งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

The Child with Musculoskeletal Dysfunction

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "The Child with Musculoskeletal Dysfunction"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 The Child with Musculoskeletal Dysfunction
อ.นภิสสรา ธีระเนตร

2 หัวข้อการเรียนการสอน
1. การประเมินอาการทางระบบประสาทในเด็ก 2. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูก สมองพิการ (Cerebral Palsy) 3. การพยาบาลเด็กโรคที่ต้องเข้าเฝือก

3 วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. อธิบายหลักและวิธีการประเมินเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทได้ 2. อธิบายการพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกได้ 3. นำองค์ความรู้ที่ได้ให้การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางกล้ามเนื้อกระดูกและครอบครัวได้

4 การประเมินเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
การประเมินด้านร่างกาย ประวัติ : การคลอด การเจ็บป่วยหลังคลอด ทางอารมณ์ของครอบครัว การเลี้ยงดู การตรวจร่างกาย : ลักษณะทั่วไป สัญญาณชีพ ศีรษะ ตา หู ปากและฟัน

5 การประเมินระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
Muscle tone การตรวจดูความตึงตัวของกล้ามเนื้อ ประเมินต้านต่อการเคลื่อนไหวที่ผู้ป่วยต้องออกแรง มีแรงต้านมากจนกล้ามเนื้อตึง (spasticity) แรงต้านลดลงกว่าปกติจนกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (flaccidity หรือ paralysis) ถ้ากล้ามเนื้อมีความตึงตัวพอดีถือว่าปกติ (normal)

6 Babinski’s sign ทดสอบโดยใช้อุปกรณ์ปลายทู่ เช่นกุญแจ ด้ามปากกา ขีดริมฝ่าเท้าตั้งต้นที่ส้นเท้าถึงนิ้วเท้า ถ้าผลบวกจะพบนิ้วเท้ากางออก ถ้านิ้วหัวแม่เท้ากระดกขึ้นในเด็กอายุ 1-2 ปี ถือว่าปกติ ถ้าอายุเกิน 2 ปีได้ผลบวกแสดงว่ามี upper motor neurone lesion

7 Brudzinski’s sign ให้เด็กนอนหงายใช้มือช้อนหลัง ศีรษะคางชิดอก ทำการทดสอบในเด็กที่มีการติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เด็กจะทำไม่ได้ ถ้ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นแล้ว โดยคอแข็ง (stiff neck) และเด็กจะแสดงอาการเจ็บปวดโดยจะงอเข่าและสะโพกทันที ผลการตรวจจึงเป็น positive

8 Kernig’s sign ให้เด็กนอนหงายและงอเข่าทั้งสองข้าง ยกต้นขาให้ตั้งฉากกับลำตัวทีละข้างแล้วลองเหยียดขาข้างนั้นออก เด็กปกติจะสามารถยกขาตั้งฉากแล้วเหยียดเข่าตรงได้ แต่เด็กที่ติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองอักเสบจะทำไม่ได้เพราะมีอาการปวด ผลการตรวจจึงเป็น positive

9 Tendon reflex โดยใช้ไม้เคาะเข่าเอ็น เคาะตรงเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อให้ติดกับข้อกระดูกแล้วสังเกตดู reflex ที่เกิดจากการยึดกล้ามเนื้อต่างๆ โดยใช้ค้อนเคาะเอ็นเคาะตรงเหนือข้อพับแขน เหนือข้อศอก ส่วนกล้ามเนื้อขา และกล้ามเนื้อน่อง ซึ่งต้องใช้ไม้เอ็นเคาะ เคาะตรงใต้กระดูกสะบ้า และตรงเอ็นร้อยหวาย ค่าปกติคือ 2+ ถ้า reflex เร็วคือได้ 4+ แสดงว่ามีความผิดปกติของระบบประสาท

10 การประเมินระดับการรู้สติ
ระดับการรู้สติ (Concious)มี 5 ระดับ Awake and alert Drowsy Stuporous Semi coma coma

11 Glasgow coma scale*

12 Cerebral Palsy (CP) หมายถึง ความบกพร่องของสมองส่วนที่ใช้ควบคุมกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับท่าทาง การทรงตัว การเคลื่อนไหว (motor disorders) ไม่จัดว่าเป็นโรค

13 สาเหตุ ระยะในครรภ์ ระยะคลอด ระยะแรกเกิดและระยะทารก การติดเชื้อ
ภาวะทุพโภชนา รังสีเอ็กซ์ ,กัมมันตรังสี กรรมพันธุ์ 15% ระยะคลอด คลอดลำบาก ขาดออกซิเจน ระยะแรกเกิดและระยะทารก บาดเจ็บที่ศีรษะ ตกจากที่สูง

14 อาการและอาการแสดง -Spastic กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนกำลังและแข็งตึงได้มาก
-Ataxia form ความสมดุลในการทรงตัวเสียไป -Athetosis มีการสั่นของกล้ามเนื้อ เคลื่อนไหวโดยไม่ตั้งใจ -Tremor มีอาการสั่นติดต่อกันและเป็นทั้งตัว -Rigidity มีอาการเกร็งของแขนขาจะต้านแรงเมื่องอหรือเหยียด -Mixed form คือมีอาการแสดงหลาย ๆ อย่างรวมกัน

15 Rigidity Ataxia form Athetosis

16 อาการและอาการแสดง (ต่อ)

17 การพยาบาล การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง
1. ดูแลเรื่องการเคลื่อนไหวของร่างกายที่บกพร่อง โดยการกระตุ้นให้เด็กนั่ง คลาน เดิน ตามวัยของเด็ก 2. จัดหาของเล่นที่จะกระตุ้นให้เด็กเกิดการเคลื่อนที่หรือการเคลื่อนไหว นำของเล่นที่เขย่ามีเสียงไพเราะ 3. ช่วยเด็กในการใช้อุปกรณ์เสริมต่างๆ เช่นอุปกรณ์ช่วยเดินสำหรับเด็กที่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เสริม 4. ส่งเด็กไปทำกายภาพบำบัดเพื่อป้องกันความพิการอื่นๆ 5. ให้ยาคลายกล้ามเนื้อในเด็กที่มีอาการ

18 การพยาบาล (ต่อ) พร่องการดูแลตนเอง
1. กระตุ้นให้เด็กดูแลตนเองตามความสามารถ ถ้าเด็กทำไม่ได้ต้องช่วยเหลือให้เกิดความสุขสบาย 2. ระวังการเกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ ในเด็กที่มีน้ำลายหรือเสมหะมาก 3. ช่วยเหลือเด็กในการรับประทานอาหาร จัดอาหารที่มีแคลอรีสูงให้พอเพียง 4. แนะนำเรื่องการฝึกการขับถ่ายโดยใช้วิธีที่แตกต่างกันตามความสามารถของเด็ก

19 การพยาบาล (ต่อ) พัฒนาการช้ากว่าวัย
1. ส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละด้านโดยใช้ของเล่นหรือกิจกรรมที่ให้เด็กได้และมีส่วนร่วมมากที่สุดตามความสามารถชองเด็ก 2. แนะนำบิดามารดา ญาติ หรือผู้ดูแลเด็กในการดูแลส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง 3. ติดตามและประเมินพัฒนาการเป็นระยะๆ

20


ดาวน์โหลด ppt The Child with Musculoskeletal Dysfunction

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google