งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นิกาย สำคัญของศาสนาคริสต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นิกาย สำคัญของศาสนาคริสต์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นิกาย สำคัญของศาสนาคริสต์
อาจารย์สอง : Satit UP

2 นิกายออร์โธด็อกซ์ (Orthodox) นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestant)
นิกายสำคัญของศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก (Roman Catholic) นิกายออร์โธด็อกซ์ (Orthodox) นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestant)

3 โรมันคาทอลิก Roman Catholic

4 นิกายโรมันคาทอลิก Catholic ชื่อเรียก โรมันคาทอลิก ( Roman Catholic ) คาทอลิก ( Catholic ) Catholic มาจากคำภาษากรีก แปลว่า สากล ( Universal )

5 นิกายโรมันคาทอลิก ( Roman Catholic )
ในประเทศไทยมักเรียกผู้ที่นับถือนิกายนี้ว่า “ คริสตัง “ ภาษาโปรตุเกส ออกเสียงว่า " คริสตัง “ มาจากคำว่า Christian (ในภาษาอังกฤษ)

6 นิกายโรมันคาทอลิก (Roman Catholic)
นิกายสำคัญของศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก (Roman Catholic) มีศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ศีล ศูนย์กลางอยู่ที่กรุง วาติกัน ให้ความเคารพนับถือพระแม่มารีย์ และ นักบุญ ผู้นำสูงสุด คือ พระสันตะปาปา หรือ โป๊ป (Pope) มีนักบวชทั้งชายและหญิง ต้องถือพรมจรรย์(ห้ามมีครอบครัว) ในประเทศไทยมักเรียกผู้ที่นับถือนิกายนี้ว่า คริสตัง

7 POPE

8 พระสันตะปาปา หรือ โป๊ป (Pope) ผู้นำสูงสุดของนิกายโรมันคาทอลิก
นครรัฐวาติกัน พระสันตะปาปา เบเนดิกต์ที่ 16

9 นิกายโรมันคาทอลิก ( Roman Catholic )
@ มีศูนย์กลางอยู่ที่นครวาติกัน (Vatican) ในกรุงโรม อิตาลี @ มีผู้นำสูงสุดคือโป๊ป(Pope) หรือ พระสันตะปาปา(Papal) @ มีการยกย่องวีรบุรุษ หรือ วีรสตรีทางศาสนา ซึ่งเป็นผู้อุทิศตนเพื่อศาสนา ที่รู้จักกันในชื่อว่า นักบุญ หรือ เซนต์ (Saint) @ มีนักบวช ต้องผ่านศีลบวช(เฉพาะชาย) ส่วนนักบวชผู้หญิง เช่น แม่ชี ซีสเตอร์ เป็นต้น มีนักบวช จะต้องถือความบริสุทธิ์ห้ามแต่งงานมีครอบครัว (เป็นโสดเท่านั้น)

10 นิกายโรมันคาทอลิก ( Roman Catholic )
@ มีนักบวช ที่เรียกว่า บาทหลวง มีการให้เกียรติพระนางมารีย์ มารดาของพระเยซูเป็นพิเศษ เรียกพระนางว่า " แม่พระ " (Mary Virgin) @ ใช้ศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ศีล

11 มีการยกย่องวีรบุรุษหรือวีรสตรีทางศาสนา หรือ ผู้อุทิศตนให้ศาสนา ที่เรียกว่า นักบุญ ( Saint )

12 SAINT

13 มีการยกย่องวีรบุรุษหรือวีรสตรีทางศาสนา หรือ ผู้อุทิศตนให้ศาสนา ที่เรียกว่า นักบุญ ( Saint )

14 นักบุญ หรือ เซนต์ ( Saint )

15 มีการยกย่องวีรบุรุษหรือวีรสตรีทางศาสนา หรือ ผู้อุทิศตนให้ศาสนา ที่เรียกว่า นักบุญ ( Saint )
Saint Paul Saint Peter Saint John

16 มีการยกย่องวีรบุรุษหรือวีรสตรีทางศาสนา หรือ ผู้อุทิศตนให้ศาสนา ที่เรียกว่า นักบุญ ( Saint )
Saint Dominic Saint Agnes

17 “นักบุญ” (Saint) “บุญราศี” (Blessed) “ผู้ที่น่าเคารพ” (Venerable)
“ผู้รับใช้พระเจ้า” (Servant of God) “ผู้ที่น่าเคารพ” (Venerable) “บุญราศี” (Blessed) “นักบุญ” (Saint)

18 กระบวนการสถาปนาให้เป็น นักบุญ ( Saint )
“ผู้รับใช้พระเจ้า” (Servant of God) :  ตำแหน่งนี้ถูกประกาศและใช้เรียกบุคคลที่ถูกเสนอให้เป็นนักบุญ ทันทีเมื่อกรณีของท่านถูกเปิดออกเพื่อการสอบสวนอย่างเป็นทางการ “ผู้ที่น่าเคารพ” (Venerable) :  ใช้เรียกผู้รับใช้พระเจ้า เมื่อท่านได้รับการประกาศโดยกฤษฎีกาจากสมณกระทรวงเพื่อการสถาปนานักบุญ เกี่ยวกับฤทธิ์กุศลอันโดดเด่นของผู้นั้น “บุญราศี” (Blessed) : เมื่อมีอัศจรรย์เด่นเกิดขึ้นและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นอัศจรรย์แท้จริงที่เกิดขึ้นแก่ “ผู้ที่น่าเคารพ” นั้น และพระสันตะปาปาเห็นด้วยในการแต่งตั้งให้เป็นบุญราศีและประกอบพิธีแต่งตั้ง “นักบุญ” (Saint) : หลังจากผู้นั้นอยู่ในฐานะ “บุญราศี” และถ้าหากเกิดอัศจรรย์ที่เด่นชัดเกิดขึ้นอีก 1 เรื่อง และกรณีดังกล่าวถูกนำเสนอไปยังพระสันตะปาปา ท้ายสุดขึ้นอยู่กับพระองค์ท่านจะสถาปนาขึ้นสู่ฐานะนักบุญหรือไม่! ถ้าพระองค์เห็นสมควรก็จะมีพิธีการสถาปนาบุคคลนั้นเป็นนักบุญ

