ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
Sepsis กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
2
สถานการณ์ ปี ข้อมูลจำนวนผู้ป่วย Severe sepsis/ Septic shock? - การส่งต่อผู้ป่วย ล่าช้า? - MM conference ? Refer dead รพศ % Walk in deadรพศ % อัตราตาย <20% Em. Tx. 100%
3
ผู้ป่วยเสียชีวิต (<20%)
อำเภอ Severe Sepsis/ Septic shock รพศ. รับ Refer Sepsis ที่ Refer ผู้ป่วยเสียชีวิต (<20%) จำนวน ร้อยละ รพ.อุดรธานี 2369 428 18.07 เพ็ญ 142 87 46 32.39 0.00 หนองวัวซอ 124 74 44 35.48 สร้างคอม 85 58 41 48.23 1 1.18 กุมภวาปี 195 99 18 9.23 15 7.69 ประจักษ์ 25 5 22 88 ศรีธาตุ 31 13 41.93 3.23 วังสามหมอ 105 45 39.04 0.95 โนนสะอาด 67 49 38 56.71 หนองแสง 33 39 54.54 หนองหาน 282 148 100 35.46 4 1.42 กู่แก้ว 17 12 70.58 บ้านดุง 183 165 36.61 2.73 ทุ่งฝน 48 35 30 62.5 2.08 ไชยวาน 83 53.01 1.20 พิบูลย์รักษ์ 8 50 บ้านผือ 160 136 69 43.12 น้ำโสม 168 73 79 47.02 นายูง 28 27 16 57.14 กุดจับ 54 82 83.33 รวม 4207 1260 747 40.64 457 10.86
4
Fluid resuscitation (≥ 85%) Empirical Antibiotic ใน 1 ชั่วโมง (≥ 85%)
อำเภอ Fluid resuscitation (≥ 85%) Empirical Antibiotic ใน 1 ชั่วโมง (≥ 85%) Hemoculture (≥ 85%) จำนวน ร้อยละ รพ.อุดรธานี เพ็ญ 142 100 141 99.29 109 76.7 หนองวัวซอ 116 93.5 122 98.38 124 สร้างคอม 81 95.3 85 กุมภวาปี 194 99.5 179 91.75 181 92.82 ประจักษ์ 24 96 20 80 ศรีธาตุ 31 วังสามหมอ 105 โนนสะอาด 67 62 92.5 หนองแสง 33 93.9 หนองหาน 231 81.9 232 82.26 195 69.1 กู่แก้ว 17 บ้านดุง 172 94 159 86.88 173 94.53 ทุ่งฝน 45 93.8 48 44 91.6 ไชยวาน 82 98.8 98.7 97.59 พิบูลย์รักษ์ 8 บ้านผือ 99.3 99.37 157 98.12 น้ำโสม 167 99.4 163 97.02 128 76.19 นายูง 26 92.8 85.7 กุดจับ 54 53 98.14 รวม 1754 95.35 1729 94.06 1624 88.35
5
โรคที่เป็นสาเหตุ 1. SEVERE PNEUMONIA 2. UTI 3. DIARHOEA 4. HIV 5. INTRAHEPATIC BILE DUCT CARCINOMA 6. TRAUMATIC SUBDURAL HAEMORRHAGE 7. NF 8. ACUTE CHOLECYSTITIS
6
Goal ประชาชน กระบวนการ ลดอัตราป่วย/อัตราตาย Sepsis
เข้าถึงบริการด้วยระบบ Sepsis Fast track มากขึ้น กระบวนการ คัดกรองเร็ว (Early screening) ประเมินอาการเร็ว (Early detection) รักษาให้เร็ว (Early treatment) ส่งต่อเร็ว (Early refer)
7
KPI อัตราตาย Sepsis ลดลง 20%
ผู้ป่วยรายใหม่ Severe sepsis, Septic shock ลดลง 50% อัตรา Empirical Treatment เพิ่มขึ้น Antibiotic /Hemoculture /IV fluid 100%
8
กลยุทธ์ จังหวัด แม่ข่าย รพช. รพ.สต.
