ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยCecil Ward ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การฝึกเสียง อาจารย์ ดร.กุสุมา เทพรักษ์ หัวหน้าสาขาวิชาศิลปะการ ละคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน สุนันทา
3
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
4
เสียงพูด
6
เสียงร้อง
7
ความสำคัญของการฝึกเสียงเพื่อการแสดง
ใช้ในการสื่อสารในฐานะตัวละคร ใช้เสริมความรู้สึกของตัวละคร พัฒนาศักยภาพในตนเอง
9
ความถี่ในการฝึกเสียง
ทุกปี? ทุกเดือน? ทุกวัน? ทุกเรื่องที่จะเล่น?
10
ส่ิงที่ต้องฝึก?
11
เฉพาะเสียง?
13
ฝึกลมหายใจ
14
ฝึกรูปปาก
15
ฝึกการเปล่งเสียง
16
ฝึกควบคุมกล้ามเนื้อ
17
ฝึกการตีความ
18
ฝึกการถ่ายทอด
19
การฝึกหายใจ
25
ชนิดของเสียง มีกี่ประเภท?
26
1.เสียงพุ่ง 2.เสียงฟุ้ง 3.เสียงดึงกลับ
30/11/61
27
เสียงแบบใด ไม่ควรใช้ ในการสื่อสาร?
28
เสียงดึงกลับ!!!
29
เพราะเสียงดึงกลับ เป็นเสียงที่ใช้ลมหายใจผิดวิธี
30/11/61
30
Credit google.com birds
30/11/61 Credit google.com birds
31
คนอื่นจะฟังเราไม่รู้เรื่อง เพราะเสียงจะอู้อี้อยู่ในลำคอ
คนอื่นจะฟังเราไม่รู้เรื่อง เพราะเสียงจะอู้อี้อยู่ในลำคอ
32
ตามปกติ เสียงเกิดขึ้นได้จากการหายใจนำลมเข้าไปในปอดหรือกระบังลม และเปล่งลมหายใจออกมาผ่านหลอดลมและเกิดการสั่นสะเทือนที่เส้นเสียงจนทำให้เกิดเสียงขึ้น
33
แต่การใช้เสียงแบบดึงกลับนั้น แทนที่จะปล่อยลมออกมาเพื่อให้เกิดเสียง ผู้ใช้เสียงกลับมีความพยายามจะดึงลมม้วนกลับเข้าไปในตัวอีกครั้งหนึ่ง ทำให้ลมออกมาน้อยและเสียงที่เปล่งออกมาก็จะเบาไปด้วย
34
จึงทำให้คนฟังฟังไม่รู้เรื่อง และคนใช้เสียงก็จะรู้สึกอึดอัดไปในขณะเดียวกัน
35
เสียงพุ่ง???
36
เป็นเสียงที่มีการกระจายตัวของเสียงแนวตรง พุ่งไปยังทิศทางที่กำหนดไว้ เป็นเสียงระดับ chest tone
37
30/11/61 Credit google.com/communication
38
เสียงพุ่ง หรือ ตะโกน?
39
เสียงพุ่ง ต่างกับ การตะโกน
เสียงพุ่ง ต่างกับ การตะโกน
40
เสียงพุ่ง คือการโปรเจ็คเสียง
เสียงพุ่ง คือการโปรเจ็คเสียง
41
การตะโกน คือ การตะเบ็ง กระแทกเสียง
42
เสียงพุ่ง กับ การตะโกน จึงเป็นคนละเรื่องกัน
43
การตะโกนทำให้เจ็บคอ
44
เสียงพุ่ง ทำให้คนฟัง ฟังเสียงได้อย่างดัง ชัดเจน กังวาน
45
ในการแสดงละครเวที นิยมใช้เสียงพุ่ง หรือการโปรเจ็คเสียงของนักแสดง
46
เพราะละครเวที จัดแสดงในโรงละครที่มีสถานที่ค่อนข้างกว้าง นักแสดงจึงต้องใช้เสียงแบบขยายเพื่อทำให้คนดูได้ยินบทพูดหรือบทร้องของตัวละครได้ชัดเจนขึ้น
47
Being Heard The next time someone tells you to “project” or to “speak up,” remember that projecting your voice is much more than just making it louder. You project your voice by allowing it to shine with your personality, and having confidence that you have something unique to say.
48
Being Heard You project your voice with passion for your message by setting a clear intention. And you project your voice by developing a resonant sound that is supported with your whole body through air and energy. When you do these three things, you will be heard.
49
เสียงที่ดี ????
50
ดัง ???
51
กังวาน ???
52
ยืดหยุ่น ???
53
ชัดเจน ???
54
สื่ออารมณ์ ???
