ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง Biology (40243) Miss Lampoei Puangmalai
2
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง 8.1 การรับรู้และการตอบสนอง 8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชั้นต่ำและสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่ำบางชนิด 8.3 เซลล์ประสาท 8.4 การทำงานของเซลล์ประสาท 8.5 โครงสร้างของเซลล์ประสาท 8.6 การทำงานของระบบประสาทสั่งการ 8.7 อวัยวะรับความรู้สึก
3
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ และเปรียบเทียบ วิธีการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และสัตว์มีกระดูกสันหลังบางชนิด
4
8.1 การรับรู้และการตอบสนอง
ขณะที่อากาศร้อนจัด ร่างกายจะขับเหงื่อออกมามาก เมื่อเข้าไปในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศจะรู้สึกเย็นสบาย และมีเหงื่ออกน้อยลง แสดงว่า ร่างกายมีระบบที่รับรู้ต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ถ่ายทอดการรับรู้ไปยังหน่วยแปลความรู้สึก พร้อมทั้งออกคำสั่งให้หน่วยปฏิบัติงานทำงาน
5
การรับรู้การเปลี่ยนแปลงต่อสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต
หน่วยแปลความรู้สึก สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก หน่วยสั่งการ การตอบสนองสิ่งเร้า หน่วยปฏิบัติการ
6
การรับรู้และการตอบสนอง
การตอบสนองของสัตว์จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง ระบบประสาท (nervous system) และ ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ระบบประสาทจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดขึ้น และสิ้นสุดเร็ว เช่น การหดตัวของกล้ามเนื้อ ทำให้การเกิดการเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ระบบต่อมไร้ท่อจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดช้ากว่า แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีผลต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การเจริญของเซลล์ไข่ในรังไข่ แม้ทั้ง 2 ระบบ จะทำงานแตกต่างกันแต่ทำงานสัมพันธ์กัน จึงเรียกว่า ระบบประสานงาน (coordinating system)
7
8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
Paramecium สามารถเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีแสงสว่าง อุณหภูมิ หรือสารเคมีได้ แสดงว่า สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ เนื่องจากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวไม่มีเซลล์ประสาท สิ่งมีชีวิตดังกล่าวตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร ? จากการศึกษาพบว่า ใต้ผิวของเซลล์พารามีเซียมมีเส้นใยเชื่อมโยงระหว่างโคนซิเลีย เรียกว่า เส้นใยประสานงาน (coordinating fiber)
9
Coordinating fiber of paramecium
10
8.2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด
Invertebrate มีการรับรู้และตอบสนองแตกต่างกัน เซลล์แต่ละเซลล์ของฟองน้ำ (sponge) มีการับรู้และการตอบสนอง แต่ไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์ Hydra มีร่างแหประสาท (nerve net) ประกอบกันด้วยเซลล์ประสาทเชื่อมโยงกัน
12
Nervous systems in radially symmetrical animals.
13
พลานาเรีย (Planaria) เซลล์ประสาทรวมตัวเป็นกลุ่ม โดยเฉพาะที่หัว เรียกว่า ปมประสาท (nerve ganglion) หรืออาจเรียกว่า สมอง (brain) มีเส้นประสาทใหญ่ (nerve cord) ขนาดไปตามข้างลำตัว ลักษณะแบบขั้นบันได (ladder type) เชื่อมกันด้วยเส้นประสาทที่วนรอบลำตัว (nerve ring)
14
พลานาเรีย (Planaria)
15
ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย และแมลง มีปมประสาทขนาดใหญ่ขึ้น ทำหน้าที่เป็นสมองอยู่ด้านหัว
16
http://cas. bellarmine
17
http://cas. bellarmine
18
http://cas. bellarmine
19
Some nervous systems in bilaterally symmetrical animals.
20
Vertebrate มีระบบประสาท (nervous system) พัฒนามาก
เซลล์ประสาท (nerve cell) เกือบทั้งหมดอยู่ที่หัว ขนาดใหญ่ และเจริญมาก พัฒนาไปเป็น สมอง (brain) ไขสันหลัง (spinal cord) เส้นประสาท (nerve)
21
Development and Differentiation of the Neural Tube
22
สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังขณะเป็นเอ็มบริโอ
24
Vertebrates ต่อไปนี้มีสมองส่วนใดเจริญได้ดีที่สุด ?
Fish Amphibian Reptile Bird Dog Mammal
25
References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : หน้า.
26
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology
Department of science St. Louis College Chachoengsao
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.