ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ทะเบียนราษฎร
2
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
3
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
3. ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วย การจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535 4. ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วย การจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2551
4
สำนักทะเบียนและนายทะเบียน
5
ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
ตำแหน่งนายทะเบียน ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร ในส่วนของ สนท.ท้องถิ่น ประกอบด้วย - นายทะเบียนท้องถิ่น - ผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น - นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น - นายทะเบียนผู้รับแจ้ง - นายทะเบียน
6
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“ท้องถิ่น” หมายความว่า กรุงเทพมหานคร เทศบาล เมืองพัทยา และหน่วยการปกครองท้องถิ่นอื่นที่ ผอ.ทะเบียนกลางโดยอนุมัติ รมว.มท.กำหนดให้เป็นท้องถิ่นตาม พ.ร.บ.นี้
7
“นายทะเบียนผู้รับแจ้ง” หมายความว่า นายทะเบียนอำเภอ นายทะเบียนท้องถิ่น และผู้ซึ่ง ผอ.ทะเบียนกลางได้กำหนดให้มีหน้าที่เกี่ยวกับการแจ้งการเกิด การตาย การย้ายที่อยู่ การสร้างบ้านใหม่ การรื้อบ้าน และการกำหนดเลขประจำบ้าน โดยได้กำหนดขอบเขตหน้าที่ดังกล่าวไว้
8
มาตรา 8 ให้มีสำนักทะเบียนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ดังนี้
(1) สำนักทะเบียนกลาง (2) สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร (3) สำนักทะเบียนจังหวัด (4) สำนักทะเบียนอำเภอ (5) สำนักทะเบียนท้องถิ่น
9
มาตรา 8/1 การจัดตั้งสำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่ ผอ.ทะเบียนกลางประกาศ โดยคำนึงถึงสภาพความพร้อมและความสะดวกในการบริการประชาชน หรือจะยุบ หรือควบรวมเข้าด้วยกันก็ได้
10
ม. 8 (1) สำนักทะเบียนกลางมี ผอ
ม. 8 (1) สำนักทะเบียนกลางมี ผอ.ทะเบียนกลาง รอง… และ ผู้ช่วย… เป็นนายทะเบียนประจำ สนท. กลาง มีหน้าที่รับผิดชอบ และควบคุมการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
11
ม. 8 (4) สำนักทะเบียนอำเภอ มีนายทะเบียนอำเภอ และผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ เป็นนายทะเบียนประจำ สนท.อำเภอ มีหน้าที่รับผิดชอบ และควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในเขตอำเภอ
12
ม. 8 (5) สำนักทะเบียนท้องถิ่น มี นายทะเบียนท้องถิ่น และผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น เป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น มีหน้าที่รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในเขตปกครองท้องถิ่นนั้น ๆ
13
รวมทั้งกำหนดแบบพิมพ์เพื่อปฏิบัติตาม
ม. 8/2 (1) อปค. เป็น ผอ.ทะเบียนกลาง มีอำนาจออกระเบียบหลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติ รวมทั้งกำหนดแบบพิมพ์เพื่อปฏิบัติตาม พ.ร.บ. นี้ และแต่งตั้งรอง ผอ.ทะเบียนกลาง และผู้ช่วย ผอ.ทะเบียนกลาง
14
ม. 8/2 วรรคสอง ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง จะมอบอำนาจให้รอง. หรือผู้ช่วย
ม. 8/2 วรรคสอง ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง จะมอบอำนาจให้รอง... หรือผู้ช่วย... ปฏิบัติราชการแทนผู้อำนวยการทะเบียนกลาง หรือจะมอบหมายให้ข้าราชการสังกัดกรมการปกครองช่วยเหลือ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดด้วยก็ได้
15
ม. 8/2 (4) นายอำเภอ หรือ ปอ. หน. กิ่ง อ
ม. 8/2 (4) นายอำเภอ หรือ ปอ.หน.กิ่ง อ. เป็นนายทะเบียนอำเภอ และให้มีอำนาจแต่งตั้งผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ
16
ม. 8/2 วรรคห้า นายทะเบียนอำเภอ จะมอบอำนาจให้ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอหรือ ปลัดอำเภอ ปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนอำเภอก็ได้
17
ม. 8/2 (5) ปลัดเทศบาล ผอ.เขต ปลัดเมืองพัทยา หรือ หัวหน้าผู้บริหารของหน่วยงานท้องถิ่น เป็นนายทะเบียนท้องถิ่น และให้มีอำนาจแต่งตั้งผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น
18
ม. 8/2 วรรคหก นายทะเบียนท้องถิ่น จะมอบอำนาจให้ผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น รองปลัดเทศบาล... หรือรอง หรือผู้ช่วยหัวหน้าผู้บริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่นนั้นแล้วแต่กรณี ปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนท้องถิ่นก็ได้
19
สรุป ตำแหน่งนายทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียน ราษฎร ในส่วนของ สนท.ท้องถิ่น ประกอบด้วย - นายทะเบียนท้องถิ่น - ผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น - นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น - นายทะเบียนผู้รับแจ้ง - นายทะเบียน
20
สรุปตำแหน่งกับอำนาจหน้าที่ตามกฎระเบียบ
-นายทะเบียนท้องถิ่น : ม.๑๙/๒ ม.๓๖ ม.๓๘ ม.๓๙ ม.๕๑ -นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น : ม.๘ (๕) -นายทะเบียนผู้รับแจ้ง : ม.๑๘ ม.๑๙ ม,๑๙/๑ ม.๑๙/๓ ม.๒๐ ม.๒๑ ม.๒๔ ม.๒๕ ม.๓๐ ม.๓๑ ม.๓๓ ม.๓๔ ม.๔๑ -นายทะเบียน : ม. ๖ ม.๑๐ ม.๑๔
21
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.