19 1. ขั้น "บุญราศี" (Beatification)
กระบวนการสถาปนาให้เป็น นักบุญ ( Saint ) 1. ขั้น "บุญราศี" (Beatification) 2. ขั้น "นักบุญ" (Canonization)

20 กระบวนการสถาปนาให้เป็น นักบุญ ( Saint )
1. ขั้น "บุญราศี" (Beatification)  เมื่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ประชาชนยอมรับว่าเป็นคริสตชนตัวอย่างได้สิ้นชีวิตลง แล้วก็ปรากฏว่ามีผู้ได้รับผลจากการสวดวิงวอนขอความช่วยเหลือจากท่านพระสังฆราชท้องถิ่นนั้นเอง ก็จะดำเนินการสอบส วนข้อเท็จจริงต่างๆ เช่น ประวัติของผู้ตายและอัศจรรย์ต่างๆ ที่มีผู้ได้รับความช่วยเหลือ ทั้งนี้เพื่อจะได้มีข้อมูลที่แน่นอนและเป็นหลัก ฐานชัดเจน จากนั้นจึงรวบรวมเรื่องส่งไปยังสมณกระทรวงว่าด้วยการสถาปนานักบุญที่โรม เพื่อให้ดำเนินการขึ้นต่อไป เมื่อสมณกระทรวงได้รับเรื่องมาแล้ว ก็จะตั้งคณะกรรมการขึ้นมาสอบสวนเรื่องราวซึ่งครอบคลุมทั้งชีวประวัติของบุคคลดังกล่าวอย่างละเอียด แม้กระทั่งการตรวจสอบข้อเขียนหรือบันทึกต่างๆ เพื่อเสาะหาความถูกต้องเกี่ยวกับควา มคิดความเชื่อและการปฏิบัติตัวของเขาว่าเคยหันเหไปจากความเชื่อเที่ยงแท้หรือไม่ โดยจะมีการตั้งทนายขึ้นมา 2 ฝ่ายคือฝ่ายสนับสนุน และฝ่ายค้าน (ทนายปีศาจ) ทนายฝ่ายสนับสนุน จะมีหน้าที่หาข้อมูลมาป้อน มาตอบข้อข้องใจ เพื่อสนับสนุนให้มีการประกาศแต่งตั้งบุคคลดังกล่าวเป็นบุญราศี หรือนักบุญ ส่วนทนายฝ่ายค้านจะทำหน้าที่ขุดคุ้ยค้นหาข้อบกพร่องต่างๆ มาคัดค้านมิให้บุคคลผู้นั้นได้รับการประกาศแต่งตั้ง เมื่อทุกฝ่ายเห็นว่าพอใจแล้ว จึงเสน อเรื่องราวให้สมเด็จพระสันตะปาปารับทราบและอนุญาตให้นำเรื่องเข้าสู่การพิจ ารณาอย่างเป็นทางการได้ ซึ่งเรียกว่า "Apostolic Process" โดยทุกอย่างจะอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดของสมณกระทรวง ว่าด้วยการสถาปนาบุญราศีและนักบุญ 

