ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMartha Ramsey ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยของหน่วยบริการสาธารณสุข
อรพันธ์ อันติมานนท์ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
2
เป้าหมายการจัดบริการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายในการดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัย หน่วยบริการ สาธารณสุขสังกัด กรมอื่นในสธ. 57 แห่ง เป้าหมายการจัดบริการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Central รพศ/รพท 116 แห่ง Province หน่วยบริการ สาธารณสุขสังกัด กระทรวงอื่น ๆ รพช=743 District สถานพยาบาล เอกชน 329 แห่ง รพ.สต= 9,770
3
การดำเนินงานที่ผ่านมา: การจัดบริการอาชีวอนามัย
การพัฒนาและตรวจรับรองโรงพยาบาลที่มีการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ตั้งแต่ปี 51 การพัฒนามาตรฐานและตรวจรับรองคุณภาพการจัดบริการอาชีวอนามัย ของหน่วยบริการสาธารณสุข รพศ/รพท ดำเนินการเต็มรูปแบบ ปี 58 รพช เริ่มดำเนินการให้ รพ. ประเมินตนเองตามมาตรฐานฯ รพ.สต เริ่มดำเนินการให้ รพ. ประเมินตนเองตามมาตรฐานฯ (นำร่องบางจังหวัด) การพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงานของโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป และชุมชนบางแห่ง MOU กับกระทรวงแรงงานตั้งแต่ปี 48
4
การดำเนินงานที่ผ่านมา: การจัดบริการอาชีวอนามัย
การพัฒนาและตรวจรับรองโรงพยาบาลที่มีการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ตั้งแต่ปี 51 การพัฒนามาตรฐานและตรวจรับรองคุณภาพการจัดบริการอาชีวอนามัย ของหน่วยบริการสาธารณสุข รพศ/รพท ดำเนินการเต็มรูปแบบ ปี 58 รพช เริ่มดำเนินการให้ รพ. ประเมินตนเองตามมาตรฐานฯ รพ.สต เริ่มดำเนินการให้ รพ. ประเมินตนเองตามมาตรฐานฯ (นำร่องบางจังหวัด) การพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงานของโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป และชุมชนบางแห่ง MOU กับกระทรวงแรงงานตั้งแต่ปี 48
5
ผลการดำเนินงานปี 58
6
จำนวน รพ.ผ่านการรับรอง ตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 2558 สคร. จำนวน ระดับ รพศ./รพท. รพช. ไม่ผ่าน เริ่มต้นพัฒนา ดี ดีมาก ดีเด่น 1 เชียงใหม่ 6 1 2 3 2 พิษณุโลก 3 นครสวรรค์ 4 สระบุรี 4 5 ราชบุรี 6 ชลบุรี 7 ขอนแก่น 8 อุดรธานี 9 นครราชสีมา 10 อุบลราชธานี 11 สุราษฎร์ธานี 12 สงขลา รวม 32 11 17 ข้อมูล ณ 20 ตุลาคม % รพศ/รพท ผ่านการรับรองตามมาตรฐานการจัดบริการ อช
7
จำนวน รพ. ที่ประเมินตนเองตามมาตรฐาน OSH ปี 2558 สคร จำนวน ระดับ รพศ./รพท. รพช. ไม่ผ่าน เริ่มต้นพัฒนา ดี ดีมาก ดีเด่น 1 เชียงใหม่ 5 4 1 2 พิษณุโลก 3 นครสวรรค์ 3 4 สระบุรี 5 ราชบุรี 6 2 6 ชลบุรี 7 ขอนแก่น 8 อุดรธานี 9 9 นครราชสีมา 10 อุบลราชธานี 8 11 นครศรีธรรมราช 7 12 สงขลา รวม 29 49 33 21 11 ข้อมูล ณ 17 ธันวาคม 2558 สคร. 4,6 ยังไม่ได้ส่งผลการประเมินตนเอง
8
สรุปภาพรวมการดำเนินงาน
รพศ/รพท ที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงานจะต้องเข้าร่วมประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยทุกแห่ง (100%) ผลการดำเนินงาน มี (32 แห่งรับรองผล + 24 ประเมินตนเอง รวม 56 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ (56/90) รพช ประเมินตนเองตามมาตรฐาน ภาพรวม ร้อยละ 6 (ผ่านเกณฑ์) แต่ระดับเขต ???
