ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ International Criminal Law
ปกป้อง ศรีสนิท คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2
เนื้อหา อาชญากรรมระหว่างประเทศ วิธีพิจารณาคดีอาชญากรรมระหว่างประเทศ
ศาลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court,The ICC) ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับศาลอาญาระหว่างประเทศ
3
1. อาชญากรรมระหว่างประเทศ
อาชญากรรมทั่วไป อาชญากรรมระหว่างประเทศ
4
อาชญากรรมระหว่างประเทศ
อาชญากรรมทั่วไป เช่น ฆาตกรรม -กระทบความสงบของรัฐ -ศาลภายในรัฐมีเขตอำนาจชำระคดี -ความร่วมมือระหว่างประเทศมีจำกัด อาชญากรรมระหว่างประเทศ เช่น ก่อการร้าย -กระทบความสงบของสังคมโลก -ศาลภายในรัฐหรือศาลระหว่างประเทศมีเขตอำนาจชำระคดี -ความร่วมมือระหว่างประเทศมีมาก
5
Concept ของอาชญากรรมระหว่างประเทศ
“aut dedere aut judicare” (ไม่ส่งตัว ก็ต้องดำเนินคดี) อาชญากรรมระหว่างประเทศ – รัฐจะต้องทำตามหน้าที่เรื่อง “aut dedere aut judicare” อาชญากรรมทั่วไป - รัฐมีอำนาจอธิปไตยอย่างสมบูรณ์ที่จะดำเนินคดีกับ ผู้กระทำความผิด
6
1. Mr. A ฆาตกรรมเหยื่อในประเทศฝรั่งเศสแล้วหลบหนีเข้ามาอยู่ใน ประเทศไทย หากมีการร้องขอให้ดำเนินคดี ประเทศไทยจะดำเนินการ อย่างไร? Full sovereignty 2. Mr. B กระทำความผิดฐานโจรสลัด (ชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์ใน เขตทะเลหลวงตามมาตรา 7(3) แห่งประมวลกฎหมายอาญา Mr.B เข้า มาอยู่ในประเทศไทย หากมีการร้องขอให้ดำเนินคดี ประเทศไทยจะ ดำเนินการอย่างไร ? aut dedere aut judicare
7
เหตุใด หลัก “aut dedere aut judicare” ต้องนำมาใช้กับอาชญากรรมระหว่างประเทศ ?
“No safe haven for international criminal”
8
รูปแบบของอาชญากรรมระหว่างประเทศ
1.1 อาชญากรรมระหว่างประเทศ (International crimes) 1.2 อาชญากรรมระหว่างประเทศร้ายแรงสูงสุด (The most serious international crimes)
9
1.1 อาชญากรรมระหว่างประเทศ
-Piracy -Aircraft hijacking -Terrorism -Torture -Enforced Disappearances -Human Trafficking -Transnational Organized Crimes -slavery -etc. - ศาลภายในมีเขตอำนาจ - ใช้ความร่วมมือระหว่างประเทศ
10
1.2 อาชญากรรมระหว่างประเทศร้ายแรงสูงสุด (the Most serious international crimes)
-Genocide -Crime against humanity -War Crimes -Aggression -ศาลภายในและศาลระหว่างประเทศมีเขตอำนาจ - ใช้ความร่วมมือระหว่างประเทศ
11
1.2.1 ล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์ (genocide)
Rome Statute article 6 “ล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์ หมายถึง การกระทำความผิดดังต่อไปนี้ โดยเจตนาที่จะทำลายคนชาติ (national) กลุ่มชาติ พันธุ์ (ethnic group) กลุ่มเผ่าพันธุ์ (racial group) กลุ่มศาสนา (religious group) ไม่ว่า ทั้งหมดหรือบางส่วน
12
-การฆ่าสมาชิกในกลุ่ม
-การทำร้ายร่างกายหรือจิตใจสาหัส -การกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อนต่อเงื่อนไขในการดำรงชีพ ของกลุ่มโดยมุ่งทำลายคนในกลุ่ม -การกำหนดมาตรการบังคับคุมกำเนิด -การบังคับย้ายเด็กไปยังกลุ่มอื่น
15
องค์ประกอบเชิงบริบท (Contextual elements of genocide)
1. manifest pattern- it needs evidences showing that genocidal plan has been prepared and directed from superiors to lower officers, or 2. effect such destruction- the offender has effective capacity to destroy protected groups by himself.
16
Genocide ≠ serial killing -Mr. D
17
Question : การฆ่าคนจำนวนมากโดยมี มูลเหตุแห่งความเห็นทางการเมืองที่ต่างกัน เป็น genocide หรือไม่ ?
18
Genocide in whole or in part
19
1.2.2 อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ (Crime against Humanity)
crime against humanity" means any of the following acts (11 acts) when committed as part of a widespread or systematic attack directed against any civilian population (pursuant to policy), with knowledge of the attack.
