

77 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (Data Base Management System :DBMS)
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

78 มัลแวร์ หรือโปรแกรมประสงค์ร้าย (Malicious Application; MalWare)
คือโปรแกรมที่ทำงานแบบไม่หวังดีกับระบบคอมพิวเตอร์ อันหมายรวมถึง ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus), หนอนคอมพิวเตอร์ (Worm), ม้าโทรจัน (Trojan Horse), โปรแกรมแอบดักข้อมูล (Spyware), โปรแกรมโฆษณา (Adware), Backdoor, Key Logger ฯลฯ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

79 บุคคลากรคอมพิวเตอร์(Peopleware)
ผู้จัดการระบบ (System Manager นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst โปรแกรมเมอร์ (Programmer ผู้ใช้ (User) บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

80 ข้อมูลและสารสนเทศ(Data/Information)
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือข้อมูลดิบ ที่ได้จากการสำรวจหรือรวบรวมมา ข้อมูลอาจจะเป็น ตัวเลข ตัวหนังสือ รูปภาพสัญลักษณ์ต่างๆ สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลไปผ่านการประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง และสารสนเทสามารถนำไปใช้งานได้ทันที บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

81 กระบวนการทำงาน (Procedure)
กระบวนการทำงานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรับรู้กระบวนการทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่างๆ นั้น มักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่างๆ ในการปฏิบัติงานด้วย บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

82 การพัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์
ทิศทางการพัฒนาทางด้านคอมพิวเตอร์มี 3 ประการด้วยกันคือ 1. มีขนาดเล็กลง จากเครื่องคอมพิวเตอร์ในระยะแรกๆอย่างเช่นเครื่อง ENIAC ที่ใช้หลอดสุญญากาศ 18,000 หลอด มีน้ำหนักถึง 30 ตัน และ มีความกว้างถึง 30 ฟุต มาเป็นเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก 2. มีพลังอำนาจมากขึ้น มีความสามารถในการประมวลผลที่มีความเร็วสูงกับโปรแกรมขนาดใหญ่ และ การจัดการข้อมูลเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ยังสามารถเก็บบันทึกข้อมูลจำนวนมากๆ ได้ 3.ราคาถูกลง การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อย่างรวดเร็ว พร้อมๆ กับ ความต้องการใช้คอมพิวเตอร์ในทุกสาขาอาชีพมากขึ้น ทำให้เครื่องมีราคาถูกลงอย่างรวดเร็ว บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

83 4. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
ตั้งแต่อดีตในปัจจุบันสิ่งมีชีวิตได้ พยายามที่จะติดต่อหรือส่งสัญญาณให้พวกพ้องของตนรับทราบในเรื่องต่างๆ เช่น การเตือนภัยจากสิ่งรอบข้าง หรือส่งสัญญาณเพื่อให้ทราบในสิ่งต่างๆ ตามที่ตนต้องการ ซึ่งการสื่อสารข้อมูลนั้นจะต้องมีองค์ประกอบอย่างน้อย 3 องค์ประกอบด้วยกันกล่าวคือ องค์ประกอบพื้นฐานทางด้านการสื่อสาร หน่วยส่งข้อมูล ช่องทางการส่งข้อมูล หน่วยรับข้อมูล บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

84 องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม
ผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร ช่องสัญญาณ การเข้ารหัส การถอดรหัส บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

85 องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม (ต่อ)
ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร อาจเป็นคน หรือ สัญญาณต่างๆ การเข้ารหัส เป็นการช่วยให้ผู้รับข่าวสารและผู้รับข่าวสารเข้าใจกันได้ และข้อมูลเป็นความลับ เช่น ระบบโทรศัพท์, ระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ช่องสัญญาณ ในที่นี้หมายถึงสื่อกลาง หรือตัวกลางที่ข่าวสารสามารถที่จะเดินทางไปได้ เช่นสายโทรศัพท์, น้ำ, อากาศ เป็นต้น การถอดรหัส เป็นการเปลี่ยนข้อมูลให้พร้อมที่จะส่งให้ผู้รับเข้าใจได้ เช่นในระบบคอมพิวเตอร์ จะเปลี่ยน เลขฐานสองให้อยู่ในรูปของข้อความหรือรูปภาพเพื่อจะนำไปแสดงผลให้ผู้ใช้เข้าใจได้ เป็นต้น ผู้รับข่าวสาร หมายถึงปลายทางของข่าวสาร บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

