ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยInge Kurniawan ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
30/03/2011 ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ผู้ป่วยเอดส์ คลินิกเพื่อนโนนไทย โรงพยาบาลโนนไทย เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
2
1. ที่มา สถานการณ์ HIV/AIDS ในจังหวัดนครราชสีมา
30/03/2011 จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ทั้งสิ้น 8,205 ราย และมีผู้ป่วยเอดส์ที่เสียชีวิตแล้ว 1,483 ราย 1 6,835 (83%) ได้เข้ารับบริการการดูแลรักษาที่โรงพยาบาลชุมชน 27 แห่ง ในจังหวัดนครราชสีมา1 75% มีอายุ 20 – 44 ปี จากการใช้โปรแกรม HIVQUAL-T เพื่อประเมินคุณภาพในการดูแลผู้ป่วย ปี 2550 รพช. นม QI Indicators ต่ำมาก2 ปี 2551 รพ.โนนไทย นม QI Indicators ต่ำ ปี 2552, 53 รพ.โนนไทย นม QI Indicators Nakhon Ratchasima Provincial Health Office, 2009 Khanidtha,2008
3
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 30/03/2011 เพื่อวัดระดับคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ คลินิก เพื่อนโนนไทย เพื่อพิจารณาปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่รับการรักษาที่คลินิกเพื่อนโนนไทย 3. สมมติฐานการวิจัย สุขภาพและการรักษา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ คุณภาพชีวิต พฤติกรรมการดูแลตนเอง มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ คุณภาพชีวิต การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ คุณภาพชีวิต
4
4. กรอบแนวคิดการวิจัย
5
5. ระเบียบวิธีวิจัย กลุ่มตัวอย่าง
การวิจัยเชิงบรรยายแบบภาคตัดขวาง ( Cross-sectional descriptive study) กลุ่มตัวอย่าง ผู้ที่รับยาต้านไวรัสเอดส์ ทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีช่วงอายุระหว่าง ปี ที่มารับบริการที่คลินิกเพื่อนโนนไทย แผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา ก่อนเดือนตุลาคม 2553 จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 180 คน 5
6
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
part Questionnaires 1 ลักษณะทางสังคมประชากรศาสตร์ ประกอบด้วย อายุ, เพศ, สถานภาพ, ระดับ การศึกษา,อาชีพ, รายได้, การเปิดเผยตัว ลักษณะคำถามเป็นแบบเลือกตอบและเติมคำ 2 ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา ประกอบด้วย Disease and treatment Simplified Medication Adherence Questionnaire (SMAQ) HIV-related symptoms questionnaire 3 พฤติกรรมการดูแลตนเอง จำนวน 30 ข้อ ลักษณะคำถามเป็นแบบเลือกตอบ 4 แรงสนับสนุนทางสังคม จำนวน 25 ข้อ ลักษณะคำถามเป็นแบบเลือกตอบ 5 คุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF-THAI) จำนวน 26 ข้อ ลักษณะคำถามเป็นแบบเลือกตอบ 6
7
6. ผลการวิจัย ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะคุณภาพชีวิตโดยรวม และ คุณภาพชีวิตในแต่ละด้าน Model ทำนายคุณภาพชีวิตโดยรวม ปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตโดยรวม ปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตแต่ละด้าน
8
สถานภาพ = 60%คู่อยู่ด้วยกัน รายได้เฉลี่ยของครอบครัว
6.1 ข้อมูลทั่วไป อายุเฉลี่ย = yo. ญ =56.4%, ช =43.6% สถานภาพ = 60%คู่อยู่ด้วยกัน การศึกษา = 70%ประถม อาชีพ = 55%รับจ้าง รายได้เฉลี่ยของครอบครัว = 750บาทต่อเดือน 96.2% เปิดเผยตัว 6.1.1 ลักษณะทางสังคมประชากรศาสตร์
12
6.1.2 ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา
6.1 ข้อมูลทั่วไป 30/03/2011 ระยะเวลาการติดเชื้อ = 5.4 y. ระยะเวลาการได้รับ ARV = 4.05 y. ระดับ CD4 = cells/mm3 61.9 % ไม่มีโรคติดเชื้อฉวยโอกาสและโรคแทรกซ้อน Adherence = 94.5% อาการ(symptom score) = 13.5 points (min0-max80) การมีส่วนร่วมกิจกรรมของpt = 85% สมาชิก ร่วมกลุ่ม 6.1.2 ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา
14
6.1.3 ลักษณะพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ลักษณะพฤติกรรมการดูแลตนเอง Mean (min-max) Level Cronbach คะแนนรวม 76.40 (41-85) ดี 0.82 1.การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป 35.45 (13-46) 0.80 2.การดูแลตนเองที่จำเป็นตามระยะพัฒนาการ 9.52 (4-12) 0.78 3.การดูแลตนเองที่จำเป็นในภาวะเบี่ยงเบนทางด้านสุขภาพ 28.43 (42-85)
15
6.1.4 ลักษณะแรงสนับสนุนทางสังคม
= ปานกลาง Mean (min-max) Cronbach คะแนนรวม 97.85 (64-123) 0.84 1.ด้านความรักใคร่ผูกพัน 19.82 (11-24) 0.86 2.ความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง 14.65 (10-25) 0.85 3.ด้านการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม 18.50 (12-25) 0.89 4.ด้านการให้ความช่วยเหลือแก่บุคคลอื่น 18.55 (11-25) 0.78 5.ด้านการได้รับความช่วยเหลือในด้านต่างๆ 13.37 0.92
16