21 กระบวนการสถาปนาให้เป็น นักบุญ ( Saint )
จากนั้นก็จะเป็นการกลั่นกรองข้อเท็จจริงทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง โดยคราวนี้จะมีการส่งเจ้าหน้าที่ของทางการออกไปตรวจ สอบสถานที่ เพื่อสอบสวนเรื่องราวทั้งหมดอย่างละเอียดถี่ถ้วน เมื่อทุกอย่างได้รับการตรวจสอบว่าเป็นความจริงแล้วก็จะมีการประกาศว่า หลักฐานทั้งหมดเป็นความจริง "Decree on the Validity of the Process"  เมื่อได้ประกาศว่าหลักฐานทั้งหมดเป็นความจริงแล้ว ขึ้นต่อไปก็คือการพิสูจน์ว่าชีวิตของบุคคลที่จะได้รับการสถาปนานั้ น เป็นชีวิตคริสตชนขั้นวีรชนจริงๆ คือดำเนินไปและจบลงด้วยการปฏิบัติความรักต่อพระเจ้าและเพื่อนมนุษย์อย่างแท้จริง มิใช่เพราะสาเหตุอื่นใด โดยจะมีการค้นหาเหตุผลมาสนับสนุน และการหาเหตุผลมาคัดค้านหักล้างกันอีกครั้งหนึ่ง เมื่อทุกอย่างดำเนินไปจนทุกฝ่ายพอใจแล้ว ก็จะมีการประกาศว่าบุคคลดังกล่าวเป็นคริสตชนตัวอย่ าง ที่ควรแก่การเคารพยกย่อง หรือที่เราเรียกว่า "คารวียะ" (Venerable) ซึ่งถือว่าเป็นก้าวแรกที่จะต้องกระทำก่อนการประกาศเป็นบุญราศีหรือนักบุญ เมื่อได้รับการประกาศว่าเป็นบุคคลที่ควรแก่การเคารพยกย่องหรือ "คารวียะ" แล้วขึ้นตอนต่อไปก็คือการประกาศเป็น "บุญราศี" แต่ก่อนที่จะได้รับประกาศเป็นบุญราศีนั้น พระศาสนจักรคาทอลิกได้ตั้งเงื่อนไขว่า ต้องมีการพิสูจน์ได้ว่ามีอัศจรรย์อย่างน้อย  2 ประการเกิดขึ้น โดยอาศัยบุญบารมีของ "คารวียะ" ซึ่งในการพิจารณารับรองอัศจรรย์ที่เกิดขึ้นนั้น พระศาสนจักรคาทอลิก ก็จะพยายามทุกวิถีทางในการตรวจสอบว่าได้เกิดอัศจรรย์ขึ้น และอัศจรรย์ที่เกิดขึ้นนั้น ก็ต้องเกิดโดยการวิงวอนของบุคคลที่เป็น "คารวียะ" นั้นจริงๆ (ในกรณีของมรณสักขีหรือผู้ที่ยอมพลีชีพเพื่อศาสนา ความตายของเขาก็ถือว่าเป็นอัศจรรย์ที่ยิ่งใหญ่ สามารถใช้แทนอัศจรรย์สองประการที่กำหนดนี้ได้) พร้อมกันนั้นในขั้นนี้ก็จะ มีการตรวจศพหรือพระธาตุ (เศษร่างกาย) ของผู้ตายด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นธรรมเนียม และเพื่อให้แน่ใจว่าเป็นบุคคลผู้นั้นจริงๆ       หลังจากทุกอย่างเสร็จสิ้นแล้ว ก็จะนำเรื่องขึ้นกราบทูลสมเด็จพระสันตะปาปาเพื่อทรงรับรองอีกครั้ง และกำหนดวันสถาปนาคารวียะดังกล่าวขึ้นเป็น "บุญราศี" ซึ่งหมายความว่าต่อไปคริสตชนทุกคนสามารถแสดงความเคารพนับถือ และแสดงความศรัทธาในตัวท่านได้ แต่ความเคารพและพิธีกรรมต่างๆ นั้นก็ยังคงจำกัดอยู่ในท้องถิ่นนั้ นๆ หรือประเทศนั้นๆ ยังมิได้ขยายออกไปทั่วพระศาสนจักรสากล

22 กระบวนการสถาปนาให้เป็น นักบุญ ( Saint )
2. ขั้นสถาปนาเป็น "นักบุญ" (Canonization) หลังจากได้รับสถาปนาเป็นบุญราศีแล้ว ขึ้นตอนต่อไปก็คือการดำเนินการเพื่อประกาศแต่งตั้งเป็น "นักบุญ" แต่ว่าก่อนที่จะเป็นนักบุญ พระศาสนจักรคาทอลิกก็ได้กำหนดว่าจะต้องมีผู้ได้รับอัศจรรย์โดยคำวิงวอนของท่านบุญราศีผู้นั้นอีกอย่างน้อย 2 ประการ ซึ่งการรอคอยอัศจรรย์ขั้นนี้อาจจะยาวนานหลายปี บาง รายกินเวลาเป็นศตวรรษก็มี จากนั้นก็จะมีการพิจารณาตรวจสอบศพอีกครั้งหนึ่ง เพื่อจะดูว่าเป็นบุคคลนั้นจริงหรือไม่ และมีบางรายได้รับพรพิเศษให้ศพไม่เน่าเปื่อยตามกาลเวลาเกี่ยวกับเรื่องอัศจรรย์ที่เกิดขึ้นนี้ ส่วนมามักจะเป็นเรื่องของการหายจากโรคที่สุดวิสัยความสามารถมนุษย์จะรักษา แต่การหายป่วยจากโรคอย่างอัศจรรย์นี้ก็จะได้รับการตรวจสอบและยืนยันโดยแพทย์ หรือนักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญด้วย เพื่อให้แน่ใจว่าเป็นการอัศจรรย์จริงๆ  เมื่อผ่านขึ้นตอนทุกอย่างแล้วก็จะมีการประกาศแต่งตั้งบุญราศีองค์นั้นขึ้นมาเป็น "นักบุญ" โดยสมเด็จพระสันตะปาปา พิธีการประกาศแต่งตั้งจะมีขึ้นอย่างมโหฬารที่มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ กรุงโรมเป็นพิธีที่สง่างามน่าประทับใจที่สุดพิธีหนึ่งที่ทางพระศาสนจักรคาทอลิกจัดขึ้น เพราะการประกาศสถาปนาบุคคลใด บุคคลหนึ่งเป็นนักบุญ ย่อมหมายถึงเกียรติขึ้นสูงสุดที่คริสตชนคนหนึ่งพึงจะได้รับ โดยท่านผู้นั้นจะได้รับการประกาศชนิดที่พระศาสนจักรใช้เอกสิทธิ์ความไม่รู้ผิดพลั้งของสมเด็จพระสันตะปาปา มาเป็นหลักประกันความจริง ท่านจะเป็นที่เคารพนับถือของชาวคาทอลิกทั่วโลกและชื่อของท่านผู้นั้นก็จะได้รับการบันทึกเข้าไว้ในบัญชีสาระบบนักบุญ

