งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury
นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 19 ต.ค. 58

2 Set of 9 voluntary global NCD targets for 2025
ลดตายก่อนวัยอันควร จากโรค NCDs 25% ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10 % ลดการบริโภคยาสูบ 30 % ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25 % ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% แอลกอฮอล์  การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (total APC) ไม่เกิน 6.4 ลิตร/คน/ปี ยาสูบ  ความชุกของการบริโภคยาสูบ ไม่เกิน 16.8 % HT  ภาวะความดันโลหิตสูง (ไม่เกิน 16.7 %) DM ภาวะเบาหวานและอ้วน (ไม่เกิน 6.9 %) NCDs  ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs (ไม่เกิน 12%) เป้าหมาย : ควบคุมปัจจัยเสี่ยง และโรค NCDs Decade of Road Safety อุบัติเหตุจราจร ปี 63 อัตราตาย  50% จากปี 54

3 เป้าหมาย 59 วัยเรียน วัยรุ่น กลุ่มวัย วัยทำงาน
จมน้ำ : อัตราตายไม่เกิน 6.5 ต่อแสน (เกิน 770 คน) ทีมก่อการดี (Merit Maker) อำเภอละ 1 ทีม ในพื้นที่เสี่ยงสูง วัยรุ่น ALC : ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่ม ใน ปชก ปี ไม่เกิน 13 % ยาสูบ : อัตราการบริโภคยาสูบในวัยรุ่น (15-18 ปี) ไม่เกิน 10 % วัยทำงาน CVD : ผู้ป่วยรายใหม่ IHD ลดลง นำร่อง 15 จังหวัด องค์กรหัวใจดี (เทศบาลใน15 จังหวัด)  คลินิก NCD คุณภาพ : DM&HT ควบคุมน้ำตาล/ความดัน ได้ดี อุบัติเหตุ : ลดตายในช่วงเทศกาลปีใหม่และสงกรานต์ ด่านชุมชนทุกอำเภอในพื้นที่เสี่ยง ทีมสอบสวนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน กลุ่มวัย (บูรณาการชาติ)

4 Quick Win สำหรับการดำเนินงานลดโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2559
NCD RTI จมน้ำ มาตรการ ขับเคลื่อนงานผ่าน DHS/DC มาตรการชุมชน (ด่านชุมชน) จัดการข้อมูลและสอบสวนอุบัติเหตุ มาตรการองค์กร PP Plan 1.ตำบลจัดการสุขภาพ 2.สปก./สถานที่ทำงาน 3.บังคับใช้กม. 4.คลินิก NCD คุณภาพ 1.สร้างทีม “ผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ” 2.สื่อสารประชาสัมพันธ์ Service plan DM HT CKD & CVD MODEL เป้าหมาย พัฒนาทีมวิทยากรพี่เลี้ยง 1,000 คน อบรมพี่เลี้ยง 60 คน Pt. DM HTได้รับการประเมิน cvd risk 60% การบาดเจ็บและการเสียชีวิตภาพรวมในเทศกาลปีใหม่ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50% พัฒนา SM ระดับเขต 50% มีทีมผู้ก่อการดีเพิ่มอีก 200 ทีม (1 ทีม/อำเภอในพื้นที่เสี่ยงสูง) 3 M -มีการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง อย่างน้อย 600 แห่ง -ศูนย์เด็กเล็กได้รับการจัดการอย่างน้อย 200 แห่ง 6 M อบรมอสม.52,236 คน อบรมผู้ประเมินสปก.50 คน กลุ่มเสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับการปป.พฤติกรรม 50% พัฒนา SM ระดับเขต 100% คัดกรอง CKD 60% การบาดเจ็บและการตายภาพรวมในเทศกาลสงกรานต์ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50 % พื้นที่ขับเคลื่อนงานผ่านDHS/DC Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) ขับเคลื่อนหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 70% Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) 9 M -เด็กได้เรียนหลักสูตรการว่ายน้ำฯ อย่างน้อย 20,000 -อุบัติเหตุของรถพยาบาลลดลงจากปีที่ผ่านมาในช่วงเวลาเดียวกัน -Pt. DM HT คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า -Pt. DM HT มีภาวะแทรกซ้อนไต stage3 ขึ้นไป ลดลง -ดำเนินการคลินิก NCD คุณภาพ ในทุกโรงพยาบาล ตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ 70% สปก.ได้รับข้อมูลดำเนินงานสปก. 5% ของทั้งหมด Pt.รายใหม่ด้วย IHD ลดลง 12 M การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี < 770 คน (< 6.5 ต่อปชก.เด็กต่ำกว่า 15 ปีแสนคน) -อัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนนของเขตลดลงอย่างน้อย 21%

