ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประเมินหน่วยงานตามมาตรการ ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 29 กันยายน 2559 ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
2
วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ
วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ (นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย) การบริหารเชิงยุทธ์ ทั่วทั้งกระทรวงสาธารณสุข แนวทางการดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (PMS) ปี 2560
4
PA ปี 2560 กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ แผนงาน ประเด็น ตัวชี้วัด 1. P&P Excellence แผนที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย พัฒนาการเด็ก 0-5 ปี 1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ดูแล LTC. ในผู้สูงอายุ 3. ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ แผนที่ 2 การป้องกันควบคุมโรค โรคติดต่อ 4. ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการพระราชดำริ) 5. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ โรคไม่ติดต่อNCD 6. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 7. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ แผนที่ 3 ควบคุมปัจจัยเสี่ยง. คุ้มครองผู้บริโภค Food Safety 8. ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย 9. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด แผนที่ 4การดูแลสิ่งแวดล้อม G&C Hospital 10. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital
5
PA ปี 2560 กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ แผนงาน ประเด็น ตัวชี้วัด 2. Service Excellence แผนที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ PCC 11. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) แผนที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ลดตาย โรค STEMI. Stroke. CA 12. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 13. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 14. ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก 15. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ ลดป่วย โรค. CKD. CVD 16. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr 17. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) การใช้ยา RDU/AMR 18. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล แผนที่ 7 ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ พัฒนา ER EOC 19. ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ แผนที่ 8 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ HA/รพ.สต.ติดตาว 20. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) 21. ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ
6
PA ปี 2560 กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ แผนงาน ประเด็น ตัวชี้วัด 3. People Excellence แผนงานที่ 11 การพัฒนาระบบกำลังคน ด้านสุขภาพ MOPH 22. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happy Work Life Index) และ MOPH ไปใช้ 4. Governance Excellence แผนงานที่ 12 ระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ ITA 23. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA แผนงานที่ 13 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ IT 24. ร้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล แผนงานที่ 14 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ Finance 25. ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน แผนงานที่ 15 การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ วิจัย 26. ร้อยละผลงานวิจัย R2R ด้านสุขภาพที่เผยแพร่ให้หน่วยงานต่างๆนำไปใช้ประโยชน์ แผนงานที่ 16 ปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ กฎหมาย 27. ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไขและมีการบังคับใช้
7
แผนยุทธศาสตร์ฯ กรมอนามัย และการขับเคลื่อนการดำเนินงานปี 2560
CIPO 45 ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
10
ระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
คนไทยมีอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี 72 ปี (HALE) ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Community) A2 I M. (3ป 1บ) Assessment Advocacy Intervention Management/ Governance (Regulate & Technical Support) (ประเมิน) (เป็นปากเป็นเสียง) (ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ & อวล) (บริหาร/อภิบาล) Investigate Diagnosis Classified - เป้าหมายอนาคตของถนนชีวิต และสุขภาพ กลุ่มวัย - High touch & tech in PA , Nutrition, Oral Health Promote to Excellence ระดับประเทศ/กระทรวง ระดับเขต/จังหวัด/ อำเภอ ระดับท้องถิ่น/ชุมชน Inform, educate, and empower people about Health & Env.H. issues - Mobilize community partnership s and actions to identify and solve Health & Env.H. problem Healthy Settings Health &En.H. Provincial Profile เครือข่าย ระดับนโยบาย Model Development Health& Env.H.City Profile Monitor Normal Policy + Law EHA - Assure Quality of service ( Health Promotion & Env.) - Improve accessibility - Law & Regulation Protection กระทรวงสาธารณสุข ระบบประเมินรับรอง Health Promotion & Env. Surveillance Data & Information Analysis Prediction Health & Env.H. status & situation By RISK สสส. สช. คร. สปสช. สบส. เขตสุขภาพ/ศอ. อสธจ. อปท. Eliminate Reduction ตำบลบูรณาการ - Appropriate Health Behavior, and lifestyle - PA - Target - Nutrition - Target - Env. -> Intervention - Morbidity & Mortality in all group ILL รพ.สต. อสม./ แกนนำ ชุมชน DOH (EnH Cluster + 5 กลุ่มวัย Cluster) Strategy -Technical Support โดยการ Regulate t เฝ้าระวัง 6 Cluster (5 กลุ่มวัย + อนามัยสิ่งแวดล้อม) 5 มิติ (Risk factor, Protective factor, Promoting intervention, Health outcome, Life impact) 36 ตัวชี้วัด เช่น มารดาตาย, พัฒนาการสมวัย, สูงดีสมส่วน, คลอดซ้ำในวัยรุ่น, BMI ปกติ, พฤติกรรมที่เหมาะสม, การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ … ect สสจ. DHS สสอ./ รพช. Support/ Regulate Regulate Support/ ภาคีเครือข่ายระดับท้องถิ่น/ชุมชน Improve Maintain ภาคีเครือข่ายระดับเขต/จังหวัด - Specific age group Health Promotion Program - Appropriate Health Behavior and lifestyle - PA - Target - Nutrition – Target - Env. -> Intervention Morbidity & Mortality in all group Build Capacity 11
11
R A I P B
13
ตัวชี้วัด ??????? วัดความสำเร็จของงานตามแผนยุทธศาสตร์
(สภาพัฒน์ – กองแผน) วัดความสำเร็จของงานเทียบกับงบประมาณที่ใช้ ในการดำเนินงาน (สงป:ขาวคาดแดง- กองคลัง+กองแผน ) วัดประสิทธิภาพในการปฏิบติราชการ (กพร ) กำกับ ติดตาม เฝ้าดูรู้การเปลี่ยนแปลง (ระบบเฝ้าระวัง 30+5)
14
แนวทางการดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (PMS) ปี 2560
15
อธิบดี Vs รองปลัด รองอธิบดี Vs อธิบดี ผอ. Vs รองอธิบดี หน./บุคคล Vs ผอ
16
กระบวนงานหลักกรมอนามัย (Core Business Process)
17
วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ กรอบการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ ปี 2560 (ส.กพร.) (ดร.อัมพร จันทวิบูลย์ ผอ.กพร.)
18
1. การประเมินส่วนราชการ
การประเมินผลตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ปี 2560 (ตามคำสั่ง คสช. ที่ 5/2559) 1. การประเมินส่วนราชการ 2. การประเมินข้าราชการ Functional Based Functional Based Agenda Based Agenda Based Area Based Area Based Innovation Based Competency Based Potential Based Potential Based
21
กรอบการประเมินผลหน่วยงาน
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผลตามบทบาท/หน้าที่/CBP ตัวชี้วัดอื่นๆ ในยุทธศาสตร์ หา Leading สู่ Lagging 1. Functional Based งานที่ต้องการพัฒนา รูปแบบ มาตรฐาน (ตัวชี้วัดที่ไม่มี Baseline Data) 2. Agenda Based 3. Area Based ตัวชี้วัดร่วม Cluster/System 4. Innovation Based 5. Potential Based ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ & พัฒนาองค์การ 1.การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2.การประหยัดพลังงาน 3. KISS(Information & Knowledge for Action) 4. HR (HR Scorecard – เน้น 1+3) 5.คุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) ผลงานที่มีความโดดเด่น สำคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ/ นานาชาติ (หน่วยวิชาการ) ผลงานที่มีความโดดเด่น ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับพื้นที่ (ศอ.1-13 ศพส.กทป.)