55
เสียงที่ดี ดัง กังวาน ยืดหยุ่น ชัดเจน สื่ออารมณ์
56
เสียงฟุ้ง
57
30/11/61 Credit google.com/communication
58
เสียงที่มีการกระจายของเสียงออกแนวกว้าง เป็นเสียงระดับ head tone
59
เป็นเสียงที่ฟังแล้วนุ่มนวล ฟังสบาย
เป็นเสียงที่ฟังแล้วนุ่มนวล ฟังสบาย
60
ผู้พูดหรือร้องด้วยเสียงฟุ้ง จะรู้สึกสบายคอมากกว่า
ผู้พูดหรือร้องด้วยเสียงฟุ้ง จะรู้สึกสบายคอมากกว่า
61
ถนอมเสียงของผู้ใช้ได้ดีกว่าเสียงพุ่ง
63
The Three Key Components of a Powerful Sound are: personality, passion, and strong vocal physique.
64
Why do boys’ voices change
Why do boys’ voices change? Your vocal cords are muscles and during the course of puberty, your vocal cords are growing thicker. And in the long run, they’ll almost double in length! Like guitar strings, vocal cords vibrate when contracted as air passes them. What sound they make is determined by both how thick the vocal cords are and how much they have been contracted. But, in general, the thicker the muscle, the lower the tones created when they vibrate. In other words, the thicker the vocal cords, the lower the voice.
If your voice is sounding squeaky, that’s because you haven’t yet learned how to control these changing muscles. But don’t worry, that control will come naturally and pretty soon!
65
การฝึกพูด เพื่อการสื่อสาร
67
Language Language shapes perceptions of reality
Benjamin Lee Whorf & Edward Spir Language Perception Behavior 30/11/61
68
โลกทัศน์/การรับรู้ (PERCEPTION)
มีอิทธิพลต่อการแปลความหมาย ข้อมูลหรือการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ต่างๆ ที่เข้ามาสู่ตัวเรา 30/11/61
69
โลกทัศน์/การรับรู้ (PERCEPTION)
ทำหน้าที่กรองข้อมูลข่าวสารที่จะรับและที่จะ ส่งออกไป ตลอดเวลา จนเกิดเป็นมโนทัศน์ เกี่ยวกับตัวตน (Self Concept) ของเรา 30/11/61
70
ทำไมเรามักจะพูด(คนละ) เรื่องเดียวกัน
30/11/61
71
Credit thetruthaboutcat.net
30/11/61 Credit thetruthaboutcat.net
72
I SEE THAT I WANT TO SEE เรามักเห็นในสิ่งที่เราอยากเห็น
30/11/61
73
SELF จุดเริ่มต้นของการสื่อสาร
ตัวตนที่เรามองตามความเป็นจริง Real Self ตัวตนที่เรามองว่าเราควรจะเป็น Ideal Self 30/11/61
74
http://coyoteprime-runningcauseicantfly. blogspot
75
หัวใจสำคัญ / ประสิทธิภาพการสื่อสาร
รู้จักตนเอง เข้าใจผู้อื่น ทำให้ผู้อื่นเข้าใจเรา เข้าใจซึ่งกันและกัน 30/11/61
76
30/11/61
77
ลักษณะการสื่อสารของบุคคล
Assertive
79
ลักษณะการสื่อสารของบุคคล
Aggressive
80
http://www. differencebetween
81
ลักษณะการสื่อสารของบุคคล
Accommodative
83
ลักษณะการสื่อสารของบุคคล
Passive
85
เรา (มัก) บรรยาย/อธิบาย/เกี่ยวกับผู้อื่น
โดยใช้บุคลิกลักษณะที่เรามีอยู่แล้วใน ใจ 30/11/61
86
ซึ่งมีแนวโน้มของการใช้
“STEREOTYPE” 30/11/61
87
เทคนิคการสื่อสารและการนำเสนอ
89
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
Who are the audience?
90
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
Who are the audience? หนู?
91
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
Who are the audience? หมี?
92
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
Who are the audience? กระทิง?
93
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
Who are the audience? เหยี่ยว?
94
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
Who makes the presentation?
95
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
When is the presentation?
96
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
Where is the presentation to be given or printed?
97
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
What is your controlling purpose?
98
6 คำถาม สำคัญในการนำเสนอ
How long should the presentation be?
99
Presentation Techniques
Knowing your profile
100
Presentation Techniques
Nonverbal language
101
Presentation Techniques
Be natural
102
Presentation Techniques
Be with the MC
103
Presentation Techniques
Always present and conscious
104
Presentation Techniques
Create yourself every moment
105
Presentation Techniques
Have a sense of humor!
