ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงสร้างการทำงานแบบทางเลือก
อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2
เนื้อหาที่สนใจ โครงสร้างแบบมีทางเลือก (Selection structure)
ตัวดำเนินการสัมพันธ์ (Relation operation) ตัดสินใจแบบตาราง (Decision Tables) ต้นไม้การตัดสินใจ (Decision tree) ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก เช่น สมการทางคณิตศาสตร์ ตัวเลือกชัดเจน และการเลือกคำตอบ การคิดผลการเรียน การตรวจสอบผู้ใช้ระบบ เงื่อนไขคูปองส่วนลด การให้ยาลดไข้ในเด็กแต่ละช่วงวัย การใช้เซนเซอร์ควบคุมการทำงานอุปกรณ์มอเตอร์
3
โครงสร้างแบบมีทางเลือก (Selection structure)
ขั้นตอนการทำงานบางขั้นตอนต้องมีการตัดสินใจ เพื่อเลือกวิธีการประมวลผล บางขั้นตอนที่ไม่ได้รับการประมวลผล โครงสร้างที่มีเงื่อนไข และตัวควบคุมการทำงาน การตัดสินใจอาจมีทางเลือก 2 ทางหรือมากกว่าก็ได้ มีการกำหนดตัวเลือกที่ชัดเจน หรือขึ้นอยู่กับการประมวลผลแบบอัตโนมัติ
4
การทำงานแบบทางเลือกตามเงื่อนไข
เงื่อนไข (condition) ข้อตกลงที่กำหนดขึ้น ซึ่งทำให้เกิดเหตุการณ์ ตัวแปรควบคุมที่กำหนดขึ้นตามเงื่อนไข เงื่อนไขจะเป็นจริง (True) หรือเป็นเท็จ (False) โปรแกรมจะเลือกทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยใช้เงื่อนไขเป็นตัวกำหนดการทำงาน
6
ตัวดำเนินการสัมพันธ์ (Relation operation)
การตรวจสอบเงื่อนไขว่าจริงหรือเท็จ การควบคุมเงื่อนไขด้วย if-else การควบคุมเงื่อนไขด้วย switch-case
7
ตัดสินใจแบบตาราง (Decision Tables)
score grade >=80 A >=75 B+ >=70 B >=65 C+ >=60 C >=55 D+ >50 D <50 E เงื่อนไข กฎสำหรับการตัดสินใจ / การกระทำ การระบุเงื่อนไขสำหรับการพิจารณาการทำงาน กฎที่เป็นไปได้ภายใต้เงื่อนไขที่ระบุ การกระทำที่เป็นไปได้ การระบุการเลือกการกระทำภายใต้กฎเกณฑ์
8
ต้นไม้การตัดสินใจ (Decision tree)
ใช้การวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา ต้นไม้ตัดสินใจเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการตัดสินใจ (decision theory) และ ทฤษฎีกราฟ
9
สมการทางคณิตศาสตร์
10
สมการทางคณิตศาสตร์
11
ตัวเลือกชัดเจน มีตัวเลือก ก ข ค ง 1 2 3 4
วันจันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ A B C D E red green blue มีเมนูมาให้ชัดเจน
12
การเลือกคำตอบ
13
การคิดผลการเรียน score grade >=80 A >=75 B+ >=70 B >=65 C+
>=60 C >=55 D+ >50 D <50 E
14
ต้นไม้การตัดสินใจ
15
การตรวจสอบผู้ใช้ระบบ
16
เงื่อนไขคูปองส่วนลด
17
การให้ยาลดไข้ในเด็กแต่ละช่วงวัย
อุณหภูมิปกติ คือ 37 องศาเซลเซียส (℃) หรือ 98.6 องศาฟาเรนไฮต์ (℉) ไข้ต่ำๆ คือ 37.5 – 38.4 องศาเซลเซียส ไข้ปานกลาง 38.5 – 39.4 องศาเซลเซียส ไข้สูง 39.5 – 40.4 องศาเซลเซียส ไข้สูงมาก 40.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป วิธีคิดคำนวณ ปริมาณยาพาราในเด็กใช้ 10 – 15 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ยาลดไข้ความเข้มข้น 160 มิลลิกรัม / 1 ช้อนชา ซึ่ง 1 ช้อนชา = 5 ml
18
การคำนวณปริมาณยา
19
การใช้เซนเซอร์ควบคุมการทำงานอุปกรณ์มอเตอร์
Sensor -> input ->process -> output -> Device
20
ตัวดำเนินการ บวก ลบ คณู หาร
21
การคำนวณราคาบัตรเข้า KidZania
22
สรุป ขั้นตอนการทำงานบางขั้นตอนต้องมีการตัดสินใจในแต่ละเงื่อนไข
ในภาษาซีใช้ตัวดำเนินการในการประมวลผล เพื่อเลือกวิธีการประมวลผล การประมวลผลตัวควบคุม มากกว่า 1 ตัว ใช้ตัวเชื่อมทางตรรกะ เช่น &&, || จะดำเนินการในกรณีที่เงื่อนไข เป็น จริง หรือ เท็จ สามารถประยุกต์กับโมเดลทางด้านธุรกิจต่างๆ เช่น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.