22
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา การดำเนินงานของ กสธ. และ ตัวชี้วัด ปลัด Vs รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 การดำเนินงานของ กสธ. และ การกำหนดตัวชี้วัด ปลัด Vs รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
23
PA ปลัด สธ.ลงนามกับ รมว.สธ
PP Excellent 1. การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย. 1.1. ดูแลพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี 1.2. ดูแล LTC. ในผู้สูงอายุ 1.3 การเกิดคุณภาพ 1.4 โภชนาการให้แม่และเด็ก 2. การป้องกันควบคุมโรค 2.2. โรคไม่ติดต่อNCD เป้าหมายที่อาหาร. ออกกำลังกาย อ้วน. 3. ควบคุมปัจจัยเสี่ยง. คุ้มครองผู้บริโภค 3.1. Food Safety 4. การดูแลสิ่งแวดล้อม 4.1. Green and Clean Hospital Governance Excellent 10. ธรรมาภิบาล. ไม่มีทุจริตคอรับชั่น. ITA 11. ระบบข้อมูลข่าวสาร. ระบบเฝ้าระวัง. ระบบ บริการ. ระบบสนับสนุน 12. ระบบการเงิน. ไม่มีรพระดับ7 13.การศึกษาวิจัยผลิตนวัตกรรม. ประเทศไทย 4.0 14. การพัฒนากฎหมายที่จำเป็น 14.1. การพัฒนากฎหมาย 14.2. การบังคับใช้กฎหมาย เช่น พรบ. อำนวยความสะดวก Service Excellent 5. PCC คลินิกหมอครอบครัว 6. Service Plan 8. การพัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล. HA. รพสต. ติดดาว People Excellent 9. การพัฒนาบุคลากร ให้มีค่านิยม MOPH
25
ผู้รับผิดชอบ/เลขานุการ/15 ตัวชี้วัดหลัก
Cluster/System จำนวน สำนัก/กอง แม่และเด็ก 3 สำนักส่งเสริมสุขภาพ วัยเรียน 1 สำนักทันตะสาธารณสุข วัยรุ่น สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ วัยทำงาน 1+1 สำนักโภชนาการ ผู้สูงอายุ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ สิ่งแวดล้อม สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม FIN กองคลัง KISS 2 กองแผนงาน HR กองการเจ้าหน้าที่ HPO 1 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
26
บทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Monitoring & Evaluation
Development/ Standardization Execution/ Implementation Monitoring & Evaluation รมว./ผู้บริหารระดับสูง CIPO/ผู้ตรวจราชการ/รองอธิบดี CMEO/สาธารณสุขนิเทศก์/ผู้ทรงฯ สำนักงานเขต /สสจ./ รพ./ สสอ./รพ.สต. กรม/ส.ต่าง ๆ สำนักตรวจ/ ศูนย์เขตของกรมต่าง ๆ สนย./กองแผนกรม สบรส./สำนักภายในกรม พัฒนานโยบาย ออกแบบมาตรการ Monitoring Evaluation จัดทำกรอบงบประมาณ จัดทำ Action Plan Report: Monthly, Quarterly พัฒนาตัวชี้วัด นำไปสู่การปฏิบัติ
27
บทบาทและภารกิจที่คาดหวังของ Cluster-สำนัก/กอง-ศูนย์ฯ
บทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Development/ Standardization Execution/ Implementation Monitoring & Evaluation อธิบดี/ผู้บริหารระดับสูง รองอธิบดี/ Cluster + Group นิเทศก์/ผู้ทรงฯ สำนัก/กอง วิชาการ สำนัก/กอง.ต่าง ๆ ศูนย์เขตของกรมต่าง ๆ กองแผนกรม กอง-สายสนับสนุน พัฒนานโยบาย ออกแบบมาตรการ Monitoring Evaluation จัดทำกรอบงบประมาณ จัดทำ Action Plan Report: Monthly, Quarterly พัฒนาตัวชี้วัด นำไปสู่การปฏิบัติ