23 กระบวนการสถาปนาให้เป็น นักบุญ ( Saint )
ตามธรรมเนียมปฏิบัติของพระศาสนจักรคาทอลิกที่เคยปฏิบัติกันมา บุคคลที่จะถูกเสนอชื่อเพื่อการแต่งตั้งเป็นนักบุญ สามารถกระทำได้หลังจากที่ท่านจากโลกนี้ไปแล้วอย่างน้อยเป็นเวลา 5 ปี จึงจะเริ่มขบวนการไปสู่การแต่งตั้งเป็นบุญราศี แต่ในกรณีของสมเด็จพระสันตะปาปา จอห์น ปอล ที่ 2 นั้น เมื่อสิ้นพระชนม์และหลังจากนั้นไม่ถึง 1 เดือน พระสันตะปาปา เบเนดิกต์ ที่ 16 ทรงประกาศให้เริ่มกระบวนการเพื่อนำไปสู่ฐานะบุญราศีและนักบุญของพระสันตะปาปา จอห์น ปอล ที่ 2 เรียกว่า “ทางลัด” ไปสู่การเป็นนักบุญ เช่นเดียวกับกรณีของคุณแม่เทเรซาแห่งกัลกัตตา(Mother Teresa of Culcutta) นั่นเอง

24 พิธีการประกาศแต่งตั้งเป็นบุญราศี และ นักบุญ ที่หน้ามหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ กรุงวาติกัน

25 Blessed Virgin Mary

26 มีการให้เกียรติพระนางมารีย์ แม่ของพระเยซูเป็นพิเศษ เรียกพระนางว่า
มีการให้เกียรติพระนางมารีย์ แม่ของพระเยซูเป็นพิเศษ เรียกพระนางว่า แม่พระ หรือ พระแม่มารีย์(มาเรีย) หรือ พระนางมารีอาห์ หรือ พระนางมารีย์ หรือ พระชนนีพระเป็นเจ้า Mary , Blessed Virgin Mary , Mother of God , Our Lady

27 แม่พระ / พระแม่มารีย์ / พระแม่มารีอา / พระนางมารีย์

28 แม่พระ / พระแม่มารีย์ Mary Virgin

29 แม่พระ / พระแม่มารีย์ Mary Virgin

30 Purgatory

31 ในนิกาย Catholic เชื่อในเรื่องแดนชำระ ( Purgatory )

32 แดนชำระ ( Purgatory ) ในนิกาย Catholic ถ้ายังชำระหรือชดใช้ไม่หมดก็ต้องไปใช้ในโลกหน้าในแดนชำระ ( Purgatory )

33 แดนชำระ ( Purgatory ) ในนิกาย Catholic เชื่อว่าถ้าตายแล้วมีบาปไม่มาก ถ้ายังชำระหรือชดใช้ไม่หมดก็ต้องไปใช้ในโลกหน้าใน แดนชำระ ( Purgatory )

34 นิกายโรมันคาทอลิก โบสถ์(คริสตจักร)คาทอลิกทุกแห่ง ถือเป็นหนึ่งเดียวกัน ขึ้นตรงต่อกรุงวาติกัน ( Vatican ) และองค์พระสันตะปาปา(Pope) ศาสนสถานมักจะเรียกว่า โบสถ์คาทอลิก หรือ วัดคาทอลิก

35 ออร์โธดอกซ์ Orthodox

36 นิกายออร์โธด็อกซ์ Orthodox ออร์โธดอกซ์ ( Orthodox ) กรีกออร์โธดอกซ์ ( Greek Orthodox ) อีสเทิร์นออร์โธดอกซ์ ( Eastern Orthodox ) Orthodox มาจากคำว่า Orhtos เป็นคำภาษากรีก แปลว่าสัจธรรม หรือความเที่ยงตรง ถูกต้อง ผสมกับคำว่า doxa เป็นภาษากรีก เช่นกัน แปลว่า ศรัทธา

37 เมื่อจักรวรรดิโรมันแยกออก เป็น 2 อาณาจักรอย่างชัดเจน
เมื่อจักรวรรดิโรมันแยกออก เป็น 2 อาณาจักรอย่างชัดเจน จักรวรรดิโรมันตะวันตก จักรวรรดิโรมันตะวันออก

38

39 ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของเมืองอิสตันบูล
นิกายออร์โธด็อกซ์ Orthodox กรุงคอนสแตนติโนเปิล ( Constantinople ) ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของนครอิสตันบูล ( Istanbul ) ของตุรกี ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของเมืองอิสตันบูล

40 นิกายออร์โธด็อกซ์ Orthodox กรุงคอนสแตนติโนเปิล ( Constantinople ) ศูนย์กลางอาณาจักรโรมันตะวันออก ( ไบแซนไทน์ : Byzantine )

41 นิกายออร์โธด็อกซ์ Orthodox กรุงคอนสแตนติโนเปิล ( Constantinople ) ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของนครอิสตันบูล ( Istanbul ) ของตุรกี

42 นิกายออร์โธด็อกซ์ Orthodox ในปี ค. ศ
นิกายออร์โธด็อกซ์ Orthodox ในปี ค.ศ ความขัดแย้งทางการเมืองทำให้ศาสนจักร กลุ่มออร์โธด็อกซ์ได้ถือโอกาสประกาศตนเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อกรุงโรม แล้วเรียกกลุ่มของตนว่า “ออร์โธด็อกซ์” (Orthodox) ซึ่งมีความหมายว่า “หลักธรรมที่เที่ยงตรง” หรือ “หลักธรรมที่ถูกต้อง”