ประชุมคณะทำงาน/คณะกรรมการ /สะท้อนข้อมูล/ MM conference พัฒนาความรู้/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับ Zone เครือข่าย Sepsis Fast track นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล KPI Sepsis แม่ข่าย ให้ความรู้ จนท. ทุกระดับให้ตระหนักและเข้าใจ Sepsis Fast track CPG/ Care Map/ แนวทางดูแลผู้ป่วย/ 6 Bundles/ Consult Sepsis Fast track รพช. ระบบการส่งต่อ/ การดูแลขณะส่งต่อ/ การประสานงาน/ บทบาทหน้าทีของทีม EMS: คัดกรองอาการเบื้องต้นละรีบนำส่ง รพ.ให้เร็วที่สุด พยาบาล: คัดกรองอาการสงสัย SIR criteria/ SOS / 6 Bundles แล้วรีบรายงานแพทย์ แพทย์: ประมินอาการและรีบประสานงานการส่งต่อผู้ป่วย Severe sepsis/ Septic shock ตามระบบ Sepsis Fast track รพ.สต. คัดกรองให้ได้/ รายงานให้ไว SIR criteria/ SOS ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เพื่อทราบถึงอาการและความจำเป็นที่ต้องรีบมา รพ.ให้เร็วที่สุด ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมายให้ทั่วถึง ผ่านวิทยุชุมชน/ ป้ายไวนิล/ เยี่ยมบ้าน
9
ระดับหน่วยบริการ จังหวัด A M๑ M๒ F๒/F๓ P ๑.Service Delivery ๑. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) การจัดการ/การดูแลผู้ป่วย sepsis ในระดับโซน (ครอบคลุม ๔ โซน) ๑.จัดระบบบริการช่องทางด่วนผู้ป่วย Sepsis (Fast Track Sepsis)ที่ ER ๑.จัดระบบบริการช่องทางด่วนผู้ป่วย Sepsis (Fast Track Sepsis)(M๑,M๒) ๑.จัดระบบบริการช่องทางด่วนผู้ป่วย Sepsis (Fast Track Sepsis) ที่ ER พัฒนาระบบการคัดกรองและการวินิจฉัยเบื้องต้นและระบบการส่งต่อ โดย เจ้าหน้าที่ รพสต.และ อสม. (ตาม Flow chart) เน้นการใช้ CPG ๑. SIR Criteria ๒. SOS Score ๒. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการระดับจังหวัด - ประชุมคณะกรรมการเพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินการ MM Conference - Dead Case/ Risk G-I ๒. Sepsis Intensive Care Unit ๒.ให้การรักษา Sepsis ตาม CPG ๑. SIR Criteria ๒. SOS score ๓. ๖ bundle ๒.ให้การรักษา Sepsis ตาม CPG ๑. SIR Criteria ๒. SOS score ๓. ๖ bundle ๒.ให้การรักษา Sepsis ตาม CPG ๑. SIR Criteria ๒. SOS score ๓. ๖ bundle ๓. ประเมิน/ติดตาม/ควบคุมกำกับ ในการดำเนินงานแบบบูรณาการงานคุณภาพ ปีละ ๒ ครั้ง ทุก CUP - ธ.ค. ๒๕๕๘ - มิ.ย. ๒๕๕๙ ๓.ให้การรักษา Sepsis ตาม CPG (สารน้ำ เจาะเพาะเชื้อ ให้ ATB ใน ๑ ชม.) ๓. Node เครือข่าย Sepsis (ระดับ M๑) ๓.ส่งต่อผู้ป่วย Sepsis ไป รพ.แม่ข่าย ๔.เป็นศูนย์รับส่งต่อในเขตบริการตามแนวทางปฏิบัติ (Flow chart) ๔.ให้การผ่าตัดเบื้องต้น Appendicitis,DB,NF
10