28
การถ่ายระดับตัวชี้วัด
PA กรม Outcome Output Cluster Group Process สำนัก/กอง ศูนย์ฯ Process Output Outcome
29
การพิจารณารายตัวชี้วัด Cluster แม่และเด็ก (3 ตัว)
PA อธิบดี : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย 1. ร้อยละเด็กตรวจพบพัฒนาการล่าช้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (ยุทธศาสตร์กรม 2.1) หน่วยเจ้าภาพ- สส. มีใครอีก?? 2. ร้อยละของเด็กที่ตรวจพบพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - หน่วยดำเนินการ : ทุกศูนย์ - เป็น Flat rate หรือไม่
30
การพิจารณารายตัวชี้วัด Cluster แม่และเด็ก (3 ตัว)
PA อธิบดี : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปีสูงสมส่วน ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปีสูงสมส่วน (ยุทธศาสตร์กรม 3.1) หน่วยเจ้าภาพ- สภ./สส./สท./กอส./สว./สอน. - หน่วยดำเนินการ : ทุกศูนย์ - ค่าเป้าหมายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
31
การพิจารณารายตัวชี้วัด Cluster ผู้สูงอายุ (1 ตัว)
PA อธิบดี : ร้อยละของตำบลมีระบบ LTC ผ่านเกณฑ์ 4. ร้อยละของตำบลมีระบบ LTC ผ่านเกณฑ์ (ยุทธศาสตร์กรม13.2) หน่วยเจ้าภาพ-สอส./สท./สภ./กอส./สว. หน่วยดำเนินการ : ทุกศูนย์ 12 + เขต 13
32
การพิจารณารายตัวชี้วัด Cluster วัยเรียน (1 ตัว)
PA อธิบดี : ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงสมส่วน 5. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงสมส่วน (ยุทธศาสตร์กรม 5.1) หน่วยเจ้าภาพ-สภ./สส./สท./กอส./สว./สอน. หน่วยดำเนินการ : ทุกศูนย์ 12 + เขต 13
33
การพิจารณารายตัวชี้วัด Cluster วัยรุ่น (1 ตัว)
PA อธิบดี : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปีฯ 6.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปีฯ (ยุทธศาสตร์กรม 7) หน่วยเจ้าภาพ - สอพ. - สส. ออกแบบระบบ/กลไก เฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น หน่วยดำเนินการ : ทุกศูนย์ 12 + เขต 13
34
การพิจารณารายตัวชี้วัด Cluster วัยทำงาน (1 ตัว)
PA อธิบดี : ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปี BMI ปกติ 7. ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปี BMI ปกติ (ยุทธศาสตร์กรม11) หน่วยเจ้าภาพ- สส./สท./สภ./กอส หน่วยดำเนินการ : ทุกศูนย์ 12 + เขต 13 8. ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึง ประสงค์ (ยุทธศาสตร์กรม 12) หน่วยเจ้าภาพ- สภ./สท./กอส. Area Based กับ บางศูนย์ฯ และ พื้นที่
35
การพิจารณารายตัวชี้วัด Cluster สิ่งแวดล้อม (1 ตัว)
PA อธิบดี : Green and Clean Hospital รพ.สังกัด สธ. (ร่วมกับ สบส.) 9. Green and Clean Hospital รพ.สังกัด สธ. Template : HPH/Env : ขยะติดเชื้อ/ส้วม HAS/ EHA โรงอาหารใน รพ / Healthy Work Place/เพิ่มโภชนาการ หน่วยเจ้าภาพ- บูรณ์สาย ว /สภ / สส หน่วยดำเนินการ : ทุกศูนย์ 12 + เขต 13
36