106
Presentation Techniques
Respect the audience
107
เทคนิคการสื่อสารและการนำเสนอ ด้วยหลัก 5 CANNONS
108
1. คิดค้น 2. วางโครง 3. หาแนว 4. จดจำ 5. นำเสนอ
1. คิดค้น 2. วางโครง 3. หาแนว 4. จดจำ 5. นำเสนอ
109
คิดค้น (พูด เขียน) ให้ข้อมูลทั่วไป ชักจูงใจให้ตาม สร้างความเพลิดเพลิน
110
วางโครง จับประเด็น (ฟัง พูด อ่าน เขียน)
ตามตำแหน่ง สัดส่วน ตามลำดับ ตามเหตุสู่ผล หรือจากผลย้อนเหตุ ตามหัวข้อ ประเด็น
111
หาแนว (ฟัง พูด อ่าน เขียน)
แนวในการสร้างเนื้อหา Plain เรียบ น้อยแต่มาก Grand หรู มากอย่าล้น
112
จดจำ (พูด) หาจุดเชื่อม คัด แยก เนื้อหา อะไรต้องมาก่อนหลัง
วางโครงสร้างให้แน่น ซ้อม ซ้อม ซ้อม
113
นำเสนอ (พูด เขียน) Not only words But Status Opinion Feeling
“super objective”
114
นำเสนอ (พูด) นำเสนอ “เสียง” นำเสนอ “หน้า” นำเสนอ “กิริยาท่าทาง” นำเสนอ “ภาพที่ปรากฏ”
115
Symphony of Delivery Face Visual Pointer Hand Body Logical Flow Eyes
Voice Visual Pointer Hand Body 30/11/61
116
3 keys elements Ethos - speaker
117
Ethos – speaker มีความรู้ เชี่ยวชาญ บุคลิกดี
3 keys elements Ethos – speaker มีความรู้ เชี่ยวชาญ บุคลิกดี
118
3 keys elements Pathos - audience
119
3 keys elements Logos - messages
120
30/11/61
121
เราถูกตัดสินจากภาษากาย และภาพที่ปรากฏ มากถึง 93 % เวลาพบใครแบบซึ่งหน้า
เราถูกตัดสินจากภาษากาย และภาพที่ปรากฏ มากถึง 93 % เวลาพบใครแบบซึ่งหน้า
122
SCG Customer Relations
20/07/54 Verbal ประเภทของวัจนภาษา ภาษาพูด อารมณ์ปกติ อารมณ์สะเทือนใจ ภาษาเขียน ร้อยแก้ว ร้อยกรอง ระดับ สืบเนื่องจากความแตกต่างทางสังคม ทางการ กึ่งทางการ ไม่ทางการ 30/11/61 Prapassorn Chansatitporn
123
SCG Customer Relations
20/07/54 Verbal ที่ดี Clarity Color Concreteness Correctness Conciseness Cultural Sensitivity Osborn 6Cs 30/11/61 Prapassorn Chansatitporn
124
SCG Customer Relations
20/07/54 Nonverbal code ร่างกาย การเคลื่อนไหว สีหน้าและแววตา เสียงและรายละเอียดของเสียง การปรากฏกาย ระยะห่างและพื้นที่ สัมผัส เวลา 30/11/61 Prapassorn Chansatitporn
125
SCG Customer Relations
20/07/54 หน้าที่ของอวัจนภาษา ช่วยส่งสารที่ยากลำบากในการส่งได้ สร้างความประทับใจในการสื่อสารระยะแรก ช่วยให้การวางความสัมพันธ์ชัดเจน ควบคุมหรือปรับปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน สร้างอิทธิพลต่อกัน เพิ่มหรือปรับปรุงความหมายของวัจนภาษา 30/11/61 Prapassorn Chansatitporn
126
การตีความ ผ่านน้ำเสียง
127
สื่อสารแบบนัยตรง
128
รู้สึก สื่อสาร
129
Inner = outer
130
สื่อสาร แบบนัยประหวัด
131
รู้สึก ไม่ตรง กับที่สื่อ
132
สื่อ ไม่ตรง กับที่รู้สึก
133
Inner ไม่เท่ากับ outer
134
สื่อผ่านอะไร?
135
ลมหายใจ?
136
จังหวะ?
137
ความดัง/เบา?
138
โทนเสียง?
139
คำ?
140
ใจความ?
141
ความเงียบ?
142
ทุกอย่าง?
143
การฝึกเสียง ในละครโทรทัศน์
145
การฝึกเสียงเพื่อใช้ใน ละครเพลง
การฝึกเสียงเพื่อใช้ใน ละครเพลง
147
http://thaimisc. pukpik. com/freewebboard/php/vreply. php
149
สรุปใจความสำคัญของเสียง
150
Q & A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.