ระดับหน่วยบริการ จังหวัด A M๑ M๒ F๒/F๓ P ๒.Workforce ๑.จัดสรรแพทย์ /พยาบาลเฉพาะทาง General Med. (บ้านผือ , เพ็ญ) ๑.เพิ่มแพทย์เฉพาะทาง - EP - General med - General surgeon - Sepsis ๑.เพิ่มแพทย์เฉพาะทาง - General med - General surgeon ๑. พัฒนาความรู้แพทย์ พยาบาลการให้ Fluid resuscitation, ATB ภายใน ๑ ชั่วโมง , H/C ก่อนได้รับ ATB ๑.พัฒนาความรู้เจ้าหน้าที่เพื่อการคัดกรอง การวินิจฉัยเบื้องต้น และระบบการส่งต่อ ที่มีประสิทธิภาพ ๒. จัดสรร Manager Nurse ให้มีในทุกระดับ ๒. Sepsis manager nurse ๒.พัฒนาศักยภาพ เป็นNode เครือข่าย ๒. พัฒนาศักยภาพ แพทย์/พยาบาลในการให้ CPG ในการคัดกรอง และดูแลผู้ป่วย ๓. จัดหลักสูตรอบรมการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ๓.อบรมให้ความรู้แพทย์ พยาบาลการให้ Fluid resuscitation, ATB ภายใน ๑ ชั่วโมง , H/C ก่อนได้รับ ATB ๓.IT ๑.พัฒนาระบบฐานข้อมูล ตัวชี้วัด ให้ครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง ในภาพรวมของจังหวัด ๑. รายงานข้อมูลผู้ป่วย Sepsis ตามตัวชี้วัด ๑.รายงานข้อมูลผู้ป่วย Sepsis ตามตัวชี้วัด ๒. จัดตั้งศูนย์ประสานงานข้อมูล ภาพรวมจังหวัด ๒.พัฒนาระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูลในโปรแกรม Refer link ,Thai refer
11
ระดับหน่วยบริการ จังหวัด A M๑ M๒ F๒/F๓ P ๔.Drug & Equipment ๑. สนับสนุนการจัดการ Empirical Treatment - ATB Hemoculture Fluid Resucitate ๑. เพิ่มปริมาณห้องผ่าตัด (ให้สามารถผ่าตัดลด source of infection ใน ๑๒ ชม.) ๑. มีระบบ LAB Automate และ ขวด Hemoculture ใน Node โรงพยาบาลเครือข่าย ๑. มีขวด Hemoculture เจาะส่ง รพ.แม่ข่าย ๑. มีขวด Hemoculture เจาะส่ง รพ. แม่ข่าย ๒. เพิ่มเครื่องตรวจ Blood lactate - ABG - Transfer ventilator -ยา Vasopressor (norepinephrine ๒. มีATB Item พื้นฐาน - Volume ventilator ,Infusion pump, Monitoring - ยา Vasopressor (norepinephrine) ๒. มี ATB Item พื้นฐาน ๕.Financing Non - UC เงินบำรุง รพ. เงินบำรุง รพ.สต. ๖.Governance ๑. นพ.สุรพงษ์ ผดุงเวียง ๒. น.ส.ปราณี พระโรจน์ ๓. คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการโรคติดเชื้อ(Sepsis) ๑. ผอก.รพ.อุดรธานี ๒. นพ.เกรียงศักดิ์ พิมพ์ดา ๓. นพ.อัครวัตร รัตนวงศ์ไพบูลย์ ๔. นางปาริชาต ตันสุวรรณ ๑. ผอก. ๒. MD ๓. Nurse case sepsis ๑. ผอ.รพสต. ๒ NP ๗.Participation อสม. รพ.สต. องค์กรท้องถิ่น อสม. องค์กรท้องถิ่น
12
คัดกรองให้ได้... รายงานให้ไว... ส่งต่อให้ทัน....
Small Success/ ระบบการรายงาน/ ฐานข้อมูล Sepsis/ Severe sepsis/ Septic shock รายอำเภอ นิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินงาน ใน รพช. ทุกแห่ง/ รพ.สต. 1 แห่ง คัดกรองให้ได้... รายงานให้ไว... ส่งต่อให้ทัน.... ลดป่วย ลดตาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.