20
policy widespread or 11 acts (murder, rape, systematic attack torture, etc.) civilian population
21
1.เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ไฟฟ้าช๊อตคนให้บอกข้อมูลเพื่อ ประโยชน์ต่อความมั่นคงของประเทศ – การกระทำโดยการทรมาน (act of torture) 2. เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำข้อ 1.ตามนโยบายที่เป็น ระบบหรืออย่างกว้างขวางในการโจมตีประชากร - อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ (Crime against humanity)
22
1.2.3 อาชญากรรมสงคราม (War Crimes)
-มีการขัดกันทางอาวุธ (armed conflict) -ละเมิดกฎแห่งการขัดกันทางอาวุธ
23
-การประกาศสงครามเคยเป็นมาตรการบังคับในกฎหมายระหว่าง ประเทศ.
-ตั้งแต่จัดตั้ง the United Nations ไม่มีการประกาศ สงครามที่ชอบด้วยกฎหมายอีกต่อไป คงเหลือแต่การใช้กองกำลังเพื่อ ป้องกันตนเอง (self-defense) หรือ ภายใต้กองกำลังรักษา สันติภาพ (United Nation peace keeping force) Law of war จึงเปลี่ยนเป็น law of armed conflict. ผู้ใดละเมิดกฎเกณฑ์ในการขัดกันทางอาวุธในระหว่างที่มีการขัดกันทาง อาวุธจะเป็นอาชญากรสงคราม
25
1.2.4 อาชญากรรมรุกราน (Aggression)
“act of aggression” หมายถึง การใช้กำลังทางทหาร โดยรัฐเอกราชหนึ่งต่ออำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนของอีก รัฐเอกราชหนึ่ง ซึ่งไม่สอดคล้องกับกฎบัตรสหประชาชาติ
26
2. International Criminal Procedure for International Crimes
- International Crimes e.g. piracy, terrorism ศาลภายในรัฐมีเขตอำนาจ - The most serious international crimes e.g. Genocide ศาลภายในรัฐและศาลอาญาระหว่างประเทศมีเขตอำนาจ
27
3. ศาลอาญาระหว่างประเทศ International Criminal Court (the ICC)
3.1 ลักษณะของ ICC 3.2 ประเทศ ASEAN กับ ICC 3.3 เขตอำนาจของ ICC 3.4 หลักพื้นฐานของวิธีพิจารณาคดีใน ICC 3.5 การรับคดีของ ICC
28
3.1 ลักษณะของ ICC -ศาลถาวร -เปิดทำการเมื่อ 1 July
29
3.2 ประเทศ ASEAN กับ ICC The Philippines, Cambodia – State Party Thailand – signatory, has not ratified
30
3.3 เขตอำนาจของ ICC Crimes within the jurisdiction of the ICC 1. Genocide 2. Crime against humanity 3. War crimes 4. aggression
31
3.4 หลักพื้นฐานของวิธีพิจารณาคดีใน ICC
หลักเขตอำนาจเสริม Principle of complementarity หลักห้ามลงโทษซ้ำPrinciple of Ne Bis In Idem หลักความรุนแรงที่เพียงพอ Principle of gravity หลักไม่มีอายุความ No statute of limitation หลักความรับผิดของบุคคลธรรมดา Individual responsibility
32
3.5 การรับคดีของ ICC
33
การรับคดีประเภทอาชญากรรมรุกราน (aggression)
34
ผู้เสียหายสามารถเริ่มคดีเองได้หรือไม่ ?
-ไม่ได้ -ผู้เสียหายสามารถแจ้งอัยการให้อัยการตัดสินใจสอบสวนเองได้โดย ต้องได้รับความยินยอมจาก Pre-trial Chamber
35
4. ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับศาลอาญาระหว่างประเทศ
4.1 รัฐมีหน้าที่อย่างไรต่อ ICC ? 4.2 Shall every serious criminals be extradited to International Criminal Court? 4.3 Can Immunity or Privilege be barred the surrender of the most serious criminal?
36
4.1 รัฐมีหน้าที่อย่างไรต่อ ICC?
1. ถ้าเป็นรัฐภาคี ต้องส่งผู้กระทำความผิดให้กับ ICC. 2. ถ้าไม่ใช่รัฐภาคี ไม่มีหน้าที่ต้องส่งผู้กระทำความผิดให้ ICC 3. แต่ถ้า Security Council referral under Chapter VII of the UN Charter, รัฐสมาชิก UN ทุกรัฐ ต้องร่วมมือกับ ICC ไม่ว่าจะเป็นรัฐภาคีหรือไม่
37
4.2 ผู้กระทำความผิดร้ายแรงสูงสุดทั้งสี่ฐานจะต้องถูกส่ง ตัวไป ICC หรือไม่ ?
ไม่จำเป็น ขึ้นอยู่กับ – State’s obligation to ICC Principle of complementarity Principle of Ne Bis In Idem Principle of gravity
38
4.3 ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ทางการทูตจะขัดขวางการใช้อำนาจ ของ ICC ได้หรือไม่ ?
-ไม่ได้ -Article 27 of the Rome Statute 1. This Statute shall apply equally to all persons without any distinction based on official capacity. In particular, official capacity as a Head of State or Government, a member of a Government or parliament, an elected representative or a government official shall in no case exempt a person from criminal responsibility under this Statute, nor shall it, in and of itself, constitute a ground for reduction of sentence. 2. Immunities or special procedural rules which may attach to the official capacity of a person, whether under national or international law, shall not bar the Court from exercising its jurisdiction over such a person.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.