5 กรอบการดำเนินงานสำหรับ NCDs
4 การเปลี่ยนแปลง (Metabolic risk factor) 1. ความดันโลหิตสูง * 2. น้ำตาลในเลือดสูง * 3. น้ำหนักเกินและโรคอ้วน * 4. ไขมันในเลือดผิดปกติ * 4 กลุ่มโรค 1. หัวใจและหลอดเลือด(CVD) 2. เบาหวาน 3. มะเร็ง 4. โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง 4 พฤติกรรมเสี่ยง (behavioral risk factor) 1. สูบบุหรี่ * 2. ดื่มแอลกอฮอล์ 3. การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม 4. กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ปชช.มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดปัจจัยเสียงต่อโรคไม่ติดต่อ ปชช.ได้รับการประเมินและจัดการเพื่อลด โรคหัวใจและหลอดเลือด ผลผลิต มาตรการ ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยงในประชากร ตำบลจัดการสุขภาพ สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัยฯ การบังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่) พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล คลินิก NCD คุณภาพ การจัดบริการคลินิกโรค CKD การประเมินและจัดการโอกาสเสี่ยงต่อ CVD DHS + System Manager ระดับจังหวัด/อำเภอ คัดกรอง DM&HT Basic Service ขับเคลื่อน KPI จังหวัด - คลินิก NCD คุณภาพ > 70% - CVD Risk > 30% ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม KPI เขต - DM,HT controlled 40/50% DM,HT รายใหม่ลดลง KPI ประเทศ - อัตราป่วยรายใหม่ IHD ลดลง

6 รูปแบบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ประเภทและขอบเขตบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค -ผู้ที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค CVD หรือ DM หรือ HT และยังไม่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในรอบ 5 ปี -เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน คือ Thai CV Risk Score -สามารถตรวจไขมันโคเลสเตอรอลรวมและไขมัน HDL ทุก 5 ปี เพื่อใช้ประเมินฯ กรณีทราบผล cholesterol กรณีไม่ทราบผล cholesterol ในเลือด

7 รูปแบบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
จังหวัดที่มีอัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือด (IHD) 15 จังหวัดแรกใน ปีพ.ศ. 2556 เขต 1 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 11 ราชบุรี จันทบุรี แพร่ น่าน นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี อ่างทอง สระบุรี อยุธยา นครนาย ลพบุรี สิงห์บุรี พังงา ชุมพร ในชุมชน ในสถานบริการ การสื่อสาร/รณรงค์ เพื่อสร้างกระแสการป้องกันโรค CVD การสื่อสารเตือนภัยอาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างสภาพแวดล้อม เช่น การจัดกิจกรรมและสถานที่ออกกำลังกาย ประเมิน CVD Risk ในผู้ป่วย DM HT จัดบริการตามความเสี่ยง -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น -ให้การดูแลรักษาด้วยยาตามข้อบ่งชี้ ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ CVD ร้อยละ 60 กลุ่มเสี่ยงสูง (Score > 30%) ได้รับบริการเข้มข้น ร้อยละ 50 กลุ่มเสี่ยงสูง -ควบคุมปัจจัยเสี่ยงได้ -ลดโอกาสเสี่ยงลง

8 สถานการณ์โรคไตเรื้อรังในไทย
CKD Stage (%) MDRD I II III IV V Total 3.3 5.6 7.5 0.8 0.3 17.5 ไม่รู้ตัวว่าเป็น (%) 99.21 97.94 94.37 76.92 33.33 รู้ตัวว่าเป็น (%) 0.79 2.06 5.63 23.08 66.67 กว่า 8 ล้านคน สาเหตุของโรคไตระยะสุดท้าย ปี 2555 DM = 37.5% HT = 25.6% Unknown = 23.9% แหล่งข้อมูล: Thai SEEK Study 2010

9 แนวทางคัดกรองผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโรงพยาบาลคลองขลุง
ตรวจ eGFR และ Urine Analysis (UA) ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือ โรคความดันโลหิตสูง ผลการตรวจเข้าเกณฑ์การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง ตรวจ eGFR และ UA ซ้ำ หลังจากตรวจครั้งแรก ≥3 เดือน เพื่อยืนยัน ผลการตรวจยืนยันการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง eGFR ≥ 60 eGFR (CKD stage 3-4) eGFR <15 UA dipstick Refer ร.พ.จังหวัด เข้าคลินิกโรคไตเรื้อรัง UA dipstick prot ≥ +1 UA normal F/U 1 ปี ส่งรายชื่อให้สถานีอนามัย eGFR และ UAทุก 1 ปี