9
ผลการจัดระดับการประเมินตนเองตามมาตรฐาน การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับรพ
ผลการจัดระดับการประเมินตนเองตามมาตรฐาน การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับรพ.สต. สคร. จำนวน รพ.สต. ระดับผลการดำเนินการ คลินิกเกษตร มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ไม่ได้เข้าร่วม เริ่มต้น พื้นฐาน ดี ดีมาก ไม่ได้ส่งการประเมิน ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ ไม่ผ่าน เริ่มต้นพัฒนา ดีเด่น สคร.1 เชียงใหม่ 4 - 2 - - 1 สคร.2 พิษณุโลก 5 3 สคร.3 นครสวรรค์ สคร.4 สระบุรี สคร.5 ราชบุรี สคร.6 ชลบุรี สคร.7 ขอนแก่น
10
มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ไม่สามารถจัดกลุ่มได้
ผลการจัดระดับการประเมินตนเองตามมาตรฐาน การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับรพ.สต. ขาด สคร 5,7,8,11 สคร. จำนวน รพ.สต. ระดับผลการดำเนินการ คลินิกเกษตร มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ไม่ได้เข้าร่วม เริ่มต้น พื้นฐาน ดี ดีมาก ไม่ได้ส่งการประเมิน ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ ไม่ผ่าน เริ่มต้นพัฒนา ดีเด่น สคร.8 อุดรธานี - สคร.9นครราชสีมา 1 สคร.10 อุบลราชธานี 4 3 สคร.11 นครศรีธรรมราช สคร.12 สงขลา 13 9 6 รวม 32 2 19 5
11
ผลการจัดระดับการประเมินตนเองตามมาตรฐาน การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับรพ
ผลการจัดระดับการประเมินตนเองตามมาตรฐาน การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับรพ.สต. ประเด็นปัญหา/ข้อจำกัด บุคลากร ยังขาดความรู้ความเข้าใจกับการลงรหัส ICD 10 ส่วนของ external causes (รหัสสาเหตุภายนอก) หรือ รพ.สต บางแห่งลงรหัสได้แต่ไม่สามารถพิมพ์ผล เพื่อนำเสนอเป็นสถิติผู้มารับบริการด้วยปัญหาสุขภาพจากการทำงานได้ ชุดตรวจสารเคมีในเลือดของเกษตรกรไม่เพียงพอ การรายงานผลการดำเนินงานคลินิกสุขภาพเกษตรกรส่วนกลางควรมีการพัฒนาโปรแกรมที่สะดวกในการลงข้อมูล เพื่อลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ รพ.สต.บางแห่ง ยังไม่ได้ดำเนินการจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุก เนื่องจากยังขาดองค์ความรู้การประเมินความเสี่ยงและการบริหารจัดการความเสี่ยงจากการทำงาน
12
แนวทางการดำเนินงานปี 59
13
แผนงานควบคุมโรคจากสิ่งแวดล้อม
มาตรการที่ 2 พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสุขภาพของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดมาตรการที่ 2.1 ร้อยละของรพศ./รพท. ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่โอกาสเสี่ยง สามารถเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพฯ และจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 30 (35 แห่ง) ของรพศ./รพท. ทั่วประเทศ (ทั้งหมด116 แห่ง; รพศ 28, รพท 88 ) มีการดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย สคร. ละ 2 แห่ง
14
พื้นที่เป้าหมาย ทั่วประเทศ เน้น 1. จังหวัดที่มีพื้นที่ที่มีปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม (ตามที่สำนักฯ กำหนด) รวมทุกปัญหา 36 จังหวัด (เขต 12 สงขลา) 2. พื้นที เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด (เขต 12 สงขลา, นราธิวาส)
15
พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ
เขตสุขภาพ สคร. จังหวัด รพศ/รพท โรงพยาบาลชุมชน 1 สคร. 1 เชียงราย รพศ.เชียงรายประชานุเคราะห์ รพช.สมเด็จพระยุพราชเชียงของ รพช.แม่สาย รพช.เชียงแสน 2 สคร. 2 ตาก รพท.แม่สอด รพช.พบพระ รพช.แม่ระมาด 5 สคร. 5 กาญจนบุรี รพท.พหลพลพยุหเสนา ไม่มี 6 สคร. 6 ตราด รพท.ตราด รพช.คลองใหญ่ สระแก้ว รพท.สมเด็จพระยุพราชสระแก้ว รพช. วัฒนานคร
16
พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ
เขตสุขภาพ สคร. จังหวัด รพศ/รพท โรงพยาบาลชุมชน 8 สคร. 8 หนองคาย รพท.หนองคาย รพช.สระใคร นครพนม รพท.นครพนม รพช.ท่าอุเทน 10 สคร. 10 มุกดาหาร รพท.มุกดาหาร รพช.หว้านใหญ่ รพช.ดอนตาล 12 สคร. 12 สงขลา รพศ.หาดใหญ่ รพช.สะเดา นราธิวาส รพท.นราธิวาส รพท.สุไหงโก-ลก รพช.ยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา รพช.แว้ง รพช.ตากใบ
17
แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ ศก
แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ ศก. พิเศษ กระบวนการจัดบริการยึดตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยของหน่วยบริการสาธารณสุขแต่ละระดับ + plus การจัดทำสถานการณ์สุขภาพแรงงานไทย และแรงงานต่างชาติ + plus การสื่อสารความเสี่ยง ภาษาต่างๆ ระยะยาวเน้นการพัฒนาความร่วมมือการคัดกรอง สงต่อ โรคจากการทำงานกับเมืองคู่แฝดชายแดน (twin cities)
18
การพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 2559
1 อบรมหลักสูตรการพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรของหน่วยบริการสาธารณสุขตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย กลุ่มเป้าหมาย ผู้แทนจาก สำนักงานป้องกันควบคุมโรคสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ฯ/โรงพยาบาลทั่วไป ที่ยังไม่ผ่านการประเมินตามมาตรฐาน หรือ โรงพยาบาลชุมชนที่ผ่านการรับรองการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาลระดับ ๕ ต่อเนื่อง เน้น พื้นที่ Hotzone กับเขตเศรษฐกิจพิเศษ ผู้จัด และวิทยากร รวม 300 คน
19
แผนการอบรม ภาคเหนือ สคร. ๑-๓ สคร. ๓ จ.นครสวรรค์ 7-8 มกราคม 2559
เจ้าภาพ สถานที่ ระยะเวลาการจัดอบรม ภาคเหนือ สคร. ๑-๓ สคร. ๓ จ.นครสวรรค์ 7-8 มกราคม 2559 ภาคกลาง สคร.๔-๖ และ กทม. สคร.๔,๕,๖ ภาคกลาง หรือ กทม. 23-24 พฤศจิกายน๒๕๕๘ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สคร. ๗-๑๐ สคร.๑๐ อุบลราชธานี ๑๔-๑๕ มกราคม ๒๕๕๙ ภาคใต้ สคร. ๑๑ 18-19 มกราคม ๒๕๕๙ สคร 12 สคร12 หาดใหญ่ ธันวาคม 2558
20
การพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 2559
2 ประชุมรับรองผลการประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย และการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล (สำนักฯ) 3 จัดทำโล่ และใบประกาศเกียรติคุณ (สำนักฯ) 4. พัฒนาแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับหน่วยบริการพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 5. ศึกษาสถานการณ์สุขภาพแรงงานไทยและแรงงานต่างชาติพื้นที่จังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ
21
การพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยปี 2559
4. ลงพื้นที่ตรวจประเมิน (สำนักฯ สคร และทีมประเมินจังหวัด) 5. การพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยของหน่วยบริการภาคเอกชนตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย (สำนักฯ) 6. พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยโรคจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม (สำนักฯ)
22
แนวทางการดำเนินงาน ปี 59
รพศ , รพท. ระดับโรงพยาบาล หน่วยงานที่ดำเนินการ รพศ , รพท. ที่เข้าร่วม โครงการพัฒนาคลินิก โรคจากการทำงานทุก แห่ง ประเมินตนเอง ตามมาตรฐานการ จัดบริการอาชีวอนามัย (ยกเว้น รพ ที่ผ่าน การรับรองมาแล้ว) -สคร. สสจ ประชาสัมพันธ์ และเก็บรวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลพร้อมผลการประเมินตนเองส่งให้กับสำนักฯ รพศ , รพท. ประเมิน ตามมาตรฐานการ จัดบริการอาชีวอนามัย เพื่อขอรับรองผล สคร ละอย่างน้อย 2 แห่ง สคร. คัดเลือก รพ. ที่มีความพร้อม อย่างน้อย 2 แห่งต่อ สคร. เพื่อเข้ารับการประเมินจากทีมประเมิน -สำนักฯ ออกสอบทวนร่วมกับทีมประเมินระดับจังหวัด -สคร.รวบรวมหลักฐานเพื่อขอรับรองผล
23
แนวทางการดำเนินงานปี 59
รพช. ระดับโรงพยาบาล หน่วยงานที่ดำเนินการ - รพช สครละอย่างน้อย 2 แห่ง มีการจัดบริการอาชีวอนามัยตามมาตรฐาน และได้รับการตรวจประเมินจากผู้ประเมิน ภายนอก (เน้นรพช.ในพื้นที่ 36 จังหวัดเสี่ยง และรพช.ที่มีการประเมินตนเองมาแล้วในปี 2558 -รพช. ร้อยละ10 มีการประเมินตนเอง -สคร. คัดเลือก รพ. ที่มีความพร้อม อย่างน้อย 2 แห่งต่อ สคร. เพื่อเข้ารับการประเมินจากทีมประเมิน -สำนักฯ ออกสอบทวนร่วมกับทีมประเมินระดับจังหวัด -สคร.รวบรวมหลักฐานเพื่อขอรับรองผล -สคร. สสจ ประชาสัมพันธ์ และเก็บรวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลพร้อมผลการประเมินตนเองส่งให้กับสำนักฯ
24
หน่วยงานที่ดำเนินการ
แนวทางการลงพื้นที่ ปี 59 รพ นอกสังกัด ระดับโรงพยาบาล หน่วยงานที่ดำเนินการ โรงพยาบาลสังกัดนอก สป. หรือนอกสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ที่ผ่านเกณฑ์การ ประเมินความเสี่ยงระดับ 5 หรือ 5 ต่อเนื่อง และมีการจัดบริการ อช. ให้กับผู้ประกอบ อาชีพภายนอกประเมินตนเองตามมาตรฐาน การจัดบริการอาชีวอนามัย -สคร. สสจ. ประชาสัมพันธ์ และเก็บรวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลพร้อมผลการประเมินตนเองส่งให้กับสำนักฯ
