ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
2
ผลสุ่มสำรวจสภาวะโรคฟันผุ จ.ปทุมธานี ปี 2555-2557
ผลสุ่มสำรวจสภาวะโรคฟันผุ จ.ปทุมธานี ปี ร้อยละ ร้อยละ 50
3
ร้อยละโรคฟันผุของเด็ก 3 ปี ปี 2555-2557
53.6
4
สภาวะทันตสุขภาพ จ.ปทุมธานี ปี 2557 : เด็ก 18 เดือน
จังหวัด ปทุม ธานี สามโคก คลองหลวง ธัญบุรี ปชป. ลาด หลุมแก้ว ลำลูกกา หนองเสือ 1. ร้อยละเด็ก 18 เดือน มีฟันผุ 8.5 (113/1333) 9.8 (26/266) 7.2 (5/69) 8.4 (33/391) 7.8 (6/77) 15.9 (29/183) 7.4 (7/94) 1.6 (3/184) 10.1 (7/69) 2. จำนวนซี่ฟันเฉลี่ยที่เด็ก 18 เดือนผุ (ซี่/คน) 0.28 (358/1297) 0.3 (86/266คน) 0.4 (28/33) 0.2 (93/391) (24/77) (52/183) 0.6 (54/94) 0.04 (8/184) (13/69) 3. เด็กที่มี plaque 4 ซี่หน้า 12.6 30.9 12 5.1 22.1 6.6 12.8 2.3 29.0 4. เด็กที่มี white spot lesion 4 ซี่หน้า 9.5 23.5 10 4.3 9.1 9.9 20.3 การรับบริการทันตกรรม เด็กที่เคยได้รับตรวจช่องปาก 9-12 เดือน : 92.9% % เด็กที่เคยได้รับคำแนะนำ : 95.2% % เด็กที่เคยได้รับ Fluoride varnish: 71.5% % เด็กที่เคยได้รับบริการรักษา : 9.9% % พฤติกรรมการแปรงฟัน เด็กได้รับการแปรงฟันก่อนนอนทุกวันจากผปค. : 64.6% % จำนวนครั้งที่เด็กแปรงฟัน/วัน : 1.5 ครั้ง/วัน ผู้ปกครองเคยได้รับการฝึก แปรงฟัน : 93.5% % พฤติกรรมบริโภค ปี 57 นมหวาน : 24.4% % เครื่องดื่มรสหวาน : 38.9% % ใช้ขวดนม : 79.9% % จำนวนครั้ง/วันที่กินขนม : 1.5 ครั้ง/วัน เด็กที่กินขนม >0 ครั้ง/วัน :81.1% 69.3%
5
สภาวะทันตสุขภาพ จ.ปทุมธานี ปี 2557 : เด็ก 3 ปี
จังหวัด ปทุม ธานี สามโคก คลองหลวง ธัญบุรี ปชป. ลาด หลุมแก้ว ลำลูกกา หนองเสือ 1. ร้อยละเด็ก 3 ปี มีฟันผุ 54.1 57.2 48.9 51.2 45.2 68.6 58.8 46.9 55.8 2. ค่าเฉลี่ย dmft (ซี่/คน) 3.0 3.2 1.9 2.5 4.2 3.5 2.7 1.5 3. ร้อยละเด็กที่มีฟันสะอาด 64.1 71.7 62.3 70.7 76.4 59.7 65.3 89.9 62.4 พฤติกรรมบริโภค นำนมหวาน/นมเปรี้ยวมาศพด. : 6.1% ปี 57 : 9.0% นำขวดนมมาศพด. : 4% ปี 57 : 5.6% นำขนมมาศพด. : 11.6% ปี 57 : 11.2% พฤติกรรมการแปรงฟัน เด็กแปรงฟันตอนเช้า : 80.6% % สิ่งแวดล้อม ศพด.ที่จัดผลไม้ 3-5 วัน/สัปดาห์ : 91.1% 92.9% ศพด.จัดนมจืดให้เด็ก : 83.38% % ศพด.จัดอาหารว่างเป็นขนมกรุบกรอบ % ศพด.ที่แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน : 96.88% % ศพด.มีกิจกรรมตรวจฟัน : 96.88% %
6
“จากแม่ฟันดี... สู่ลูกฟันสวย จังหวัดปทุมธานี”
7
กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
ANC ตรวจสุขภาพช่องปากให้สุขศึกษาโดยจนท.สาธารณสุข (P2, P1, F3, F2, M2, S) ฝึกแปรงฟัน ย้อมสีฟันรายบุคคล/กลุ่ม (P2, P1, F3, F2, M2, S) ขูดหินปูนและนัดรับการรักษาตามความจำเป็น (P2 ที่มีทันตบุคลากร, P1, F3, F2, M2, S) เยี่ยมหลังคลอดใน Ward โดยรพ. (F3, F2, M2, S)
8
กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
WBC ขยายบริการโดย CUP จัดอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสุขภาพช่องปาก, ให้ทันตสุขศึกษา, ทาฟลูออไรด์วานิชให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก (P2, P1, F3, F2, M2, S) ให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้ปกครองรายบุคคลแบบเข้มข้นในเด็ก 9 เดือนและ18 เดือน (P2, P1, F3, F2, M2, S) ฝึกแปรงฟันแก่ผู้ปกครองแบบ Hands On และตรวจความสะอาดของฟัน (P2 ที่มีทันตบุคลากร, P1, F3, F2, M2, S) เปิด วีดีทัศน์สอนแปรงฟันใน รพ.สต. ที่ไม่มีทันตบุคลากร
9
กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