10 เครือข่ายเยี่ยมบ้าน “หนึ่ง รพ.สต หนึ่งเครือข่าย”
กิจกรรมการให้บริการในโรงพยาบาลคลองขลุง พบพยาบาล : สัมภาษณ์อาการ วัด V/S นาที ดู VDO ความรู้โรคไต&การป้องกัน 15 นาที พบนักโภชนากร : nutrition นาที พบเภสัชกร : medication นาที พบนักกายภาพบำบัด : Exercise นาที พบแพทย์ : clinical & lab นาที เครือข่ายเยี่ยมบ้าน “หนึ่ง รพ.สต หนึ่งเครือข่าย” รพ.สต มีเจ้าหน้าที่แห่งละ 3-5 ท่าน ดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังเฉลี่ย รพ.สต.ละ ราย อสม. คัดเลือกตัวแทนหมู่บ้านละ 1 คน (ประมาณ 80 คน) เก็บข้อมูลความดันโลหิต บันทึกรายการอาหาร ตรวจการใช้ยา ผู้ดูแล ปรุงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ช่วยเก็บข้อมูลการรับประทานอาหาร

11 กรอบแนวคิดรูปแบบการดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรังและชะลอความเสื่อม
15 จังหวัดที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วย DM สูง แพร่ เพชรบูรณ์ สุโขทัย อ่างทอง สมุทรสงคราม ตราด สกลนคร อุดรธานี บึงกาฬ มุกดาหาร ยโสธร ภูเก็ต กระบี่ พัทลุง ตรัง ผู้ป่วย DM HT ได้รับการตรวจวินิจฉัยโรคไต eGFR >60 ml/min ใน รพสต. คลินิก NCD /CKD Clinic ทีมสหวิชาชีพ อายุรแพทย์โรคไต อายุรแพทย์ เฝ้าระวัง ติดตาม และการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ในชุมชน การสร้างความตระหนักในประชากรและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยง การจัดการโรคไตเรื้อรังโดยชุมชน ได้รับคำปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับการดูแลตามมาตรฐานการบริการ ตามระยะของโรค เพื่อชะลอความเสื่อมของไต การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มีความเข้มแข็ง

12 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 เสียชีวิต สนย. (มรณบัตร) 13,244 13,766 14,033 14,059 14,789 Integrated 3 ฐาน (สธ.+ตร.+บ.กลาง) 23,390 22,841 22,438 WHO 26,312 24,237 บาดเจ็บ ผู้ป่วยนอก OPD 1,461,400 1,331,194 1,407,820 1,044,757 1,050,088 ผู้ป่วยใน Admitted 142,501 145,484 136,544 110,777* 107,123* พิการ 4.6% ของผู้ป่วย Admitted 6,555 6,692 6,281 5,096 Admitted จยย. 112,731 115,441 108,065 84,932 Head injury จยย. 63,552 66,355 61,506 48,906

13 กรอบการขับเคลื่อนงานอุบัติเหตุทางถนน ของกระทรวงสาธารณสุข
เครดิต : นพ. ธนพงษ์ จินวงศ์

14 กรอบการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ปี 2556 มีคนไทยตายเกือบ 23,000 คน (คิดเป็นอัตราตาย 38 ต่อประชากรแสนคน) บาดเจ็บสาหัสกว่า 200,000 ราย บาดเจ็บเล็กน้อยอีก 1,050,088 ราย ผลกระทบต่อความสูญเสียของประเทศปีละ 2 แสนกว่าล้านบาท ส่วนกลาง DHS/DC ส่วนกลาง พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ ข้อมูลเฝ้าระวัง ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ สคร. โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ มาตรการจัดการข้อมูล ชี้เป้าแต่ละตำบล/หมู่บ้าน กลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยง จุดเสี่ยงในพื้นที่ ร่วมสร้างมาตรการแก้ปัญหา สคร. อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ มาตรการลดปัจจัย/พฤติกรรมเสี่ยง Quick Win : ด่านชุมชน (ช่วงเทศกาล) จัดตั้ง EOC ช่วงเทศกาล มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฏหมาย

15 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google