25
แนวทางการดำเนินงานมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย รพ. สต
รพช. และ รพ นอกสังกัด เป้าหมาย หน่วยงานที่ดำเนินการ -สคร.คัดเลือกรพ.สต.อย่างน้อย 2 แห่งที่ผ่าน เกณฑ์คลินิกสุขภาพเกษตรกรระดับดี หรือดี มากในปี 2558 มีการประเมินนำร่องตาม มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย - สคร. ประสานสสจ.คัดเลือก รพ.สต. ที่ที่ผ่านเกณฑ์คลินิกสุขภาพเกษตรกรระดับดี หรือดีมากในปี 2558 -สำนักฯ ร่วมกับทีมพื้นที่ลงประเมินนำร่อง และ M&E
26
พื้นที่จังหวัดเสี่ยง
รายชื่อรพ.ที่เสนอแนะให้เป็นเป้าหมายในการประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 59 เขตสุขภาพ และสคร พื้นที่จังหวัดเสี่ยง พื้นที่จังหวัดอื่นๆที่ประเมินแล้ว ประเมินแล้ว ยังไม่ประเมิน (เป้าหมายปี 59) 1 เชียงใหม่ รพ.นครพิงค์เชียงใหม่ รพ.เชียงรายฯ** รพ.ลำพูน รพ.แม่ฮ่องสอน รพ.พะเยา รพ.น่าน รพ.ลำปาง รพ จอมทอง รพ ฝาง รพ.แพร่ - **เขตเศรษฐกิจพิเศษ+จว เสี่ยง
27
พื้นที่จังหวัดเสี่ยง
รายชื่อรพ.ที่เสนอแนะให้เป็นเป้าหมายในการประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 59 เขตสุขภาพและสคร พื้นที่จังหวัดเสี่ยง พื้นที่จังหวัดอื่นๆที่ประเมินแล้ว ประเมินแล้ว ยังไม่ประเมิน (เป้าหมายปี 59) 2 พิษณุโลก รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก รพ.แม่สอด จ.ตาก** รพ.เพชรบูรณ์ รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสิน รพ.อุตรดิตถ์ 3 นครสวรรค์ รพ.พิจิตร* รพ อื่นๆที่อยู่ใน สคร - 4 สระบุรี รพ.พระนครศรีอยุธยา รพ เสนา รพ.สระบุรี + รพ อื่นๆ รพ.ปทุมธานี รพ พระนั่งเกล้า **เขตเศรษฐกิจพิเศษ+จว เสี่ยง
28
พื้นที่จังหวัดเสี่ยง
รายชื่อรพ.ที่เสนอแนะให้เป็นเป้าหมายในการประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 59 เขตสุขภาพและสคร พื้นที่จังหวัดเสี่ยง พื้นที่จังหวัดอื่นๆที่ประเมินแล้ว ประเมินแล้ว ยังไม่ประเมิน (เป้าหมายปี 59) 5 ราชบุรี รพ.สมุทรสาคร รพ.พหลพลฯ กาญจนบุรี** รพ.ประจวบฯ รพ.โพธาราม รพ.เจ้าพระยายมราชสุพรรณบุรี *เขตเศรษฐกิจพิเศษ+จว เสี่ยง
29
พื้นที่จังหวัดเสี่ยง
รายชื่อรพ.ที่เสนอแนะให้เป็นเป้าหมายในการประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการ อาชีวอนามัย ปี 59 เขตสุขภาพและสคร พื้นที่จังหวัดเสี่ยง พื้นที่จังหวัดอื่นๆที่ประเมินแล้ว ประเมินแล้ว ยังไม่ประเมิน (เป้าหมายปี 59-61) 6 ชลบุรี รพ.ระยอง รพ.ชลบุรี รพ. พานทอง (รพช) รพ.สมุทรปราการ รพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศ รพ.พุทธโสธร รพร.สระแก้ว** รพ.ตราด** รพ บางพลี รพ บางละมุง รพ กบินทร์บุรี รพ แกลง รพ อรัญประเทศ** รพ สมเด็จพระเทพฯ (มาบตาพุด) -
30
พื้นที่จังหวัดเสี่ยง
รายชื่อรพ.ที่เสนอแนะให้เป็นเป้าหมายในการประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 59 เขตสุขภาพ พื้นที่จังหวัดเสี่ยง พื้นที่จังหวัดอื่นๆที่ประเมินแล้ว ประเมินแล้ว ยังไม่ประเมิน (เป้าหมายปี 59-61) 7 ขอนแก่น รพ.ร้อยเอ็ด รพ.กาฬสินธุ์ รพ.ขอนแก่น 8 อุดรธานี รพ.อุดรธานี รพ.เลย รพ กุมภวาปี รพ นครพนม * รพ หนองคาย* *เขตเศรษฐกิจพิเศษ
31
รพ.ที่รับการประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 58
เขตสุขภาพและสคร พื้นที่จังหวัดเสี่ยง พื้นที่จังหวัดอื่นๆที่ประเมินแล้ว ประเมินแล้ว ยังไม่ประเมิน (เป้าหมายปี 59) 9 นครราชสีมา รพ.ชัยภูมิ รพ.สุรินทร์ รพ.บุรีรัมย์ รพ นางรอง รพ ปราสาท รพ.มหาราชนครราชสีมา รพ. สูงเนิน (รพช) 10 อุบลราชธานี รพ.สรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี รพ.มุกดาหาร* รพ วารินชำราบ รพ สมเด็จพระยุพราชเดชอุดม รพ 50 พรรษาฯ *เขตเศรษฐกิจพิเศษ
32
พื้นที่จังหวัดเสี่ยง
รายชื่อรพ.ที่เสนอแนะให้เป็นเป้าหมายในการประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 59 เขตสุขภาพ และสคร พื้นที่จังหวัดเสี่ยง พื้นที่จังหวัดอื่นๆที่ประเมินแล้ว ประเมินแล้ว ยังไม่ประเมิน (เป้าหมายปี 59) 11 นครศรีธรรมราช รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช รพ.กระบี่ รพ.ทุ่งสง รพ. สิชล รพ.วชิระภูเก็ต รพ.สุราษฎร์ธานี 12 สงขลา รพ.หาดใหญ่* จ.สงขลา รพ.สงขลา รพ นราธิวาส* รพ.สุไหงโกลก* รพ.ตรัง
33
ผลและแนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
34
ประเมินความเสี่ยงบุคลากรโรงพยาบาลร้อยละการยกระดับ รพช. ปี 2558
หน่วยงาน สคร เดิม จำนวน รพช. สังกัด สธ.(แห่ง) จำนวน (แห่ง) ร้อยละผ่านเกณฑ์ ระดับ1 ระดับ2 ระดับ3 ระดับ4 ระดับ5 เข้าร่วมและผ่าน ยกระดับปี58 ระดับ 1 ขึ้นไป ยกระดับสูงขึ้น สคร. 1 26 4 5 14 23 88.46 สคร. 2 32 7 16 100.00 สคร. 3 56 2 13 9 54 96.43 9.52 สคร. 4 51 10 21 8 50 98.04 12.20 สคร. 5 73 12 36 6.25 สคร. 6 105 29 20 17 95 90.48 24.24 สคร. 7 82 11 81 98.78 19.23 สคร. 8 42 1 3 9.09 สคร. 9 39 22 6 46.15 สคร. 10 86 59 18.18 สคร. 11 92.59 สคร. 12 65 43 63 96.92 28.13 รวม 711 35 101 112 148 292 688 60 96.77 15.15
35
ความสอดคล้องกับ HA HA หมวด 3, หมวด 5
HA THIPเป็นตัวชี้วัด ENV-HR นำเข้าระบบ Thailand Hospital Indicator Project: THIP (I & II) ของ HA ทั้งหมด 6 ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
36
ตัวชี้วัด หมวดตัวชี้วัด Human resource system ประเภทตัวชี้วัด
Human Resources and Occupational Health (HRH) รหัสตัวชี้วัด SH304 ชื่อตัวชี้วัด (ภาษาไทย) ผ่านเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ระดับ 5 (ของสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค)
37
ตัวชี้วัด หมวดตัวชี้วัด Human resource system ประเภทตัวชี้วัด
Human Resources and Occupational Health (HRH) รหัสตัวชี้วัด SH305 ชื่อตัวชี้วัด (ภาษาไทย) ผ่านมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับโรงพยาบาล องค์ประกอบที่ 2 (ของสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค)
38
ตัวชี้วัด: อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยจากการทำงาน (Injury/illness Severity Rate: SR) ในกลุ่มสัมผัส (SH302)และไม่สัมผัสผู้ป่วย (SH303) สูตรในการคำนวณ (a/b) x 1,000,000 หน่วยวัด : จำนวนวันที่หยุดงานหรือสูญเสียเนื่องจากการบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยต่อหนึ่งล้านชั่วโมงการทำงาน a = จำนวนวันที่บุคลากรทั้งหมดขององค์กรหยุดงานหรือสูญเสียเนื่องจากการบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยจากการทำงาน ในช่วงเวลาที่กำหนด b = จำนวนชั่วโมงการทำงานทั้งหมดของบุคลากรในองค์กร ในช่วงเวลาเดียวกัน การประเมินดูการลดลงเป็นรายปี หรือรายเดือน เป้าหมายลดลงร้อยละ 10 ต่อปี ความถี่ในการจัดทำข้อมูล ทุกเดือน หรือ เดือนละครั้ง (ตัวชี้วัดรายเดือน)
39
ตัวชี้วัด: อัตราความถี่การบาดเจ็บ/ เจ็บป่วยของบุคลากรที่เกิดจากการทำงาน Injury/illnesses Frequency Rate: FR (SH306) ในกลุ่มสัมผัส และไม่สัมผัสผู้ป่วย (SH307) สูตรการคำนวณ (a/b) x 1,000,000 หน่วยวัด : ครั้งต่อหนึ่งล้านชั่วโมงการทำงาน a = จำนวนครั้งที่บุคลากรทั้งหมดขององค์กรได้รับบาดเจ็บ/ เจ็บป่วย เนื่องจากการทำงาน ในช่วงเวลาที่กำหนด b = จำนวนชั่วโมงการทำงานทั้งหมดของบุคลากรในองค์กร ในช่วงเวลาเดียวกัน การประเมินดูการลดลงเป็นรายปี หรือรายเดือน เป้าหมายลดลงร้อยละ 10 ต่อปี ความถี่ในการจัดทำข้อมูล ทุกเดือน หรือ เดือนละครั้ง (ตัวชี้วัดรายเดือน) หมายเหตุ: กรณีการเจ็บป่วย ด้วยโรคเดียวกันนับครั้งแรก
40
แนวทางการดำเนินงานการประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล ปี59
เน้นการพัฒนายกระดับ เป้าหมายปี 59 ร้อยละ 18 ระดับโรงพยาบาล หน่วยงานที่ดำเนินการ รพ นอกสังกัด รพช. รพ. เอกชน ระดับ (เป้าหมายการยกระดับร้อยละ 18) -สคร. และทีมประเมินระดับจังหวัด รพช. ระดับ 5 และระดับ 5 ต่อเนื่อง (reaccredit) -สคร. แจ้งสำนักโรค ฯ พร้อมหลักฐานเพื่อขอรับรองผล รพ. นอกสังกัดปลัดกระทรวงสาธารณสุข หรือนอกสังกัดกระทรวง สธ ระดับ 5 และระดับ 5 ต่อเนื่อง (reaccredit) -สคร. แจ้งสำนักโรค ฯ -สำนักฯ ออกสอบทวนร่วมกับทีมประเมินระดับจังหวัด -สคร.รวบรวมหลักฐานเพื่อขอรับรองผล
41
การพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงาน
42
Definition “คลินิกโรคจากการทำงาน” เป็นชื่อเชิงสัญลักษณ์ที่จัดบริการอาชีวอนามัยทั้งเชิงรุก เชิงรับ เน้นการป้องกัน ควบคุม คัดกรอง และวินิจฉัยโรคจากการทำงาน รักษา รวมทั้งการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยมีการทำงานเป็นเครือข่ายร่วมกันทั้งภายในกระทรวงสาธารณสุขเอง เครือข่ายกระทรวงแรงงาน กระทรวงอื่นๆ รวมทั้งภาคเอกชน ภายใต้กรอบการดำเนินงานตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