6.2 ลักษณะคุณภาพชีวิต คะแนนรวม (26 items) ดี สุขภาพร่างกาย (7 items)
WHO-QOL-BREF Mean (min-max) Level Cronbach’s alpha คะแนนรวม (26 items) 93.25 (42-109) ดี 0.87 สุขภาพร่างกาย (7 items) 24.87 (7-35) ปานกลาง 0.89 จิตใจอารมณ์ (6 items) 18.33(7-32) 0.85 ความสัมพันธ์ทางสังคม (3items) 12.55 (3-13) 0.82 สิ่งแวดล้อม (8 items) 28.76 (10-40) 0.80 ความพึงพอใจทั่วไป (1 item) 3.78 (1-5) คุณภาพชีวิตภาพรวม (1 item) 3.32 (1-5)
17
6.3 Model ทำนายคุณภาพชีวิต
Table 3: Model Summary 6.3 Model ทำนายคุณภาพชีวิต Model R R2 Adjusted R2 Std. Error of the Estimate Change Statistics R2 Change F Change df1 df2 Sig. F Change 1 0.609 0.371 0.357 8.478 10.828 9 170 0.000 QOL total score = social support overall score** symptom score** self-care behavior overall score* widowed/divorced/separated** pt. non-participated holistic center , non-club* * significant level at p<0.05 ** significant level at p<0.01
18
6.4 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตโดยรวม
30/03/2011 6.4 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตโดยรวม คุณภาพชีวิต ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ คลินิก เพื่อนโนนไทย ลักษณะทางสังคมประชากรศาสตร์ หม้าย/หย่า/แยก ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา อาการที่สัมพันธ์กับ HIV การมีส่วนร่วมกิจกรรมของpt พฤติกรรมการดูแลตนเอง แรงสนับสนุนทางสังคม 2 3 5 1 4
19
6.5 ปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตแต่ละด้าน
30/03/2011 ด้าน 6.5 ปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตแต่ละด้าน 1. สุขภาพร่างกาย 1.1 แรงสนับสนุนทางสังคม 1.2 อาการHIV * 1.3 CD4 cell count 2. จิตใจอารมณ์ 2.1 แรงสนับสนุนทางสังคม 2.2 อาการHIV * 2.3 หม้าย/หย่า/แยก* 3. ความสัมพันธ์ทางสังคม 3.1 แรงสนับสนุนทางสังคม - 3.2 การเปิดเผยตัว 3.3 การเป็นแกนนำ 4. สิ่งแวดล้อม 4.1 แรงสนับสนุนทางสังคม 4.2 อาการ HIV * * negative correlation
20
7. สรุปผลการวิจัย 30/03/2011 คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ อยู่ในระดับ ดี ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ 1) ลักษณะทางสังคมประชากรศาสตร์ สถานภาพ 2) ปัจจัยด้านสุขภาพและการรักษา อาการที่สัมพันธ์กับ HIV การมีส่วนร่วมกิจกรรมของpt. 3) พฤติกรรมการดูแลตนเอง 4) แรงสนับสนุนทางสังคม
21
7. การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานประจำ
ทราบระดับคุณภาพชีวิต และ ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ช่วยสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้านการดูแลผู้ป่วยแบบครบองค์รวม ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ใช้เป็นข้อมูลในการประเมินระบบบริการ, การวางแผนเชิงนโยบาย หรือ กลยุทธ์ในการพัฒนาระบบบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ ผู้ป่วยเอดส์ เนื่องจากคุณภาพชีวิต เป็นผลลัพธ์จากคุณภาพการให้บริการ นำเสนอผลงานเผยแพร่ให้เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์แก่เครือข่ายผู้ทำงาน สามารถนำข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง และ แรงสนับสนุนทางสังคม มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสนับสนุนให้ปฏิบัติอย่างเหมาะสม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ต่อไป
22
8. บทเรียนที่ได้รับ 30/03/2011 ทีมสหสาขาวิชาชีพ ควรให้การสนับสนุนทางสังคม และส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเองอย่างเป็นรูปธรรมให้กับผู้ป่วยร่วมด้วย ให้คำปรึกษาแนะนำ หรือ จูงใจผู้ป่วยที่ไม่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ให้เห็นถึงความสำคัญและจำเป็น เพื่อจะได้รับการดูแลรักษาที่มีประสิทธิภาพแบบองค์รวม โดยเฉพาะ ผู้ป่วยที่มีสถานภาพหม้าย/ หย่า/ แยก หรือ อยู่โดยลำพัง และผู้ที่มีอาการที่สัมพันธ์กับ HIV ต่อยอดงานวิจัย โดยขอทุนสนับสนุนจาก สปสช. จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมปัจจัยสนับสนุนให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น ซึ่งสามารถนำไปสู่การพัฒนาระบบบริการต่อไป
23
โครงการพัฒนาคุณภาพบริการการรักษาและศักยภาพเครือข่ายแกนนำ
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ในโรงพยาบาลชุมชน จ.นครราชสีมา ปี 2554
24
โครงการพัฒนาคุณภาพบริการการรักษาและศักยภาพเครือข่ายแกนนำ
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ในโรงพยาบาลชุมชน จ.นครราชสีมา ปี 2554
26
โครงการพัฒนาคุณภาพบริการการรักษาและศักยภาพเครือข่ายแกนนำ
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ในโรงพยาบาลชุมชน จ.นครราชสีมา ปี 2554
30
Thank you 30
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.