43 นิกายออร์โธด็อกซ์ (Orthodox)
นิกายสำคัญของศาสนาคริสต์ นิกายออร์โธด็อกซ์ (Orthodox) คล้ายกับนิกายคาทอลิกมาก มีศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ให้ความเคารพนับถือพระแม่มารีย์ และ นักบุญ เหมือนนิกายคาทอลิก มีนักบวชทั้งชายและหญิง ถือพรมจรรย์ (นักบวชชายชั้นผู้น้อยแต่งงานมีครอบครัวได้ นักบวชชั้นสูงแต่งงานมีครอบครัวไม่ได้(ไม่มีพันธะทางครอบครัวมาก่อน) ไม่ยอมรับพระสันตะปาปา หรือ โป๊ป (Pope) เป็นผู้นำสูงสุดในนิกาย ในประเทศไทยไม่ค่อยพบเจอนิกายนี้ --- > มีน้อยมาก ๆ ในไทย

44 นิกายออร์โธด็อกซ์ Orthodox - ไม่ต้องขึ้นการปกครองที่วาติกัน(ไม่ขึ้นตรงต่ออำนาจที่โรม-วาติกัน) - มีตำแหน่งที่เรียกปาตริอาร์ค ( Patriarch ) เป็นประมุข - ใช้ศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 7 ข้อ - นักบวชสามารถแต่งงานได้(เฉพาะนักบวชผู้น้อย) นักบวชชั้นสูงแต่งงานไม่ได้ (ส่วนนิกายคาทอลิกผู้ที่บวชได้จะต้องเป็นโสด ไม่มีพันธะทางครอบครัวมาก่อน) - นักบวชนั้นต้องไม่ฟุ้งเฟ้อ - บุคคลไม่ต้องไปขอไถ่บาปกับบาทหลวงเหมือนนิกายคาทอลิก

45 โปรเตสแตนท์ Protestant

46 นิกายโปรเตสแตนท์ Protestant ชื่อเรียก นิกายโปรเตสแตนท์เป็นชื่อเรียกรวม ๆ ของกลุ่มนิกายย่อยที่แยกตัวออกมาจากนิกายโรมันคาทอลิก โดย มีหลายกลุ่มนิกายย่อย ๆ มากมาย Protestant แปลว่า "ผู้ประท้วง" หรือ "ผู้คัดค้าน" แยกตัวออกมาในปี ค.ศ โดย มาร์ติน ลูเทอร์ และผู้สนับสนุน

47 ไม่ให้ความสำคัญกับพระแม่มารีย์และนักบุญมากเป็นพิเศษ
นิกายสำคัญของศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestant) มีศีลศักดิ์สิทธิ์ 2 ศีลคือ ศีลล้างบาป(ศีลจุ่ม) และ ศีลมหาสนิท แยกตัวออกมาจากนิกายคาทอลิกในต้นศตวรรษที่ 16 โดยบาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ไม่ให้ความสำคัญกับพระแม่มารีย์และนักบุญมากเป็นพิเศษ ไม่มีนักบวช(ที่เรียกว่าบาทหลวง) มีเพียงผู้สอนศาสนา ไม่ยอมรับพระสันตะปาปา(โป๊ป) เป็นผู้นำสูงสุดในนิกาย ในประเทศไทยมักเรียกผู้ที่นับถือนิกายนี้ว่า “คริสเตียน” (ตามการออกเสียงภาษาอังกฤษ)

48 นิกายโปรเตสแตนท์ Protestant - ไม่ต้องขึ้นต่อวาติกัน (ไม่มีศูนย์กลางทางศาสนา) แต่ละกลุ่มคณะย่อยของนิกายมีอิสระของตัวเองสูง - ไม่มีประมุขที่เป็นปาตริอาร์ค ( Patriarch ) หรือ พระสันตะปาปา - ไม่อ้อนวอนต่อพระแม่มารีย์ หรือเหล่านักบุญ (ไม่ให้ความสำคัญ) - มีศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 2 ข้อ (ศีลล้างบาป + ศีลมหาสนิท) - ไม่มีนักบวช (ไม่มีศีลบวช) เรียกผู้สอนศาสนาแทน ไม่เรียกว่าเป็นบาทหลวงหรือพระสงฆ์ โดยทั่วไปแล้วในประเทศไทยจะนิยมใช้คำที่ใช้เรียกผู้นำศาสนาของนิกาย โปรเตสแตนท์ นี้ว่า “ศิษยาภิบาล(Pastor) หรือ ศาสนาจารย์ หรือ สาธุคุณ”( Reverend) หรือ อื่น ๆ ซึ่งผู้นำศาสนานิกายโปรเตสแตนท์นี้สามารถแต่งงานได้(มีครอบครัวได้) สามารถเป็นได้ทั้งผู้หญิงหรือผู้ชาย - เน้นคำสอนตามคัมภีร์ไบเบิ้ลเป็นหลัก ไม่เน้นพิธีกรรมมากมาย (นิกายคาทอลิกและออร์โธดอกซ์จะเน้นมีพิธีกรรมศาสนาและมีพิธีกรรมทางศาสนามากด้วย)