86 วัตถุประสงค์ของการนำการสื่อสารข้อมูลมาประยุกต์ใช้
เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เพื่อลดเวลาการทำงาน เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร เพื่อช่วยขยายการดำเนินการองค์การให้ดียิ่งขึ้น เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การให้สะดวกยิ่งขึ้น บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

87 ช่องทางการสื่อสาร ( Communication Channels )
การเชื่อมต่อด้วยสาย หรือเคเบิล สายทองแดงตีคู่บิดเกรียว หรือที่เรียกว่า ทวิสแพร์ ( Twisted pairs ) สายแบบโคแอคเชียน ( Coaxial Cable ) สามารถส่งสัญญาณ ที่ มี ความถี่สูง สามารถส่งสัญญาณได้เป็น 80 เท่าของสายแบบ ทวิสแพร์ สายไฟเบอร์ออฟติก ( Fiber-Optic Cable ) ส่งเป็น สัญญาณแสงผ่านเส้นใยแก้วนำแสง สามารถส่งสัญญาณได้เป็น 26,000 เท่าของสายแบบ ทวิสแพร์ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

88 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

89 ช่องทางการสื่อสาร ( Communication Channels ) (ต่อ)
การส่งสัญญาณแบบไร้สาย มี 2 แบบด้วยกันคือ คลื่นวิทยุ (Radio waves ) มันสามารถหลบสิ่งกีดขวางได้ คลื่นไมโครเวฟ (Microwaves ) เป็นคลื่นที่มีพลังมาก ไม่สามารถส่งคลื่น ไปตามแนวโค้งของโลกได้ จะส่งคลื่นในทิศทางตรงที่มองเห็นในระดับเดียวกันเท่านั้น การส่งสัญญาณจึงต้องมีการติดตั้งสถานีถ่ายทอดสัญญาณเป็นช่วงๆ โดยที่สถานีถ่ายทอดสัญญาณไมโครเวฟจะมี 2 แบบคือ แบบจาน( Dishes ) หรือแบบเสา ( Atennas ) ที่ติดตั้งบน อาคารสูง หรือ บนยอดเขาสูง ใช้สำหรับการส่งคลื่นวิทยุ และโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือมือถือ ไม่ว่ามันจะมีกำลังส่งมาก หรือน้อยก็ตาม มันสามารถหลบสิ่งกีดขวางได้ การสื่อสารผ่านดาวเทียม ( Communications satellites ) โดยใช้จรวดส่งดาวเทียมไปโคจรในอวกาศ เพื่อถ่ายทอดสัญญาณ ซึ่งอยู่ เหนือพื้นโลกประมาณ 22,000 ไมล์ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

90 การส่งข้อมูลแบบ Microwave และผ่านดาวเทียม
Satellites บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

91 ระบบเครือข่ายการสื่อสาร ( Communication Networks )
LAN ( Local Area Network ) เป็นเครือข่ายที่ เชื่อมต่อในระยะใกล้ MAN ( Metropolitan Area Network ) เป็นเครือข่ายที่ ครอบคลุมตัวเมือง หรือภาคต่างๆ ในประเทศ อยู่ในบริเวณรัศมี น้อยกว่า 10 กิโลเมตร WAN ( Wide Area Network ) เป็นเครือข่ายที่มีขอบเขตกว้างไกล ครอบคลุมทั่วประเทศ หรือระหว่างประเทศ ในการส่งข้อมูลจะใช้ ไมโครเวฟ และการสื่อสารผ่านดาวเทียม พอๆ กับการใช้สายสัญญาณ หรือสายเคเบิลอื่นๆ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

92 การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย LAN MAN WAN
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

93 บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)
IP Phone ระบบเสียงของโทรศัพท์มีคุณภาพสูงขึ้น มีระบบความปลอดภัย Firewall IP-based conference calling การประชุมทางเสียง voice บนระบบ IP Phone สามารถเช็ค voice message จาก Internet เชื่อมต่อกับระบบ Wireless Network ในองค์กรได้ คอมพิวเตอร์แบบพกพาเชื่อมต่อ Wireless Network และสามารถเป็นส่วนหนึ่งของระบบ IP Phone ได้ บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)

94 จบบทที่1


ดาวน์โหลด ppt เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google