WBC นัดทาฟลูออไรด์วานิชทุก 6 เดือนในกลุ่มเสี่ยงต่ำ ทุก 3 เดือนในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง (P2, P1, F3, F2, M2, S) ในเด็กที่มีฟันผุนัดมาทำการรักษาหรือส่งต่อ เพื่อจำกัดความรุนแรงของโรค และลดการสูญเสียฟันในอนาคต
10
กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
ชุมชน ประชุมติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยโดย อสม.ในพื้นที่นำร่อง ปรับปรุงเครื่องมือ วิธีการทำงานในพื้นที่ที่มีปัญหา ขยายกิจกรรมในพื้นที่ที่สามารถดำเนินการได้ดี
11
กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
ทรัพยากร จัดทำชุดสื่อให้ความรู้ในกลุ่มเด็กปฐมวัยโดยทีมระดับจังหวัด ภาพพลิกคุณแม่ฟันดี สู่ลูกฟันสวย แผ่นพับหญิงตั้งครรภ์, เด็ก 9 เดือนและ 18 เดือน แผ่นซีดีความรู้เรื่อง วิธีแปรงฟันในเด็กปฐมวัย สติกเกอร์สีแดงในกลุ่มความเสี่ยงสูง สีเหลืองในความเสี่ยงต่ำ และรูปดาว สำหรับเด็กที่มารับฟลูออไรด์ครบและฟันสะอาด แต่ละ CUP อบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการให้ทันตสุขศึกษา ฝึกแปรงฟันแบบ hands on และทาฟลูออไรด์วานิช จังหวัดสนับสนุนฟลูออไรด์วานิชให้หน่วยบริการทุกระดับ
12
การประเมินผล ร้อยละความครอบคลุมงานส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากในคลินิก
ANC, WBC จังหวัดจัดประกวดระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอดีเด่น, รพ.สต.ดาวเด่น, รพ.สต.ดาวรุ่ง เกิดแนวทางการดำเนินงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกันและประเมินผลเชิงคุณภาพในหน่วยบริการที่มีทันตบุคลากร - กรณีร้อยละโรคฟันผุผ่านเกณฑ์ : ประเมินผลเชิงคุณภาพการแปรงฟันแบบ Hands on, การรับฟลูออไรด์วานิช ทุก 6 เดือน - กรณีร้อยละโรคฟันผุไม่ผ่านเกณฑ์ : ประเมินความครอบคลุมของกิจกรรมในแต่ละหน่วยบริการ, การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกับโรคฟันผุ 3. ในปี 2560 โรคฟันผุในเด็ก 3 ปี ร้อยละ 50
13
การพัฒนาระบบข้อมูลทางทันตสุขภาพ
14
ปัญหาของระบบข้อมูลทางทันตสุขภาพของจังหวัด
ข้อมูลจากการดึงรายงานไม่ตรงกับข้อมูลจริง ข้อมูลดึงเป็นรายงานไม่ได้ เช่น ข้อมูล ป.1 ดึงออกมาเป็นช่วงอายุซึ่งไม่ตรงกับการทำงานที่ทำเป็นชั้นเรียน HosXP ไม่สามารถออกรายงานได้ หรือออกได้ไม่ตรงกับความจริง รหัสที่ใช้ในการดึงรายงานของ สนย. กับของจังหวัดไม่ตรงกัน
15
ปัญหาของระบบข้อมูลทางทันตสุขภาพของจังหวัด
บางงานไม่มีรหัสหัตถการให้ลง เช่น การเยี่ยมหลังคลอด ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่า การลงงานแต่ละครั้งผิดที่จุดไหน ขาด Admin ในระดับจังหวัดที่จะสามารถประสานงานแก้ไขปัญหาได้ ใน รพ.สต. ที่ไม่มีทันตบุคลากรไม่ทราบรหัส หรือไม่สามารถลงงานได้ถูกต้อง
16
วิธีการแก้ไขปัญหา จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง: งานระบบข้อมูลของจังหวัด
ชี้แจงรหัสที่ใช้ในลงงานให้ตรงกัน ทบทวนวิธีการลงอย่างถูกต้อง วิธีการดึงรายการและตรวจสอบข้อมูลของตนเองได้ ทำช่องทางตรวจสอบข้อมูลจากการดึงข้อมูล 43 แฟ้ม และรายงานกระดาษ มีการคืนกลับข้อมูลจากหน่วยบริการมาให้จังหวัด ให้จังหวัดรับทราบและแก้ปัญหาต่อไป จัดทำ Line group ไว้สำหรับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลและซักถามปัญหา
17
ความคาดหวังของจังหวัดต่อศูนย์อนามัย
การสนับสนุนด้านสื่อประกอบการให้ความรู้ สำหรับกลุ่มวัยต่างๆ สนับสนุนด้านวิชาการในการวิเคราะห์ข้อมูล วางแผนการดำเนินงานโครงการของจังหวัด นิเทศติดตาม ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนางานของจังหวัด
19
Thank You
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.