49 โปรเตสแตนท์ Protestant ใน ศตวรรษที่ 16 บาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ชาวเยอรมัน ยื่นประท้วง 95 ข้อ ศาสนจักรที่กรุงโรม(วาติกัน)ประกาศบัพพาชนียกรรม ( ขับไล่ ) ( Excommunication ) จนแยกตัวออกมาตั้งนิกายใหม่ได้สำเร็จที่ไม่อยู่ใต้อำนาจของโป๊ปที่วาติกันและเน้นคำสอนตามคัมภีร์ไบเบิ้ลมากกว่าพิธีกรรมที่มากมาย จนเป็นจุดเริ่มต้นของนิกายโปรแตสแตนท์

50 ศตวรรษที่ 16 บาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ชาวเยอรมัน ซึ่งแปลว่า " ประท้วง " ประเทศไทยมักเรียกผู้ที่นับถือนิกายนี้ว่า “ คริสเตียน ”

51 บาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ยื่นประท้วง 95 ข้อ (ข้อวินิฉัย 95 ข้อ) จากนั้นไม่นานศาสนจักรที่วาติกันได้ประกาศบัพพาชนียกรรม(ขับไล่ออกจากการเป็นสมาชิกพระศาสนจักร) (Excommunication) ต่อมาร์ติน ลูเธอร์

52 บาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ยื่นประท้วง 95 ข้อต่อการกระทำของศาสนจักรวาติกันที่โรม จากนั้นไม่นานพระศาสนจักรที่วาติกันได้ประกาศบัพพาชนียกรรม(ขับไล่ออกจากการเป็นสมาชิกพระศาสนจักร) ( Excommunication ) ต่อมาร์ติน ลูเธอร์

53

54 บาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ยื่นประท้วง 95 ข้อ (ข้อวินิฉัย 95 ข้อ) โดยนำไปติดไว้ที่ประตูโบสถ์ในเมืองวิตเตนเบิร์ก

55 CASTLE  CHURCH เป็นที่ฝังร่างของท่านลูเธอร์และเพื่อนผู้สนับสนุน โบสถ์นี้แต่ก่อนเป็นของนิกายโรมันคาทอลิก  ซึ่งมหาวิทยาลัยวิตเตนเบิร์กใช้ประตูโบสถ์เป็นที่ติดประกาศข้อความหรือข้อเขียนซึ่งลูเธอร์ได้ติดประกาศ 95 ทฤษฎีความเชื่อ(ข้อ) เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 1517  ประตูไม้นี้ถูกไฟไหม้ทำลายและกษัตริย์ฟริดริค วิลเฮมที่ 4  (King Friedrich Wilhelm IV )  ได้ทรงมอบประตูทำด้วยทองเหลืองที่เขียน 95 ทฤษฎีข้อความเชื่อให้โบสถ์เมื่อปี ค.ศ.1858

56 Martin Luther's tomb ที่ฝังร่างของบาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ร่างของท่านฝังอยู่ด้านล่างลึกลงไป  2  เมตร

57

58 Martin Luther's tomb ที่ฝังร่างของบาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ร่างของท่านฝังอยู่ด้านล่างลึกลงไป  2  เมตร

59 Martin Luther's tomb ที่ฝังร่าง ของบาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ร่างของท่านฝังอยู่ด้านล่างลึกลงไป  2  เมตร

60 บ้านเกิดของมาร์ติน ลูเธอร์
มาร์ติน ลูเธอร์ เกิดที่เมืองไอสเลเบน (Eisleben) แคว้นแซกโซนี (Saxony) ประเทศเยอรมนี ปี ในครอบครัวที่ยากจน บ้านเกิดของมาร์ติน ลูเธอร์

61 บ้านเกิดของมาร์ติน ลูเธอร์
มาร์ติน ลูเธอร์ เกิดที่เมืองไอสเลเบน (Eisleben) แคว้นแซกโซนี (Saxony) ประเทศเยอรมนี ปี 1483 ในครอบครัวที่ยากจน บ้านเกิดของมาร์ติน ลูเธอร์

62 บ้านเกิดของมาร์ติน ลูเธอร์ เกิดที่เมืองไอสเลเบน(Eisleben) แคว้นแซกโซนี (Saxony) ประเทศเยอรมนี ปี 1483

63 มาร์ติน ลูเธอร์ก็เข้าไปอยู่ในอาราม คณะออกัสติเนียน (Augustinian monastery) ในมหาวิทยาลัยวิตเตนเบิร์ก และได้ศึกษา พระคัมภีร์จนได้ได้เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยวิตเตนเบิร์ก

64 ในปี ค.ศ ขณะที่ใช้ชีวิตอยู่ในอาราม ลูเทอร์ได้มีโอกาสไปแสวงบุญที่โรม และได้พบเห็นชีวิตของสันตะปาปาโอ่โถงหรูหราจนเกือบไม่มีกษัตริย์องค์ใดสู้ได้ และเห็นว่าพระไม่ควรดำเนินชีวิตอย่างนั้น

65 ในปี ค.ศ สันตะปาปาลีโอที่ 10 (Pope Leo X) เริ่มขายใบไถ่บาป(Indulgences) เพื่อหาทุนสําหรับการสร้างพระมหาวิหารเซ็นต์ปีเตอร์(Saint Peter’s Basilica) ในกรุงโรม