การพิจารณารายตัวชี้วัด
PA อธิบดี : ทันตสาธารณสุข ระดับปฐมภูมิ 10. ทันตสาธารณสุข ระดับปฐมภูมิ (ระบบ+ 3 element) เน้นการส่งเสริมป้องกัน ในระดับปฐมภูมิ setting คือ หน่วยบริการ สาธารณสุขเป็นนโยบายเน้นหนัก /จะมี กม รองรับ/ เน้น FCT (ฝากกองแผนเป้าหมายของ7. ทันตสาธารณสุข-ปฐมภูมิ กระทรวงฯ ) หน่วยเจ้าภาพ- สท /สภ / สส -สส : เชิงระบบ ค่ากลาง (ศอ 1) งานแม่และเด็ก -สท : งานทันตสาธารณสุข - สภ : นมแม่ 6 เดือน หน่วยดำเนินการ : ทุกศูนย์ 12 + เขต 13
37
การพิจารณารายตัวชี้วัด (Innovation)
11. HR – กจ. (HR Strategy เน้นมิติ 1,3) แผนยุทธศาสตร์- HRP ต้องอนุมัติ ตุลาคม 59 หน่วยเจ้าภาพ- กองการเจ้าหน้าที่ หน่วยดำเนินการ : ทุกหน่วย มิติ 1-หน่วยทำแผนกำลังคน และดำเนินการ มิติ 3-หน่วยมีการวัดประสิทธิภาพคนโดยระบบ PMS : ระบบ ทันเวลา ถูกต้อง เป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้
38
การพิจารณารายตัวชี้วัด
PA อธิบดี : ITA 80 12. ประเมิน EBIT (ยุทธศาสตร์กรม 21.1) - แบบประเมิน EBIT ค่าเป้าหมาย 75 คก.กลางในส่วนกลาง วัดระดับบุคคลที่ระดับการรับรู้ และเรียนรู้ (สะท้อนเรื่อง Communication) กอง จ กำหนด Template วัด ผอ. หน่วยเจ้าภาพ - กจ. และ HR Team หน่วยดำเนินการ : ทุกหน่วยงาน
39
การพิจารณารายตัวชี้วัด
13.KISS – เน้น information for action + Knowledge for action (from Place to Space) - การเฝ้าระวังมีเจ้าของรับผิดชอบ สรุป จัดทำ รายงาน ตามรอบ - วัดผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมที่ผ่านการ Screen & Select หน่วยละ 1 เรื่อง หน่วยเจ้าภาพ - กผ. และ KISS Team หน่วยดำเนินการ : ทุกหน่วยงาน
40
การพิจารณารายตัวชี้วัด
14.FIN – กองคลัง เน้นประสิทธิภาพการบริหาร งบประมาณ โดยนำประเด็นสำคัญ มาตรการมาจัดทำเป็นรายละเอียดใน Template หน่วยเจ้าภาพ - กค. หน่วยดำเนินการ : ทุกหน่วยงาน
41
การพิจารณารายตัวชี้วัด
15.HPO – กพร. เขียน Template เน้น หมวด 2 , 4 - ทีมรับผิดชอบ หน่วยรับผิดชอบทำเขียน ส่งประกวด - ทุกหน่วย ดำเนินงานตาม กระบวนการหลัก ของกรม หน่วยเจ้าภาพ – คณะกรรมการหมวด 1-6 หน่วยดำเนินการ : ทุกหน่วยงาน
42
ประธานเพิ่มเติม ทุกหน่วยพิจารณาตัวชี้วัดถ้าไม่ครอบคลุมขอให้เสนอมาเพิ่มเติม มอบ กอง จ พิจารณาแนวทางการถ่ายระดับจาก ผอ. ไปยังบุคคลที่เป็นหัวหน้าทีม/บุคคลจะมีรูปแบบ/กลไกอย่างไร พิจารณาจาก Job Assignment & JD Workshop เพื่อสร้างความเข้าใจและพัฒนาระบบ PMS
43
Next Step วันที่ กิจกรรม 27 กันยา 59 ขอให้ทุก Cluster/System
ส่งชื่อ-รายละเอียดตัวชี้วัด การถ่ายระดับ-เจ้าภาพ ผู้รับการประเมิน-ดำเนินการ 29 กันยา 59 กพร. นำเสนอในที่ประชุม และเจรจากับ ทุกหน่วย 4 ตุลา 59 สรุปตัวชี้วัดและจัดลงกรอบการประเมิน ใช้เวลาหลังชัดเจน1 สัปดาห์ มอบหมายให้เจ้าภาพ และทุกหน่วยงานจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด กลางตุลา Workshop (กองแผน เขียนโครงการ/ กอง จ/ กพร.) หลังกระทรวง ลงนามคำรับรอง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.