43
จำนวนคลินิกโรคจากการทำงาน ปี2550-2557
แยกตามรายภาค โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข รวม 92 แห่ง ภาคเหนือ แห่ง ภาคกลาง แห่ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แห่ง ภาคใต้ แห่ง ภาคตะวันออก แห่ง สถาบันราชประชาสมาสัย กรมควบคุมโรค 43
44
โรงพยาบาลใหม่ที่เข้าร่วมโครงการปี 2558
1 โรงพยาบาลตราด 2 โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์ 3 โรงพยาบาลวานรนิวาส จ.สกลนคร 4 โรงพยาบาลท่าโรงช้าง จ.สุราษฎร์ธานี 5 โรงพยาบาลห้างฉัตร จ.ลำปาง ปี 58 รวม 97 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป 90 แห่ง รพช 7 แห่ง
45
ผลการดำเนินงานปี 2557
46
การส่งรายงานคลินิกโรคจากการทำงาน ปี 2557
จำนวน ครั้งที่ 1 57 แห่ง (62.0%) ครั้งที่ 2 61 แห่ง (66.3%) ครั้งที่ 3 49 แห่ง (53.3%) ส่งครบรายงานครบ 3 ครั้ง 35 แห่ง (38.0%) ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ 62 แห่ง (67.4%) ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์และเล่มครบ 3 ครั้ง/ปี 29 แห่ง (31.5%) Update ข้อมูลวันที่ 21/8/2558
47
โรงพยาบาลที่ส่งเล่มและรายงานครบ 3 ครั้ง/ปี
ลำดับ โรงพยาบาล 1 เชียงรายประชานุเคราะห์ 17 สมุทรปราการ 2 แม่จัน 18 สุรินทร์ 3 อุตรดิตถ์ 19 ชัยภูมิ 4 กำแพงเพชร 20 สรรพสิทธิประสงค์ 5 เพชรบูรณ์ 21 มุกดาหาร 6 สมเด็จพระเจ้าตากสิน 22 ยโสธร 7 แม่สอด 23 อุดรธานี 8 เจ้าพระยายมราช 24 สกลนคร 9 พระนครศรีอยุธยา 25 กาฬสินธุ์ 10 พระพุทธบาท 26 นครพนม 11 ปทุมธานี 27 หาดใหญ่ 12 สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่17 28 มหาราชนครศรีธรรมราช 13 สมุทรสาคร 29 พัทลุง 14 นครปฐม 15 โพธาราม 16 ระยอง
48
ตัวชี้วัดหลักที่สำคัญในการดำเนินงานพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงานของโรงพยาบาล ประกอบด้วย
มีการจัดตั้งคลินิกโรคจากการทำงานและประชาสัมพันธ์การให้บริการ แก่กลุ่มเป้าหมาย มีการสร้างเครือข่ายการดำเนินงานคลินิกโรคจากการทำงานทั้งภายในและภายนอก มีการดำเนินงานจัดบริการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ รวมทั้งการสนับสนุนให้สถานประกอบการในพื้นที่สมัครเข้าร่วมโครงการเพื่อดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข โดยร่วมกับสสจ, สคร มีการตรวจ รักษา วินิจฉัยโรคจากการทำงาน มีการวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน
49
ผลการดำเนินงานตามตัวชีวัดที่สำคัญปี2557
การจัดตั้งคลินิกโรคจากการทำงานและการให้บริการฯ ส่วนใหญ่ให้บริการ 3-5 วันต่อสัปดาห์ โดยมีแพทย์ออกตรวจ 1-2 วันต่อสัปดาห์
50
การประชาสัมพันธ์คลินิกโรคจากการทำงานผ่านช่องทางต่างๆ
เช่น แผ่นพับ-ป้ายผ้า – นิทรรศการ- วิทยุ-โทรทัศน์ - เสียงตามสายฯ Facebook ,รายการเคเบิ้ลทีวี และสร้างเครือข่ายการส่งต่อกับสถานประกอบการ สถานประกอบการที่ได้รับการประชาสัมพันธ์ 7,267 แห่ง
51
การจัดบริการอาชีวอนามัย
กิจกรรมการจัดบริการ เชิงรุก เชิงรับ ตรวจสุขภาพประจำปี (ตรวจสุขภาพทั่วไป) 137,512 ราย 2,745 แห่ง 53,076 ราย 1,493 แห่ง ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงจากการทำงาน 79,247 ราย 1,737 แห่ง 34,206 ราย 2,119 แห่ง การให้สุขศึกษา/การให้คำปรึกษา 188,715 ราย 5,597 แห่ง 102,820 ราย 17,088 แห่ง การเดินสำรวจสถานประกอบการเพื่อประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน 3,243 แห่ง -
52
การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
การตรวจวินิจฉัยโรคจากการทำงาน จำนวน ลูกจ้างที่สงสัยว่าจะป่วยด้วยโรคจากการทำงานเฉพาะผู้ที่มารับบริการ ณ คลินิกโรคจากการทำงาน 6,287 ราย ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคจากการทำงาน ณ คลินิกโรคจากการทำงาน 1,857 ราย ได้รับการวินิจฉัยโรคจากการทำงานจากคลินิกอื่น ๆ ภายในโรงพยาบาล 1,289 ราย ได้รับการวินิจฉัยโรคจากการทำงานจากการออกให้บริการเชิงรุกนอกโรงพยาบาล 1,083 ราย บาดเจ็บจากการทำงาน ใช้สิทธิ์เบิกกองทุนเงินทดแทน 62,016 ราย 13,556 ราย (21.9%)
53
โรงพยาบาลมีการดำเนินการจัดตั้งคณะทำงานเครือข่ายคลินิกโรคจากการทำงานระดับจังหวัด และมีการจัดประชุม อย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อปี มีบางรพ.ที่ยังตั้งคณะทำงานเครือข่ายระดับจังหวัดไม่ได้