66 การกระทำดังกล่าว(ขายใบไถ่บาป) ได้จุดชนวนการปฏิรูปศาสนาขึ้นซึ่งเริ่มต้นโดย มาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther) ศาสตราจารย์ทางเทววิทยาพระคัมภีร์ มหาวิทยาลัยวิตเตนเบิร์ก (Wittenberg) ประเทศเยอรมัน การเคลื่อนไหวเพื่อการปฏิรูปศาสนาก่อตัวอย่างรวดเร็วในเยอรมัน ฝรั่งเศสและสวิสเซอร์แลนด์ โดยมีศูนย์กลางที่ ลูเธอร์ (Luther) ในเยอรมัน คาลวิน (Calvin) ในฝรั่งเศส และ ซวิงลี (Zwingli) ในสวิสเซอร์แลนด์

67 ใน ตุลาคม ปี 1517 ลูเธอร์ได้นำประกาศที่เรียกว่า”ข้อวินิฉัย 95 เรื่อง”(The 95 Theses) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิตเตนเบิร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณามการขายใบไถ่บาปของพระสันตะปาปา และการกระทำที่เหลวแหลกและที่ไม่เหมะสมอื่นๆ

68 ใน ปี 1517 ลูเธอร์ได้นำประกาศที่เรียกว่า”ข้อวินิฉัย 95 เรื่อง”(The 95 Theses) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิตเตนเบิร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณามการขายใบไถ่บาปของพระสันตะปาปา และการกระทำที่เหลวแหลกอื่นๆ

69 ”ข้อวินิฉัย 95 เรื่อง”(The 95 Theses) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิตเตนเบิร์ก

70 ในปี 1517 ลูเธอร์ได้นำประกาศที่เรียกว่า”ข้อวินิฉัย 95 เรื่อง”(The 95 Theses) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิตเตนเบิร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณามการขายใบไถ่บาปของพระสันตะปาปา และการกระทำที่ไม่เหมาะสมอื่นๆ

71 ในปี 1517 ลูเธอร์ได้นำประกาศที่เรียกว่า ” ข้อวินิฉัย 95 เรื่อง ” ( The 95 Theses ) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิตเตนเบิร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณาม การขายใบไถ่บาปของพระสันตะปาปา และการกระทำที่ไม่เหมาะสมอื่นๆ

72 ในเมืองวิตเตนเบิร์ก ( Wittenburg ) เยอรมันนี
โบสถ์ปราสาทวิตเตนเบิร์ก Castle church ในเมืองวิตเตนเบิร์ก ( Wittenburg ) เยอรมันนี

73 ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1520 ลูเธอร์ได้รับหมาย” ขับออกจากการเป็นสมาชิก ของพระศาสนจักร”(Excommunication) โดยที่ลูเธอร์ต้องออกจากเขตปกครองของพระศาสนจักร

74 ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1520 ลูเธอร์ได้รับหมาย”ขับออกจากการเป็นสมาชิกของพระศาสนจักร”(Excommunication) โดยที่ลูเธอร์ต้องออกจากเขตปกครองของพระศาสนจักร ไปหลบที่วอร์มส์พร้อมกับผู้ติดตามอีกจำนวนหนึ่ง ที่นั่นท่านได้แปลพันธสัญญาใหม่เป็นภาษาเยอรมัน และได้เขียนงานเกี่ยวกับพิธีกรรมต่างๆ ซึ่งลูเธอร์ตั้งใจที่จะให้ชาวบ้านซึ่งไม่เข้าใจภาษาละติน สามารถเข้าถึงหลักคำสอนและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมต่างๆได้

75

76 On October 31, 1517, an Augustinian monk named Martin Luther nailed to the door of the Castle Church in Wittenberg, Germany 95 propositions or theses and marked the beginning of the Reformation. Of course, the Reformation began long before that, but this date proves to be a convenient coat hanger for historians to mark the beginning of Protestantism

77 หลังจากการประท้วงดังกล่าวได้ทำให้เกิดคลื่นกระแสการปฏิรูปศาสนาในยุโรปขยายออกไป เริ่มจากในเยอรมันโดยลูเทอร์ ไปสวิสเซอร์แลนด์โดยอูลริค สวิงกลิ(Ulrich Zwingli ), ในฝรั่งเศสโดยจอห์น คาลวิน(John Calvin ค.ศ ) และกลายเป็นลัทธิCalvinism ซึ่งแพร่หลายอย่างรวดเร็วไปยังเนเธอแลนด์ เบลเยี่ยม ฮังการี สกอตแลนด์ และโปแลนด์ ในประเทศอังกฤษกษัตริย์เฮนรี่ที่ 8 (ค.ศ ) ซึ่งประสงค์จะหย่าจากพระมเหสีเพื่อจะอภิเษกสมรสกับคนใหม่ เพราะคนเดิมไม่สามารถมีพระโอรสเพื่อสืบราชบัลลังก์ แต่พระสันตะปาปาไม่อนุญาตให้หย่า อังกฤษจึงแยกจากโรมนับแต่นั้นโดยตั้งองค์การขึ้นมาใหม่เรียกว่า”Church of England” ซึ่งพระองค์ทรงดำรงตำแหน่งประมุขเสียเอง ซึ่งลัทธิแองกลิกัน(Anglicanism) นี้ยังคงรักษาหลักสำคัญบางประการของคาทอลิกไว้เพียงแต่ไม่ยอมรับอำนาจการปกครองของสันตะปาปาเท่านั้น

78 ศตวรรษที่ 16 เกิดการปฏิรูปศาสนา ค. ศ. 1505 มาร์ติน ลูเทอร์ (ค. ศ
ศตวรรษที่ 16 เกิดการปฏิรูปศาสนา ค.ศ มาร์ติน ลูเทอร์ (ค.ศ )เข้าบวชในอาราม นักบวช คณะออกัสตินเนียน ค.ศ กำเนิดโปรแตสแตนท์โดยท่านมาร์ตินลูเทอร์ยื่นข้อเสนอ ข้อให้มีการปฏิรูป ค.ศ อูริค สวิงลี(ค.ศ ) เริ่มเทศน์ที่เมืองซูริคและ เริ่มการปฏิรูปศาสนาที่เขตแดนสวิตเซอร์แลนด์ ค.ศ มาร์ตินลูเทอร์เผาเอกสาร Exsurge Domine ของ พระสันตะปาปาเลโอที่ 10 ต่อหน้าชาวเมืองวิตเตนเบิร์ก

79 ศตวรรษที่ 16 เกิดการปฏิรูปศาสนา ค. ศ
ศตวรรษที่ 16 เกิดการปฏิรูปศาสนา ค.ศ สภาไดเอ็ตแห่งเวิมประกาศขับลูเทอร์ออกจากพระศาสนจักร เจ้าชายเฟดริกซ่อนลูเทอร์ไว้ในปราสาทวัตเบิร์กเพื่อปกป้อง ลูเทอร์ จากศัตรู ที่นี่เองที่ท่านลูเทอร์เริ่มแปลพระคัมภีร์ใหม่จาก ภาษากรีกเป็นภาษาเยอรมัน ค.ศ อูลิค สวิงลี ประกาศหลักการ 67 ข้อเพื่อปฏิรูปคริสต์ศาสนาที่ สวิตเซอร์แลนด์และต่อต้านธรรมเนียมคาทอลิกหลายประการว่า ไม่มีพื้นฐานบนพระคัมภีร์ ค.ศ สวิงลีสั่งยกเลิกและทำลายหนังสือพิธีมิสซา ออร์แกนในโบสถ์ พิธีขับร้องในโบสถ์ เครื่องหมายกางเขน รูปปั้นนักบุญ ฯลฯ ที่ เมืองซูริค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

80 ศตวรรษที่ 16 เกิดการปฏิรูปศาสนา ค. ศ. 1532 จอห์น คัลวิน(ค. ศ
ศตวรรษที่ 16 เกิดการปฏิรูปศาสนา ค.ศ จอห์น คัลวิน(ค.ศ )ประกาศปฏิรูปศาสนาใน ฝรั่งเศสหลังจากนั้นหนีไปเมืองเจนีวา ค.ศ กษัตริย์เฮนรีที่ 8 ประกาศตัดขาดจากอำนาจของ พระสันตะปาปาที่โรมด้วยสาเหตุทางการเมืองและ เหตุผลที่พระองค์ต้องการหย่ากับพระนางแคทเธอรีน และแต่งงานใหม่กับพระนางแอนโบลีน ค.ศ จอห์น น็อก เดินทางกลับสก๊อตแลนด์และเริ่มวาง รากฐานคำสอนสายเพรสไบทีเรียน(Presbyterian) ในสก๊อตแลนด์

81 กลุ่มย่อยของ นิกายโปรเตสแตนต์ ( Protestant ) 1
กลุ่มย่อยของ นิกายโปรเตสแตนต์ ( Protestant ) 1. นิกายลูเธอรัน ( Lutheran ) 2. กลุ่มคริสตจักรฟื้นฟู ( Reformed Christianity ) 3. กลุ่มคณะเพ็นเทคอส (Pentecoste) 4. กลุ่มคณะแบ๊บติสต์ (Baptist) 5. กลุ่มคณะเพรสไบทีเรียน (Presbyterian) 6. กลุ่มคณะเมโธดิสต์ (Methodism) 7. กลุ่มเควกเกอร์ (Quaker) หรือ สมาคมมิตรภาพ (Society of Friends) 8. กลุ่มเซเวนเดย์ แอดเวนติสต์ (Seven Day Adventists) 9. นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ (Church of England) หรือ แองกลีคัน (Anglican) ฯลฯ ( นิกายแองกลีคันจัดอยู่ในกลุ่มนิกายโปรเตสแตนท์แต่มีลักษณะหลายอย่างที่คล้ายคลึงกับนิกายคาทอลิกอยู่มาก )

82 กำเนิดและวิวัฒนาการของนิกายที่สำคัญในศาสนาคริสต์
ใน ศตวรรษที่ 11 ในรัชสมัยของจักรพรรดิคอนสแตนตินย้ายศูนย์กลางการปกครองอาณาจักรไปอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล(เมืองอิสตันบูล ของตุรกีในปัจจุบัน) ต่อมาทำให้ศาสนจักรโรมันตะวันออกไม่ยอมรับอำนาจอำนาจศาสนจักรตะวันอกตกที่โรมตามและแยกตัวออกมาเกิดเป็นนิกายออร์โธดอกซ์ ใน ศตวรรษที่ 16 บาทหลวงมาร์ติน ลูเธอร์ ยื่นประท้วง 95 ข้อ จากนั้นศาสนจักรประกาศบัพพาชนียกรรม (ขับไล่ออกจากพระศาสนจักร) (Excommunication) > นิกายโปรแตสแตนท์

83


ดาวน์โหลด ppt นิกาย สำคัญของศาสนาคริสต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google