54
# 147 โครงการ (1-2 โครงการ/โรงพยาบาล)
การจัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค/การบาดเจ็บจากการทำงานตามความเสี่ยงของสถานประกอบการในพื้นที่ เช่น โครงการการยศาสตร์ในที่ทำงาน/สถานประกอบการ โครงการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับโรคจากการทำงานในสถานประกอบการ โครงการโรคประสาทหูเสื่อมในโรงงานไม้แปรรูปยางพารา โครงการเฝ้าระวังปอดในโรงอิฐ โครงการเฝ้าระวังพิษสารตะกั่ว โครงการอนุรักษ์การได้ยิน โครงการเฝ้าระวังโรคปอดฝุ่นฝ้าย เป็นต้น # 147 โครงการ (1-2 โครงการ/โรงพยาบาล)
55
การพัฒนาบุคลากร บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านอาชีวอนามัย 559 คน
บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านอาชีวอนามัย 559 คน เฉลี่ยประมาณ 4-6 คนต่อโรงพยาบาล
56
การพัฒนาการจัดบริการ อาชีวอนามัยระดับตติยภูมิ
(ศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการทำงาน)
57
การจัดบริการอาชีวอนามัยระดับตติยภูมิ (ศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการทำงาน)
เกณฑ์ในการคัดเลือก สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยครอบคลุมทุกกิจกรรม ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู ทั้งเชิงรุก เชิงรับ โดยผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยของโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไประดับดีขึ้นไป สามารถจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้
58
การจัดบริการอาชีวอนามัยระดับตติยภูมิ (ศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการทำงาน)
เกณฑ์ในการคัดเลือก 3. สามารถวินิจฉัยโรคจากการทำงาน โดยมีการประสานงานกับเครือข่ายเพื่อการวินิจฉัยโรคจากการทำงานภายในโรงพยาบาล และมีการจัดทำ Clinical Practice Guideline โรคที่สำคัญ เช่น โรคระบบทางเดินหายใจปอด โรคระบบกล้ามเนื้อกระดูก โรคตามความเชี่ยวชาญ หรือ โรคที่ต้องเฝ้าระวังตามแนวทางที่สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯกำหนด
59
การจัดบริการอาชีวอนามัยระดับตติยภูมิ (ศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการทำงาน)
Criteria 4. มีความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา ประกอบด้วย 4.1 ด้านบุคลากร มีแพทย์และทีมงานด้านอาชีวเวชศาสตร์ และมีแพทย์สาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับความเชี่ยวชาญนั้นๆ รวมทั้งมีทีมงานสหสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับความเชี่ยวชาญ 4.2 ด้านเครื่องมือ มีเครื่องมือพิเศษในการตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรค และเครื่องมืออาชีวสุขศาสตร์สำหรับการตรวจประเมินทางสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเครื่องมืออื่นๆ เพิ่มตามความเชี่ยวชาญ
60
การจัดบริการอาชีวอนามัยระดับตติยภูมิ (ศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการทำงาน)
Criteria 5. มีการศึกษาวิจัย หรือการทำ R to R ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัย 6. เป็น training center ด้านอาชีวอนามัย มีจำนวน คุณวุฒิ บุคลากร และ เครื่องมือตามที่กำหนด
61
โรงพยาบาลที่จะพัฒนาสู่การเป็นศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการทำงาน
ภาคใต้ ลำดับ โรงพยาบาล ความเชี่ยวชาญ 1 หาดใหญ่* ศูนย์เชี่ยวชาญโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ จากการทำงาน 2 สุราษฎร์ธานี** **แม่ข่าย 59 61
62
สรุปผลการดำเนินงานของ รพ ศูนย์เชี่ยวชาญ
จากการนำเสนอที่เขาใหญ่มี รพ ที่มีผลงานค่อนข้างชัดเจน ลำดับ โรงพยาบาล 1 อุตรดิษถ์ 2 เจ้าพระยายมราช 3 มหาราชนครราชสีมา 4 ระยอง 5 ชลบุรี 62
63
ตัวอย่าง รพ มหาราชนครราชสีมา จัดตั้งศูนย์เชี่ยวชาญโรคปอดเหตุอาชีพ
64
จัดทำโครงการและแต่งตั้งคณะทำงาน ศูนย์เชี่ยวชาญโรคปอดเหตุอาชีพ
65
ประชุมคณะทำงานศูนย์เชี่ยวชาญโรคปอดเหตุอาชีพ
66
จัดทำแนวทาง/ช่องทางการรองรับ หรือส่งต่อผู้ป่วย
67
ซักประวัติคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคปอดเหตุอาชีพ ที่OPDอายุรกรรมโรคปอด และส่งConsult แพทย์ Chest Med
68
เครือข่ายการดำเนินงาน
เครือข่ายภายใน ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการวินิจฉัยโรค จากการทำงานในโรงพยาบาล
69
ร่วมเป็นคณะทำงานควบคุมป้องกันโรคซิลิโคซิส จังหวัดนครราชสีมา
70
บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
71
บทบาทของ สคร. 1.ร่วมกับสำนักฯ รพ.แม่ข่าย และ สสจ. ในการคัดเลือกโรงพยาบาลใหม่ในพื้นที่รับผิดชอบเข้าร่วมโครงการ 2. ดำเนินงานร่วมกับสำนักฯ สสจ เพื่อให้โรงพยาบาลในพื้นที่มีการประเมินคุณภาพการจัดบริการอาชีวอนามัยตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย 3. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ และสนับสนุนวิชาการด้านการป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแก่โรงพยาบาลในพื้นที่ 4.ร่วมนิเทศติดตามการดำเนินงานโครงการคลินิกโรคจากการทำงาน 5.ร่วมเป็นคณะทำงานคลินิกโรคจากการทำงานระดับจังหวัด/คณะทำงานพัฒนาระบบบริการอาชีวเวชศาสตร์ระดับจังหวัดของโรงพยาบาลในพื้นที่
72
บทบาทของคณะทำงานเครือข่าย คลินิกโรคจากการทำงาน
ขับเคลื่อนงานอาชีวอนามัยเพื่อดูแลผู้ประกอบอาชีพกลุ่มเสี่ยงทั้งจังหวัด บางจังหวัดทำเป็นยุทธศาสตร์จังหวัด การจัดทำแผนงาน โครงการ และกิจกรรมร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยในจังหวัด พัฒนาแนวทางในการรับ-ส่ง ต่อ ผู้ป่วยโรคจากการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลลูกจ้างให้ได้ประโยชน์สูงสุดโดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
73
บทบาทของ สสจ. 1.ร่วมเป็นคณะทำงานเครือข่ายคลินิกโรคจากการทำงานระดับจังหวัด/ หรือคณะทำงานชุดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.ร่วมกับสำนักฯและ รพ. แม่ข่ายในการคัดเลือกโรงพยาบาลใหม่ในพื้นที่รับผิดชอบเข้าร่วมโครงการ 3.สนับสนุนและผลักดันให้ รพ. ในพื้นที่มีการประเมินคุณภาพการจัดบริการอาชีว อนามัยตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย 4.สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่เพื่อให้สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.ร่วมนิเทศติดตามการดำเนินงานโครงการคลินิกโรคจากการทำงาน
74
บทบาทของ รพ.แม่ข่าย ใช้กลไกของ รพ. แม่ข่ายในการเป็นพี่เลี้ยงโรงพยาบาลที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง สนับสนุนวิชาการ เป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการ รวมทั้งจัดประชุมเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ วิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เครือข่าย รับ-ส่งต่อผู้ป่วยโรคจากการทำงาน สนับสนุนและ เป็นที่ปรึกษาในการบริหารจัดการโครงการ กิจกรรมอื่นๆ เช่น การทำแผนร่วมกันภายในเครือข่าย
75
การนิเทศ ติดตามงาน ให้คำปรึกษารายโรงพยาบาล
การนิเทศรายโรงพยาบาลมี 3 ระดับ 1.โรงพยาบาลที่สำนักฯ หรือ สคร ติดตามงาน 2. โรงพยาบาล ที่ให้โรงพยาบาลแม่ข่ายในแต่ละภาค ช่วยติดตามงาน 3. โรงพยาบาลที่สามารถดำเนินการได้เอง ติดตามงานผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ปีนี้ไม่มีนิเทศรายภาค เนื้อหาในการนิเทศ :ตามตัวชี้วัดที่กำหนด และงบประมาณที่ใช้จ่าย
76
การดำเนินงานปี 59 งบคลินิก
การดำเนินงานปี 59 งบคลินิก พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการประเมินและดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน นำร่อง รพ 8 แห่ง จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตามผลการดำเนินงาน นิเทศติดตามผลการดำเนินงาน
77
สรุปแนวทางการดำเนินงาน ปี 59
รพศ. รพท ทุกแห่งที่ยังไม่ได้ประเมิน สมัครเขาร่วมโครงการที่ สสจ และนำมาตรฐานไปประเมินตนเอง สคร. คัดเลือก รพศ. รพท เพื่อลงประเมินโดยทีมตรวจประเมิน เป้าหมาย สคร. ละอย่างน้อย 2 แห่ง สคร. คัดเลือก รพช เพื่อลงประเมินโดยทีมตรวจประเมิน เป้าหมาย สคร. ละอย่างน้อย 2 แห่ง รพช. อื่น ๆ หรือ รพ.นอกสังกัด ดำเนินการประเมินความเสี่ยงบุคลากร และเน้นการพัฒนายกระดับ รพ.สต. ที่มีการดำเนินงานคลินิกเกษตรกร และมีการประเมินว่าอยู่ในระดับ ดี ดีมาก นำมาตรฐานไปประเมินตนเอง และสำนัก ทีมประเมินระดับพื้นที่ลงประเมินนำร่องสคร ละ อย่างน้อย 2 แห่ง
78
สิ่งสนับสนุนในการจัดบริการอาชีวอนามัยปี 59
คู่มือการตรวจประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ฉบับปรับปรุง (อยู่ระหว่างการจัดพิมพ์) คู่มือการตรวจประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
79
ขอบคุณค่ะ การนำองค์กรปี 53 79
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.